SlideShare a Scribd company logo
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
แผนผังหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
1
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
เมื่อสังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ที่บ้าน โรงเรียน หรือในท้องถิ่น
จะพบสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด สิ่งมีชีวิตเหล่านี้อาจจัดจาแนกเป็นกลุ่ม
แบบง่าย ๆ โดยดูลักษณะภายนอก เช่น พืชส่วนใหญ่มีส่วนประกอบ
ของราก ลาต้น ใบ ดอก ผลและเมล็ด สัตว์มีตา หู จมูก ปาก ขาและเท้า
ลักษณะภายนอกที่แตกต่างกันของพืชและสัตว์ ช่วยให้พืชและสัตว์ดารงชีวิต
ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตาม ในธรรมชาติ
ยังมีสิ่งมีชีวิตอีกมากมายที่มีลักษณะภายนอกแตกต่างไปจากที่เราเคยพบเห็น
หรือรู้จัก
2
๑.
ลักษณะและการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 3
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 4
โลกของเราเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ จานวนมากมาย
แตกต่างกันไปในแต่ละบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน แล้ว
ในท้องถิ่นของเรามีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากน้อยเพียงใด
ทาอย่างไรเราจึงจะศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตได้ง่ายขึ้น
๔
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 5
สิ่งมีชีวิตบนโลกมีจานวนมากมายนับล้านชนิด นักวิทยาศาสตร์
ได้จาแนกสิ่งมีชีวิตไว้หลายกลุ่ม เช่น กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ กลุ่มที่ไม่ใช่
พืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มต่างอาศัยอยู่ร่วมกันในทุกบริเวณบนโลก
นักวิทยาศาสตร์จัดจาแนกสิ่งมีชีวิตไว้เป็นกลุ่ม เพื่อให้ง่ายต่อ
การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตเป็นกลุ่มทาได้
โดยการจัดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะและกระบวนการดารงชีวิตเหมือนกันให้อยู่
ในกลุ่มเดียวกัน และจัดสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะและการดารงชีวิตแตกต่างกัน
ให้อยู่คนละกลุ่ม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 6
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 7
นักวิทยาศาสตร์จัดจาแนกสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่ม
โดยอาศัยข้อมูลลักษณะและการดารงชีวิตที่เหมือนหรือ
แตกต่างกันเป็นเกณฑ์การจัดจาแนก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ โดยใช้
๑.เกณฑ์ลักษณะภายนอกของสิ่งมีชีวิต
๑.๑ การมีส่วนประกอบของราก ลาต้น ใบ ดอก และผล จัดเป็น
กลุ่มพืช
8
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 9
ส่วนประกอบของพืชชนิดต่าง ๆ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 10
๑.๒ การมีอวัยวะต่าง ๆ เช่น ตา หู จมูก ปาก ขาและเท้า ปีก หาง
ครีบ จัดเป็นกลุ่มสัตว์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 11
อวัยวะของสัตว์ต่าง ๆ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 12
๒. เกณฑ์การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
๒.๑ การสร้างอาหารด้วยตัวเอง
กลุ่มพืช ใช้ใบสีเขียวแผ่กว้าง ที่มีคลอโรฟิลล์ช่วยรับแสง
จากดวงอาทิตย์มาใช้ในการสร้างอาหาร
กลุ่มสัตว์ ไม่มีคลอโรฟิลล์ จึงไม่สามารถสร้างอาหารเองได้
ต้องกินพืชและสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 13
๒.๒ การเคลื่อนที่ด้วยตัวเอง
กลุ่มพืช ไม่สามารถเคลื่อนที่เปลี่ยนตาแหน่งด้วยตัวเองได้
กลุ่มสัตว์ สามารถเคลื่อนที่เพื่อไปหาอาหาร หรือหลบหลีก
ศัตรูได้
ใบไม้แผ่กว้างรับแสงจากดวงอาทิตย์เพื่อสร้างอาหาร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
เสือวิ่งไล่จับเหยื่อที่กาลังวิ่งหนี
ยีราฟยืดคอกินใบไม้
14
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 15
๒. สิ่งมีชีวิตกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ลักษณะภายนอกและการดารงชีวิตเป็นเกณฑ์
ช่วยให้เราจาแนกสิ่งมีชีวิตได้ ๒ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ แต่สิ่งมีชีวิตที่อาศัย
