SlideShare a Scribd company logo
วิทยาศาสตร์ เพื่อคุณภาพชีวิต 
( SCIENCE FOR QUALITY OF LIFE)
จุดประสงค์รายวิชา 
1. มีความรูแ้ละเขา้ใจความหมายและความสา คญัของวิทยาศาสตร์ 
และเทคโนโลยี 
2. นา ความรูแ้ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกตใ์ชใ้นชีวิตประจา วนั 
3. มีความรูแ้ละตระหนกัถึงความสา คญัของเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ 
4. ตระหนักถึงความสาคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ 
มีต่อการ 
ส่งเสริมคุณภาพชีวิต 
5. เลือกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อสุขภาพดี ได้เหมาะสมกบัตวัเอง
จุดประสงค์รายวิชา 
6. เห็นคุณค่าของการออกกา ลังกาย และนันทนาการเพื่อสุขภาพสา หรับ ตนเอง 
และครอบครัว 
7. รูจั้กและเลือกใชพ้ลังงานไดอ้ย่างประหยัดและปลอดภัย 
8. มีความรูค้วามเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และ 
เทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา 
สังคม และวฒันธรรม
บทที่ 
1 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และคุณภาพชีวิต
ความหมาย 
วิทยาศาสตร์ 
เทคโนโลยีความรูเ้กี่ยวกับ 
ความรูเ้บ้อืงตน้ 
เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 
และเทคโนโลยี 
วิทยาศาสตร์ 
เทคโนโลยี 
คุณภาพชีวิต 
พัฒนาการทาง 
วิทยาศาสตร์ และ 
เทคโนโลยี 
วิทยาศาสตร์ 
เทคโนโลยี 
กับคุณภาพชีวิต 
รางวลั 
นักวิทยาศาสตร์ 
และเทคโนโลยี
• ความหมายของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี คุณภาพชีวิต 
วิทยาศาสตร์ หมายถึง 
ความรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ ที่ได้มาโดยอาศยักระบวนการทาง 
วิทยาศาสตร์ อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษยชาติ
เทคโนโลยี หมายถึง 
สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่เกิดจากการนา วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ 
และศาสตร์ อื่น ๆ มาประยุกต์ ใชกั้บทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ เพื่อ 
สนองความต้องการของมนุษย์ 
ความรูท้างวิทยาศาสตร์ 
+ เทคโนโลยี 
ทรัพยากรธรรมชาติ
คุณภาพชีวิต หมายถึง 
ความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และความสามารถดา รงชีพอยู่ในสังคม 
ได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพของแต่ละบุคคล 
ร่างกาย + จิตใจ + สงัคม
วิทยาศาสตร์ 
องค์ประกอบของวิทยาศาสตร์ 
• ส่วนที่เป็นผลจากผลงานของนักวิทยาศาสตร์ 
• เป็นองค์แห่งความรูข้องวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย 
(1) ข้อเท็จจริง (Fact) 
(2) ความคิดรวบยอด หรือมโนมติ (Concept) 
(3) หลักการ (Principle) 
(4) กฎ (Law) 
(5) ทฤษฎี (Theory) 
(6) สมมติฐาน (Hypothesis)
• เป็นความรู้ที่ได้จากการใชก้ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
ที่เกิดจากการตั้งปัญหา 3 ประการ คือ 
มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง 
เกิดขึ้นได้อย่างไร 
ทา ไมจึงเกิดขึ้น
ประเภทของวิทยาศาสตร์ 
จา แนกตามธรรมชาติของรายวิชา ได้ 3 สาขา 
วิทยาศาสตร์กายภาพ ( Physical Science) เป็นวิทยาศาสตร์ 
ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของโลกและจักรวาล ในส่วน 
ของสิ่งที่ไม่มีชีวิต 
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ 
เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของทุกสิ่งทุกอย่างในโลกและจักรวาล 
ของสิ่งมีชีวิต 
วิทยาศาสตร์สงัคม (Social Science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ 
ธรรมชาติ และพฤติกรรมของมนุษย์ที่รวมกันอยู่เป็นชุมชนหรือสังคม
ประเภทของวิทยาศาสตร์ 
จา แนกตามการใชป้ระโยชน์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 
วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ 
(Pure Science) 
วิทยาศาสตร์ ประยุกต์หรือเทคโนโลยี ( Applied Science)
เทคโนโลยี 
องค์ประกอบของเทคโนโลยี มีส่วนสา คัญ 2 ส่วน คือ 
องค์ประกอบที่ 
เป็นรูปธรรม 
มักเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ ( Hard ware) 
องค์ประกอบที่ 
เป็นนามธรรม 
มักเรียกว่า ซอฟต์แวร์ ( Software)
ระดบัของเทคโนโลยี มี 4 ระดับ 
เทคโนโลยีระดบัเบื้องตน้ 
สามารถจัดหาไดภ้ายในประเทศหรอืสามารถพัฒนาข้นึไดใ้นระยะเวลาอันสนั้ 
เช่น ตเู้ย็น โทรศัพท์ 
เทคโนโลยีระดบักลาง 
มักตอ้งซื้อจากต่างประเทศ แต่สามารถพัฒนาไดภ้ายในประเทศ หากมี 
แผนการพัฒนาที่ต่อเนื่อง เช่น โทรทัศน์ เครื่องเสียง
เทคโนโลยีระดบัสูง 
ตอ้งซื้ออุปกรณ์จากต่างประเทศ แต่สามารถใชง้านโดยคนไทย หาก 
พัฒนาในประเทศจะตอ้งซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ 
เทคโนโลยีระดบัสูงมาก 
ตอ้งซื้ออุปกรณ์ และทักษะการใชง้านจากต่างประเทศ เช่น ระบบ 
คมนาคม ระบบการสื่อสารขนาดใหญ่
วัฏจกัรของเทคโนโลยี 
วิจัย 
Research พัฒนา 
Develop 
โครงการ 
Pilot 
ขยายการใช้แนะนา Intro 
Growth 
ระยะลดตา่ 
Decline 
ระยะอิ่มตัว 
Mature
คุณภาพชีวิต 
ความจา เป็นพื้นฐาน 
หมายถึง ความจา เป็นขั้นตา่ สุดที่คนทุกคนควรจะมีหรือควรจะเป็นในช่วงระยะ 
เวลาหนึ่ง เพื่อใหมี้ชีวิตที่ดีและสามารถดา รงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ย่างปกติสุขตามสมควร 
มีตัวชี้วดั 9 หมวด 
หมวดที่ 
1 อาหารดี 
หมวดที่ 
2 มีบา้นอาศยั 
หมวดที่ 
3 ศึกษาอนามัยครบถว้น
หมวดที่ 
4 ครอบครวัปลอดภยั 
หมวดที่ 
5 รายไดดี้ 
หมวดที่ 
6 มีลูกไม่มาก 
หมวดที่ 
7 อยากร่วมพฒันา 
หมวดที่ 
8 พาสู่คุณธรรม 
หมวดที่ 
9 บารุงสิ่ง 
แวดลอ้ม
พฒันาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
ของโลกและประเทศไทย 
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสมัยโบราณ 
1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย (Mesopotamian Civilization) 
ปัจจุบัน คือ ประเทศอิรัก มีการประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม (Cuneiform) 
นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุด 
2. อารยธรรมอียิปต์ (Egyptian Civilization) ชาวอียิปต์คิดค้น 
การทา มัมมี่ศพและสรา้งที่บรรจุศพ คือ “ปิระมิด” มีการประดิษฐ์อกัษร 
ฮโีรกราฟิก (Hieroglyphic) เป็นอักษรภาพ ซึ่งใชใ้นภาษากรีกปัจจุบัน
3. อารยธรรมในอเมริกากลาง (Central American Civilization) 
ในสมัยโบราณมีชนเผ่าต่าง ๆ ไดแ้ก่ มายา (Mayas) แอสแทค (Aztecs) 
และอินคา (Incas) 
4. อารยธรรมในเอเชีย (Asian Civilization) แหล่งสา คัญอยู่ใน 
ประเทศอินเดียและจีน สาหรับในประเทศไทยเอง มีการขุดพบสิ่งของเครื่องใช้ 
ที่แสดงถึงอารยธรรมที่มีความเจริญอย่างมาก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยกรีก 
มีการพัฒนาดา้นปรัชญา กฎหมาย และวิทยาศาสตร์ ซึ่งหลายสาขาวิชายังมี 
การใชจ้นถึงปัจจุบัน “แควน้ไอโอเนีย” เป็นสถานที่ ๆ ซึ่งวิทยาศาสตร์สมัยนี้เจริญ 
รุ่งเรืองเป็นแห่งแรก 
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยอเล็กซานเดรีย 
มีการทดลองและบันทึกข้อมูลในม้วนกระดาษ 7 แสนม้วน รวบรวมไวที้่หอสมุดอเล็ก 
ซานเดรีย ซึ่งจัดเป็นแหล่งสะสมวิชาการที่ใหญ่ที่สุดใน 
โลกสมัยนนั้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยกลาง 
1. ยุคมืด เป็นการเก็บรวบรวมและแปลตา ราที่มีอยู่เดิมจากอียิปต์โบราณ 
และกรีกโบราณ โดยชนชาตอิาหรับเป็นภาษาอาหรับ 
2. ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีนักวิทยาศาสตร์ที่สา คัญในสมัยนี้ ไดแ้ก่ 
- โยฮันน์กูเตนเบิร์ก ชาวเยอรมัน มีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ 
- ลีโอนาโด ดาวินซีศึกษากายวิภาค กลศาสตร์และจลศาสตร์ 
ของไหล นับเป็นผู้ริเริ่มนา วิทยาศาสตร์เข้าส่ยูุคใหม่
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
- นโิคลสัโคเพอร์นิคสัไดใ้หท้ฤษฎีเกี่ยวกับจักรวาลว่า ดวงอาทิตย์เป็น 
ศูนย์กลางของระบบสุริยะ โลกไม่ใช่ศูนย์กลางของจักรวาล เป็นการปฏิวตัิทางดารา 
ศาสตร์ 
- กาลเิลโอ เป็นบิดาแห่งการทดลองทางวิทยาศาสตร์ คน้พบของแรงดึงดูดของ 
วตัถุของโลก และเป็นผู้ประดิษฐ์กล้องดูดาวไดเ้ป็นคนแรก 
- จอห์น เรย์เป็นบิดาแห่งวิชาพฤษศาสตร์ จา แนกพืชพันธุ์ไม้ เป็นหมวดหมู่และ 
ตั้งชื่อพืช 
- เซอร์ไอแซก นิวตนั สรุปแรงดึงดูดของโลก จากการสังเกตลูกแอปเปิ้ลตกลง 
พื้นดิน ไม่ลอยไปในอากาศ โดยเรียกกฎนี้ว่า กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยปฏิวัติอุตสาหกรรม 
- เบนจามิน แฟรงคลิน คน้พบว่าไฟฟ้าเป็นของไหล ทา ให้เกิดฟ้าแลบและฟ้าผ่า 
หาวิธีการป้องกันฟ้าผ่า โดยประดิษฐ์สายล่อฟ้า 
- เจมส์วัตต ์ ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้า แบบใหม่ กา หนดกา ลังเครื่องจักรเป็น 
"แรงม้า" ปัจจัยสา คัญที่ก่อใหเ้กิดการปฏิวตัิอุตสาหกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยสงครามโลก 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เป็นสงครามเคมี เพราะมีการทา ลายลา้งดว้ย 
ระเบิดชนิดต่าง ๆ และแก๊ส ส่วนมหาสงครามโลกครั้งที่สอง ดว้ยระเบิดปรมาณู 
นักวิทยาศาสตร์ที่สา คัญ ๆ ไดแ้ก่ 
- อลัเบิร์ต ไอน์สไตน์ คน้พบทฤษฎีสัมพันธภาพ นา ไปสู่การสรา้ง 
ระเบิดปรมาณูและคิดทฤษฎีใหม่ ซึ่งนา ไปสู่การสา รวจอวกาศ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลงัการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม 
- ไมเคิล ฟาราเดย์เป็นผ้คูน้พบสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นเครื่อง 
กา เนิดไฟฟ้า พบหลักการของหม้อแปลงที่ใชกั้นในปัจจุบัน 
- เกรกอร์โยฮนัน์เมนเดล ไดศึ้กษาทดลองเกี่ยวกับการผสมพันธุ์พืช และไดส้รุป 
เป็นกฎเรยีกว่า "กฎทางพันธุ์กรรมของเมนเดล" และไดชื้่อว่า 
เป็นบิดาแห่งพันธุ์กรรม 
- หลุยส์ ปาสเตอร์ วางรากฐานทฤษฎแีบคทีเรีย ใชวิ้ธีการพาสเจอร์ไรเซชั่น ในการ 
กา จัดแบคทีเรียในอาหาร และผลิตวคัซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
พฒันาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทย 
สมัยก่อนกรุงสุโขทยัเป็นราชธานี มีการตดิต่อระหว่างกลุ่มชนต่าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยน 
อาหาร สิ่งของเครื่องใช้และไดเ้รียนรูว้ฒันธรรมของคนต่างกลุ่มชาวอินเดียและชาวจีน 
เดินทางเข้ามาคา้ขายในคาบสมุทรอินโดจีนเพิ่มขึ้น 
สมัยกรุงสุโขทยั สรา้งสรรค์ศิลปวฒันธรรมที่เป็นลักษณะเฉพาะของสุโขทัย 
โดยเฉพาะการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย เทคโนโลยีที่ถูกนา มาใชใ้นยุคแรก ๆ เป็น 
เทคโนโลยีพื้นบ้านง่าย ๆ เกี่ยวกับการก่อสรา้งที่อยู่อาศัยและสถานที่ทางดา้น 
ศาสนา การทา อาหาร
สมัยกรุงศรีอยุธยา ไทยสัมผัสกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียุคใหม่ 
เมื่อชาวตะวนัตกเดินทางเข้าสู่ไทย โดยผลผลิตทางเทคโนโลยยีุคใหม่ที่คนไทยได้ 
สัมผัสเป็นสิ่งแรก คือ “ปืน” ต่อมาไทยจึงไดเ้ครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ยุคใหม่ 
คือ กล้องโทรทรรศน์ 
สมัยกรุงธนบุรี บ้านเมืองประสบปัญหาเศรษฐกิจตกตา่ มีการแพร่ระบาดของ 
หนูนา ผู้คนล้มตายเป็นจา นวนมาก ทา ใหมี้การประกาศดักจับ 
หนูมามอบใหท้างการเป็นรางวลั ในการถมทะเลทา พื้นที่ปลูกข้าว
สมัยกรุงรตันโกสินทร์ 
รัชกาลที่ 
2 เป็นเทคโนโลยีเกี่ยวกับดา้นการดา รงชีวิต งานศิลปะ และการทหาร 
รัชกาลที่ 
3 ส่งนักเรียนไทยไปศึกษาทางดา้นวิทยาศาสตร์ที่ต่างประเทศ เมื่อคนไทยรุ่น 
แรกที่ไปศึกษายังต่างประเทศกลับมาเมืองไทย วิทยาศาสตร์ยุคใหม่ในประเทศไทยก็ 
แพร่หลายเป็นที่ยอมรับมากข้นึ 
รัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงเป็นพระบิดานักวิทยาศาสตร์ไทย เป็นที่ยอมรับในวงการ 
ดาราศาสตร์ของโลก
รัชกาลที่ 
5 ประชาชนไดรั้บการศึกษาอย่างเป็นระบบ วิทยาศาสตร์ก็เป็นที่ 
แพร่หลาย แต่เป็นวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน 
รัชกาลที่ 
6 มีการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้น ซึ่งนับเป็นมหาวิทยาลัย 
แห่งแรกของประเทศไทย วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ 
และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ใน 
ประเทศไทยก็เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว 
รัชกาลที่ 
9 พระองค์ทรงเป็น “พระบิดาของเทคโนโลยีไทย” มีการจัดตงั้ 
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใชพั้ฒนาประเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุก 
ๆ ดา้น ทา ให้คนไทยมีความสะดวกสบาย และปลอดภัยมากขึ้น

More Related Content

Viewers also liked

เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
Apinya Phuadsing
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
Apinya Phuadsing
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
Apinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Apinya Phuadsing
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
Tor Jt
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
Watcharin Chongkonsatit
 

Viewers also liked (20)

เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1บทที่1 กลุ่มที่ 1
บทที่1 กลุ่มที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
1. a&p skeletal 1
1. a&p skeletal 11. a&p skeletal 1
1. a&p skeletal 1
 
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapterPocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
Lesson 2 joints
Lesson 2   jointsLesson 2   joints
Lesson 2 joints
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 

Similar to บทที่ 1

ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
keatsunee.b
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
korakate
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
Jintana Thipun
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
korakate
 
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptxวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx
TinnakritWarisson
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
Apichart Wattanasiri
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 

Similar to บทที่ 1 (20)

ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยีสาระที่   ๒      การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptxวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.4 หน่วยที่ 1.pptx
 
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
ความสำค ญของแหล งทร_พยากรการเร_ยนร__
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 

บทที่ 1

  • 2. จุดประสงค์รายวิชา 1. มีความรูแ้ละเขา้ใจความหมายและความสา คญัของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. นา ความรูแ้ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกตใ์ชใ้นชีวิตประจา วนั 3. มีความรูแ้ละตระหนกัถึงความสา คญัของเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ 4. ตระหนักถึงความสาคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ มีต่อการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิต 5. เลือกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อสุขภาพดี ได้เหมาะสมกบัตวัเอง
  • 3. จุดประสงค์รายวิชา 6. เห็นคุณค่าของการออกกา ลังกาย และนันทนาการเพื่อสุขภาพสา หรับ ตนเอง และครอบครัว 7. รูจั้กและเลือกใชพ้ลังงานไดอ้ย่างประหยัดและปลอดภัย 8. มีความรูค้วามเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่มีต่อมนุษย์ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา สังคม และวฒันธรรม
  • 5. ความหมาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีความรูเ้กี่ยวกับ ความรูเ้บ้อืงตน้ เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี คุณภาพชีวิต พัฒนาการทาง วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กับคุณภาพชีวิต รางวลั นักวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
  • 6. • ความหมายของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี คุณภาพชีวิต วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ ที่ได้มาโดยอาศยักระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษยชาติ
  • 7. เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่เกิดจากการนา วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์ อื่น ๆ มาประยุกต์ ใชกั้บทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ เพื่อ สนองความต้องการของมนุษย์ ความรูท้างวิทยาศาสตร์ + เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ
  • 8. คุณภาพชีวิต หมายถึง ความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และความสามารถดา รงชีพอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขตามอัตภาพของแต่ละบุคคล ร่างกาย + จิตใจ + สงัคม
  • 9. วิทยาศาสตร์ องค์ประกอบของวิทยาศาสตร์ • ส่วนที่เป็นผลจากผลงานของนักวิทยาศาสตร์ • เป็นองค์แห่งความรูข้องวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย (1) ข้อเท็จจริง (Fact) (2) ความคิดรวบยอด หรือมโนมติ (Concept) (3) หลักการ (Principle) (4) กฎ (Law) (5) ทฤษฎี (Theory) (6) สมมติฐาน (Hypothesis)
  • 10. • เป็นความรู้ที่ได้จากการใชก้ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่เกิดจากการตั้งปัญหา 3 ประการ คือ มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง เกิดขึ้นได้อย่างไร ทา ไมจึงเกิดขึ้น
  • 11. ประเภทของวิทยาศาสตร์ จา แนกตามธรรมชาติของรายวิชา ได้ 3 สาขา วิทยาศาสตร์กายภาพ ( Physical Science) เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของโลกและจักรวาล ในส่วน ของสิ่งที่ไม่มีชีวิต วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของทุกสิ่งทุกอย่างในโลกและจักรวาล ของสิ่งมีชีวิต วิทยาศาสตร์สงัคม (Social Science) เป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ธรรมชาติ และพฤติกรรมของมนุษย์ที่รวมกันอยู่เป็นชุมชนหรือสังคม
  • 12. ประเภทของวิทยาศาสตร์ จา แนกตามการใชป้ระโยชน์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) วิทยาศาสตร์ ประยุกต์หรือเทคโนโลยี ( Applied Science)
  • 13. เทคโนโลยี องค์ประกอบของเทคโนโลยี มีส่วนสา คัญ 2 ส่วน คือ องค์ประกอบที่ เป็นรูปธรรม มักเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ ( Hard ware) องค์ประกอบที่ เป็นนามธรรม มักเรียกว่า ซอฟต์แวร์ ( Software)
  • 14. ระดบัของเทคโนโลยี มี 4 ระดับ เทคโนโลยีระดบัเบื้องตน้ สามารถจัดหาไดภ้ายในประเทศหรอืสามารถพัฒนาข้นึไดใ้นระยะเวลาอันสนั้ เช่น ตเู้ย็น โทรศัพท์ เทคโนโลยีระดบักลาง มักตอ้งซื้อจากต่างประเทศ แต่สามารถพัฒนาไดภ้ายในประเทศ หากมี แผนการพัฒนาที่ต่อเนื่อง เช่น โทรทัศน์ เครื่องเสียง
  • 15. เทคโนโลยีระดบัสูง ตอ้งซื้ออุปกรณ์จากต่างประเทศ แต่สามารถใชง้านโดยคนไทย หาก พัฒนาในประเทศจะตอ้งซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีระดบัสูงมาก ตอ้งซื้ออุปกรณ์ และทักษะการใชง้านจากต่างประเทศ เช่น ระบบ คมนาคม ระบบการสื่อสารขนาดใหญ่
  • 16. วัฏจกัรของเทคโนโลยี วิจัย Research พัฒนา Develop โครงการ Pilot ขยายการใช้แนะนา Intro Growth ระยะลดตา่ Decline ระยะอิ่มตัว Mature
  • 17. คุณภาพชีวิต ความจา เป็นพื้นฐาน หมายถึง ความจา เป็นขั้นตา่ สุดที่คนทุกคนควรจะมีหรือควรจะเป็นในช่วงระยะ เวลาหนึ่ง เพื่อใหมี้ชีวิตที่ดีและสามารถดา รงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ย่างปกติสุขตามสมควร มีตัวชี้วดั 9 หมวด หมวดที่ 1 อาหารดี หมวดที่ 2 มีบา้นอาศยั หมวดที่ 3 ศึกษาอนามัยครบถว้น
  • 18. หมวดที่ 4 ครอบครวัปลอดภยั หมวดที่ 5 รายไดดี้ หมวดที่ 6 มีลูกไม่มาก หมวดที่ 7 อยากร่วมพฒันา หมวดที่ 8 พาสู่คุณธรรม หมวดที่ 9 บารุงสิ่ง แวดลอ้ม
  • 19. พฒันาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโลกและประเทศไทย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสมัยโบราณ 1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย (Mesopotamian Civilization) ปัจจุบัน คือ ประเทศอิรัก มีการประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม (Cuneiform) นับเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุด 2. อารยธรรมอียิปต์ (Egyptian Civilization) ชาวอียิปต์คิดค้น การทา มัมมี่ศพและสรา้งที่บรรจุศพ คือ “ปิระมิด” มีการประดิษฐ์อกัษร ฮโีรกราฟิก (Hieroglyphic) เป็นอักษรภาพ ซึ่งใชใ้นภาษากรีกปัจจุบัน
  • 20. 3. อารยธรรมในอเมริกากลาง (Central American Civilization) ในสมัยโบราณมีชนเผ่าต่าง ๆ ไดแ้ก่ มายา (Mayas) แอสแทค (Aztecs) และอินคา (Incas) 4. อารยธรรมในเอเชีย (Asian Civilization) แหล่งสา คัญอยู่ใน ประเทศอินเดียและจีน สาหรับในประเทศไทยเอง มีการขุดพบสิ่งของเครื่องใช้ ที่แสดงถึงอารยธรรมที่มีความเจริญอย่างมาก
  • 21. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยกรีก มีการพัฒนาดา้นปรัชญา กฎหมาย และวิทยาศาสตร์ ซึ่งหลายสาขาวิชายังมี การใชจ้นถึงปัจจุบัน “แควน้ไอโอเนีย” เป็นสถานที่ ๆ ซึ่งวิทยาศาสตร์สมัยนี้เจริญ รุ่งเรืองเป็นแห่งแรก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยอเล็กซานเดรีย มีการทดลองและบันทึกข้อมูลในม้วนกระดาษ 7 แสนม้วน รวบรวมไวที้่หอสมุดอเล็ก ซานเดรีย ซึ่งจัดเป็นแหล่งสะสมวิชาการที่ใหญ่ที่สุดใน โลกสมัยนนั้
  • 22. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยกลาง 1. ยุคมืด เป็นการเก็บรวบรวมและแปลตา ราที่มีอยู่เดิมจากอียิปต์โบราณ และกรีกโบราณ โดยชนชาตอิาหรับเป็นภาษาอาหรับ 2. ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา มีนักวิทยาศาสตร์ที่สา คัญในสมัยนี้ ไดแ้ก่ - โยฮันน์กูเตนเบิร์ก ชาวเยอรมัน มีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ - ลีโอนาโด ดาวินซีศึกษากายวิภาค กลศาสตร์และจลศาสตร์ ของไหล นับเป็นผู้ริเริ่มนา วิทยาศาสตร์เข้าส่ยูุคใหม่
  • 23. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - นโิคลสัโคเพอร์นิคสัไดใ้หท้ฤษฎีเกี่ยวกับจักรวาลว่า ดวงอาทิตย์เป็น ศูนย์กลางของระบบสุริยะ โลกไม่ใช่ศูนย์กลางของจักรวาล เป็นการปฏิวตัิทางดารา ศาสตร์ - กาลเิลโอ เป็นบิดาแห่งการทดลองทางวิทยาศาสตร์ คน้พบของแรงดึงดูดของ วตัถุของโลก และเป็นผู้ประดิษฐ์กล้องดูดาวไดเ้ป็นคนแรก - จอห์น เรย์เป็นบิดาแห่งวิชาพฤษศาสตร์ จา แนกพืชพันธุ์ไม้ เป็นหมวดหมู่และ ตั้งชื่อพืช - เซอร์ไอแซก นิวตนั สรุปแรงดึงดูดของโลก จากการสังเกตลูกแอปเปิ้ลตกลง พื้นดิน ไม่ลอยไปในอากาศ โดยเรียกกฎนี้ว่า กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล
  • 24. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยปฏิวัติอุตสาหกรรม - เบนจามิน แฟรงคลิน คน้พบว่าไฟฟ้าเป็นของไหล ทา ให้เกิดฟ้าแลบและฟ้าผ่า หาวิธีการป้องกันฟ้าผ่า โดยประดิษฐ์สายล่อฟ้า - เจมส์วัตต ์ ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้า แบบใหม่ กา หนดกา ลังเครื่องจักรเป็น "แรงม้า" ปัจจัยสา คัญที่ก่อใหเ้กิดการปฏิวตัิอุตสาหกรรม
  • 25. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยสงครามโลก สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เป็นสงครามเคมี เพราะมีการทา ลายลา้งดว้ย ระเบิดชนิดต่าง ๆ และแก๊ส ส่วนมหาสงครามโลกครั้งที่สอง ดว้ยระเบิดปรมาณู นักวิทยาศาสตร์ที่สา คัญ ๆ ไดแ้ก่ - อลัเบิร์ต ไอน์สไตน์ คน้พบทฤษฎีสัมพันธภาพ นา ไปสู่การสรา้ง ระเบิดปรมาณูและคิดทฤษฎีใหม่ ซึ่งนา ไปสู่การสา รวจอวกาศ
  • 26. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลงัการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม - ไมเคิล ฟาราเดย์เป็นผ้คูน้พบสนามแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นเครื่อง กา เนิดไฟฟ้า พบหลักการของหม้อแปลงที่ใชกั้นในปัจจุบัน - เกรกอร์โยฮนัน์เมนเดล ไดศึ้กษาทดลองเกี่ยวกับการผสมพันธุ์พืช และไดส้รุป เป็นกฎเรยีกว่า "กฎทางพันธุ์กรรมของเมนเดล" และไดชื้่อว่า เป็นบิดาแห่งพันธุ์กรรม - หลุยส์ ปาสเตอร์ วางรากฐานทฤษฎแีบคทีเรีย ใชวิ้ธีการพาสเจอร์ไรเซชั่น ในการ กา จัดแบคทีเรียในอาหาร และผลิตวคัซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
  • 27. พฒันาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทย สมัยก่อนกรุงสุโขทยัเป็นราชธานี มีการตดิต่อระหว่างกลุ่มชนต่าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยน อาหาร สิ่งของเครื่องใช้และไดเ้รียนรูว้ฒันธรรมของคนต่างกลุ่มชาวอินเดียและชาวจีน เดินทางเข้ามาคา้ขายในคาบสมุทรอินโดจีนเพิ่มขึ้น สมัยกรุงสุโขทยั สรา้งสรรค์ศิลปวฒันธรรมที่เป็นลักษณะเฉพาะของสุโขทัย โดยเฉพาะการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย เทคโนโลยีที่ถูกนา มาใชใ้นยุคแรก ๆ เป็น เทคโนโลยีพื้นบ้านง่าย ๆ เกี่ยวกับการก่อสรา้งที่อยู่อาศัยและสถานที่ทางดา้น ศาสนา การทา อาหาร
  • 28. สมัยกรุงศรีอยุธยา ไทยสัมผัสกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียุคใหม่ เมื่อชาวตะวนัตกเดินทางเข้าสู่ไทย โดยผลผลิตทางเทคโนโลยยีุคใหม่ที่คนไทยได้ สัมผัสเป็นสิ่งแรก คือ “ปืน” ต่อมาไทยจึงไดเ้ครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ยุคใหม่ คือ กล้องโทรทรรศน์ สมัยกรุงธนบุรี บ้านเมืองประสบปัญหาเศรษฐกิจตกตา่ มีการแพร่ระบาดของ หนูนา ผู้คนล้มตายเป็นจา นวนมาก ทา ใหมี้การประกาศดักจับ หนูมามอบใหท้างการเป็นรางวลั ในการถมทะเลทา พื้นที่ปลูกข้าว
  • 29. สมัยกรุงรตันโกสินทร์ รัชกาลที่ 2 เป็นเทคโนโลยีเกี่ยวกับดา้นการดา รงชีวิต งานศิลปะ และการทหาร รัชกาลที่ 3 ส่งนักเรียนไทยไปศึกษาทางดา้นวิทยาศาสตร์ที่ต่างประเทศ เมื่อคนไทยรุ่น แรกที่ไปศึกษายังต่างประเทศกลับมาเมืองไทย วิทยาศาสตร์ยุคใหม่ในประเทศไทยก็ แพร่หลายเป็นที่ยอมรับมากข้นึ รัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงเป็นพระบิดานักวิทยาศาสตร์ไทย เป็นที่ยอมรับในวงการ ดาราศาสตร์ของโลก
  • 30. รัชกาลที่ 5 ประชาชนไดรั้บการศึกษาอย่างเป็นระบบ วิทยาศาสตร์ก็เป็นที่ แพร่หลาย แต่เป็นวิทยาศาสตร์ระดับพื้นฐาน รัชกาลที่ 6 มีการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้น ซึ่งนับเป็นมหาวิทยาลัย แห่งแรกของประเทศไทย วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ใน ประเทศไทยก็เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว รัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงเป็น “พระบิดาของเทคโนโลยีไทย” มีการจัดตงั้ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใชพั้ฒนาประเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุก ๆ ดา้น ทา ให้คนไทยมีความสะดวกสบาย และปลอดภัยมากขึ้น