อยู่ในธรรมชาติยังมีอีกมากมายที่เรายังไม่รู้จัก และไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มพืชหรือกลุ่มสัตว์ได้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 16
สิ่งมีชีวิตบางชนิดไม่สามารถจัดจาแนก
เข้ากลุ่มพืช หรือกลุ่มสัตว์ได้ เช่น เห็ด รา
จุลินทรีย์
สิ่งมีชีวิตกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 17
เห็ด รา (fungi) เป็นสิ่งมีชีวิตจาพวกย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิต เมื่อพืช
และสัตว์ตายลง หรือเมื่ออาหารถูกปล่อยทิ้งไว้ในที่ชุ่มชื้น สปอร์ (spore) ของ
เห็ด ราที่ล่องลอยอยู่ในอากาศก็จะตกลงบนซากสิ่งมีชีวิตหรือเศษอาหารเหล่านั้น
เกิดการงอกเส้นใย มีการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตและเศษอาหารจนได้สารอาหารที่
เห็ด ราต้องการใช้ในการเจริญเติบโต เห็ด ราจึงพบได้ทั่วไป
ในบริเวณที่มีซากสิ่งมีชีวิตและมีความชุ่มชื้น พวกมันจะไม่เคลื่อนที่ไปไหนจนกว่า
ซากสิ่งมีชีวิตหรือเศษอาหารจะถูกย่อยสลายจนหมด แล้วพวกมันก็จะปล่อยสปอร์
ออกไปในอากาศและสูญสลายไปเช่นกัน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 18
เห็ด รา เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีทั้งประโยชน์และโทษต่อมนุษย์ เห็ดหลายชนิด
สามารถนามาประกอบอาหารได้ เช่น เห็ดโคน เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดบางชนิด
มีสรรพคุณทางยาและเป็นอาหารเสริม เช่น เห็ดหลินจือ แต่เห็ดหลายชนิด
ที่มีพิษ ไม่สามารถรับประทานได้ เช่น เห็ดขี้ควาย เห็ดดอกกระถิน
เช่นเดียวกับรา ราบางชนิดถูกนามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เช่น นามาผลิต
ยาปฏิชีวนะ แต่ราอีกหลายชนิดก็ทาให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อมนุษย์ เช่น ราในถั่วลิสง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 19
จุลินทรีย์ (microbe) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่เราไม่สามารถมองเห็นได้
ด้วยตาเปล่า ต้องศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ จึงจะมองเห็นได้
จุลินทรีย์มีจานวนชนิดมากมายมหาศาล พบได้ทุกบริเวณบนโลก
ทั้งบนบก ในน้าจืด น้าทะเล และที่ล่องลอยอยู่ในอากาศ จุลินทรีย์
มีทั้งที่เป็นประโยชน์ เช่น แบคทีเรียในนมเปรี้ยว และจุลินทรีย์ที่เป็นอันตราย
ก่อให้เกิดโรคกับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ได้ เช่น แบคทีเรียที่ทาให้เกิดโรค
ปอดบวม วัณโรค อหิวาตกโรค
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔ 20
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.๔
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
แบบสอบปรนัยเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 22
๒
๒
ดอกเข็ม
นกเอี้ยง
๑
๔
มะพร้าว
กะหล่าปลี
๓
๑.
จากข้อความข้างต้น สอดคล้องกับสิ่งมีชีวิตในข้อใด
เฉลย เหตุผล นกเอี้ยงเป็นสิ่งมีชีวิต
ในกลุ่มสัตว์ ไม่สามารถสร้างอาหารได้
เนื่องจากไม่มีคลอโรฟิลล์ จึงต้องกินพืช
และสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร
ส่วน เป็นสิ่งมีชีวิตในกลุ่ม
พืช สามารถสร้างอาหารได้ เนื่องจากมี
คลอโรฟิลล์
๒
๑ ๓ ๔
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 23
๓
๒. ถ้าใช้ลักษณะการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเป็นเกณฑ์
สิ่งมีชีวิตข้อใดจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับต้นกล้วย
๒
ยีราฟ
ปลานิล
๑
๔
ดาวเรือง
นกพิราบ
๓
เฉลย เหตุผล ถ้าใช้ลักษณะการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเป็นเกณฑ์
ดาวเรืองกับต้นกล้วยจัดจาแนกอยู่ในกลุ่มพืช คือ มีใบสีเขียวแผ่กว้าง
ภายในมีคลอโรฟิลล์ ช่วยรับแสงจากดวงอาทิตย์มาใช้ในการสร้างอาหาร
๓
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 24
๑
๓. มะลิ หญ้า ต้นข้าว มีลักษณะการดารงชีวิตตามข้อใด
๒
สามารถสร้างอาหารเองได้
ย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ได้
๑
๔
กินพืชและสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร
เคลื่อนที่เพื่อหาอาหารได้ด้วยตัวเอง
๓
เฉลย เหตุผล มะลิ หญ้า ต้นข้าว มีใบสีเขียว
ภายในมีคลอโรฟิลล์ช่วยรับแสงจากดวงอาทิตย์
เพื่อใช้ในการสร้างอาหารได้
๑
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 25
๓
๔.
จากข้อความข้างต้น กล่าวถึงสิ่งมีชีวิตกี่กลุ่ม
๒
๑ กลุ่ม
๒ กลุ่ม
๑
๔
๓ กลุ่ม
๔ กลุ่ม
๓
เฉลย เหตุผล มี ๓ กลุ่ม
คือ แมลง ต้นหญ้า และรา
๓
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 26
๔
เคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเอง เคลื่อนที่ไม่ได้ด้วยตัวเอง
จอก บัว
แหน ชบา
ผีเสื้อ ปลาทอง
นกกางเขน กระบองเพชร
๕. ถ้าใช้การเคลื่อนที่ด้วยตัวเองของสิ่งมีชีวิตเป็นเกณฑ์
ข้อใดจัดจาแนกถูกต้อง
๒
๑
๔
๓
เฉลย เหตุผล นกกางเขน จัดอยู่ในกลุ่มสัตว์ สามารถเคลื่อนที่
ได้ด้วยตัวเอง กระบองเพชร จัดอยู่ในกลุ่มพืช ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเอง
ส่วน จัดอยู่ในกลุ่มพืชทั้งหมด ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเอง
จัดอยู่ในกลุ่มสัตว์ทั้งหมด สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเอง
๔
๑ ๒
๓
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 27
๒
๒
เต่า หนอน
ต้นถั่วเขียว ผักบุ้ง
๑
๔
เห็ดหูหนู ต้นถั่วเขียว กระต่าย
ราในอากาศ นกพิราบ เห็ดหูหนู
๓
๗. สิ่งมีชีวิตข้อใดจัดอยู่ในกลุ่มพืช
เฉลย เหตุผล สิ่งมีชีวิตกลุ่มพืช ได้แก่ ต้นถั่วเขียว และผักบุ้ง
สิ่งมีชีวิตกลุ่มสัตว์ ได้แก่ เต่า หนอน กระต่าย และนกพิราบ
สิ่งมีชีวิตกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ ได้แก่ เห็ดหูหนู และรา
ในอากาศ
๒
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 28
๑
๗.
สิ่งมีชีวิต A ได้แก่ข้อใด
๒
เห็ด
อะมีบา
๑
๔
กล้วยไม้
พารามีเซียม
๓
สิ่งมีชีวิต A
ย่อยสลายซากพืชและสัตว์เมื่อตายลง
พบได้ทั่วไปในบริเวณที่มีความชุ่มชื้น
เฉลย เหตุผล เห็ด เป็นสิ่งมีชีวิต
จาพวกย่อยสลายซากเมื่อพืชและ
สัตว์ตายลง และสามารถพบเห็ดได้
ในบริเวณที่มีความชุ่มชื้น
๑
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 29
๔
๓
ม้า
เห็ดเผาะ
๑
๔
วัว
ผักกาดขาว
๒
สังเกตตาราง ใช้ตอบคาถามข้อ ๘-๙
สิ่งมีชีวิต กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
P 
ปลาช่อน 
ทานตะวัน 
ราบนเมล็ดถั่วลิสง 
เป็ด 
ตาราง ผลการจาแนกสิ่งมีชีวิตเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืช
และสัตว์
๘. สิ่งมีชีวิต P ได้แก่ข้อใด เฉลย เหตุผล สิ่งมีชีวิต P ได้แก่ ผักกาดขาว
เพราะเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้ และ
เคลื่อนที่ด้วยตัวเองไม่ได้ จัดอยู่ในกลุ่มพืช
๔
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 30
๑
๙. ถ้าต้องจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต Q ที่มีลักษณะเป็นเส้นใยสีดา
เจริญเติบโตบนแผ่นขนมปังที่วางทิ้งไว้บนโต๊ะเป็นเวลา ๕ วัน
สิ่งมีชีวิต Q จะจัดจาแนกอยู่ในกลุ่มเดียวกับสิ่งมีชีวิตข้อใด
๒
ราบนเมล็ดถั่วลิสง
ทานตะวัน
๑
๔
ปลาช่อน
เป็ด
๓
เฉลย เหตุผล สิ่งมีชีวิต Q
คือ รา ซึ่งจัดจาแนกอยู่ในกลุ่ม
ที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
๑
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ป.๔ 31
๓
๑๐.
เป็นอาหารที่ผลิดได้จากสิ่งมีชีวิตกลุ่มใด
๒
กลุ่มพืช
กลุ่มสัตว์
๑
๔
กลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้
๓
เฉลย เหตุผล โยเกิร์ตและวุ้นมะพร้าว
ผลิตมาจากจุลินทรีย์ ส่วนเทมเป้ ผลิตมาจากรา
๓

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
dnavaroj
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Ta Lattapol
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
Wichai Likitponrak
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 

Similar to วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx

เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
cherdpr1
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 

Similar to วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx (20)

Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx