SlideShare a Scribd company logo
การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูล
คาสั่งในการแสดงผลออกทางหน้าจอ คาสั่งในการรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
1. คาสั่ง printf() 1. คาสั่ง scanf()
2. คาสั่ง putchar() 2. คาสั่ง getchar() และ getch()
3. คาสั่ง puts() 3. คาสั่ง gets()
แสดงผลออกทางหน้าจอ
การแสดงผลข้อมูลออกทางหน้าจอสามารถทาได้ง่าย โดยเรียกใช้
คาสั่งหรือฟังก์ชันมาตรฐานที่ภาษาซีเตรียมไว้ให้ใช้ คาสั่ง printf()
คาสั่ง printf ถือว่าเป็นคาสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูลทุก
ชนิดออกทางหน้าจอ ไม่ว่าจะเป็นจานวนเต็ม( int ) , ทศนิยม ( float ) ,
ข้อความ ( string ) หรืออักขระ นอกจากนี้คาสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยเรา
สามาถกาหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตาม
ความต้องการได้อีกด้วย รูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง printf แสดงได้ดังนี้
printf(“ format ” , variable);
format : ข้อมูลที่ต้องการแสดงออกทางหน้าจอโดยข้อมูลนี้ต้องเขียน
ไว้ในเครื่องหมาย “ ” ข้อมูลที่สามารถแสดงผลได้มีอยู่ 2 ประเภท คือ
ข้อความธรรมดา และค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร ซึ่งถ้าเป็นค่าที่เก็บไว้ในตัวแปรต้อง
ใส่รหัสควบคุมรูปแบบให้ตรงกับชนิดของข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรนั้นด้วย
variable : ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนาค่าไปแสดงผลให้ตรงกับ
รหัสควบคุมรูปแบบที่กาหนดไว้
รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ
แสดงได้ดังนี้
รหัสควบคุมรูปแบบ การนาไปใช้งาน
%d สาหรับแสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนเต็ม ( int, short, unsigned short, long,
unsigned long)
%u สาหรับแสดงผลตัวเลขจานวนเต็มบวก ( unsigned short, unsigned long )
%o สาหรับแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานแปด
%x สาหรับแสดงผลออกมาในรูปแบบของเลขฐานสิบหก
%f สาหรับแสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจานวนทศนิยม ( float, double, long double )
%e สาหรับแสดงผลตัวเลขทศนิยมออกมาในรูปแบบของ ( E หรือ e ) ยกกาลัง ( float, double,
long double )
%c
รหัสควบคุมรูปแบบ
สาหรับแสดงผลอักขระ 1 ตัว ( char )การนาไปใช้งาน
%s สาหรับแสดงผลข้อความ ( string หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว)
%p สาหรับแสดงผลตัวชี้ตาแหน่ง ( pointer )
ตัวอย่างการใช้คาสั่ง printf แสดงผลข้อความธรรมดาออกทางหน้าจอ
ส่วนตัวอย่างการใช้คาสั่ง printf แสดงผลจากค่าของตัวแปรหรือ
นิพจน์การคานวณออกทางหน้าจอ แสดงได้ดังนี้
โดยกาหนดให้
แสดงผลให้เป็นระเบียบด้วยอักขระควบคุมการแสดงผล
นอกจากนี้เรายังสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลให้ดูเป็นระเบียบ
มากขึ้น เช่น การขึ้นบรรทัดใหม่หลังแสดงข้อความ หรือเว้นระยะแท็บ
ระหว่างข้อความ โดยใช้อักขระควบคุมการแสดงผลร่วมกับคาสั่ง printf
ในภาษาซีมี อักขระควบคุมการแสดงผลหลายรูปแบบด้วยกัน ดัง
แสดงต่อไปนี้
อักขระควบคุมการแสดงผล ความหมาย
n ขึ้นบรรทัดใหม่
t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร)
r กาหนดให้เคอร์เซอร์ไปอยู่ต้นบรรทัด
f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ
b ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว
การนาอักขระควบคุมการแสดงผลมาใช้ เราต้องเขียนอักขระควบคุมการ
แสดงผลไว้ภายในเครื่องหมาย “ ” ดังแสดงตัวอย่างต่อไปนี้
ควบคุมขนาดพื้นที่แสดงผล
ตามปกติในการแสดงผลโปรแกรมจะเตรียมพื้นที่ให้พอดีกับข้อความ เช่น ถ้าจะ
แสดงข้อความ HELLO ซึ่งมี 5 ตัวอักษร โปรแกรมจะจัดเตรียมพื้นที่ไว้ให้พอดีสาหรับ
5 ตัวอักษร ดังแสดงรูปต่อไปนี้
H E L L O
แต่เราสามารถเพิ่มพื้นที่ในการแสดงผลได้ตามต้องการ เช่น กาหนดให้แสดง
ข้อความ HELLO ในพื้นที่ขนาด 8 ตัวอักษร โปรแกรมจะแสดงข้อความชิดด้านขวาของ
พื้นที่ที่จองไว้โดยจะเว้นพื้นที่ว่างทางด้านซ้ายอีก 3 ช่องที่เหลือเอาไว้ดังรูป
H E L L O
วิธีกาหนดขนาดพื้นที่การแสดงผล ให้ใส่ตัวเลขขนาดของพื้นที่ที่ต้องการไว้
หลังเครื่องหมาย % ในรหัสควบคุมรูปแบบ ดังแสดงตัวอย่างต่อไปนี้
ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนจากการแสดงผลชิดขอบด้านขวาให้ชิดขอด้านซ้าย
แทน สามารถทาได้โดยใส่เครื่องหมาย - ไว้หน้าตัวเลขระบุขนาดพื้นที่
ดังแสดงตัวอย่างต่อไปนี้
ควบคุมตาแหน่งตัวเลขหลังจุดทศนิยม
นอกจากนี้ในการแสดงผลตัวเลขหลังจุดทศนิยม ตามปกติถ้าไม่ได้
กาหนดค่าใด ๆ เพิ่มเติม เมื่อใช้รหัสควบคุมรูปแบบ %f โปรแกรมจะแสดง
ตัวเลขทศนิยมทั้งหมด 6 ตาแหน่ง ในกรณีที่เราต้องการตัดให้แสดงตัวเลขหลังจุด
ทศนิยมเท่าที่จาเป็น (เช่น 2 หรือ 3 ตาแหน่ง) ก็สามารถกาหนดค่าเพิ่มไปกับ
รหัสควบคุมรูปแบบได้ดังต่อไปนี้
% . nf
n : จานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่ต้องการให้แสดงผล
ตัวอย่าง การแสดงผลจานวนทศนิยม โดยที่มีการกาหนดตาแหน่งทศนิยม
แสดงได้ดังนี้
คาสั่ง putchar()
ในการแสดงผลตัวอักษรหรืออักขระ ( char ) ออกทางหน้าจอ นอกจาก
ใช้คาสั่ง printf พร้อมกับกาหนดรหัสควบคุมรูปแบบ %c แล้ว เราสามารถ
เรียกใช้คาสั่งสาหรับแสดงตัวอักษรหรืออักขระโดยเฉพาะได้อีกด้วย โดยคาสั่ง
นั้นคือ คาสั่ง putchar() ซึ่งมีรูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง ดังแสดงต่อไปนี้
putchar(ch);
ch : ตัวอักษรหรืออักขระเขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย „c'
หรือตัวแปรชนิด char
ตัวอย่าง การใช้คาสั่ง putchar() ในการแสดงผลอักขระออกทางหน้าจอ
แสดงได้ดังนี้
คาสั่ง puts()
เป็นคาสั่งสาหรับแสดงผลข้อความออกทางหน้าจอ มีรูปแบบการใช้คาสั่งดังนี้
puts(str);
str : ข้อความซึ่งเขียนอยู่ภายในเครื่องหมาย “ ” หรือตัวแปรที่เก็บข้อมูลชนิดข้อความ
รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
การทางานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป็นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้แบบ 2
ทิศทาง นั่นก็คือ ทั้งภาคของแสดงผลการทางานออกทางหน้าจอ และภาคของ
การรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด เพื่อร่วมในการประมวลผลของ
โปรแกรม ซึ่งในภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้ ภาษาซีกาหนดคาสั่งและฟังก์ชัน
มาตรฐานเอาไว้ให้เรียกใช้แล้ว เช่นเดียวกับภาคของการแสดงผล รายละเอียด
ของคาสั่งเหล่านี้ได้แก่
ในภาษาซี การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทาได้โดยการเรียกใช้ฟังก์ชัน scanf()
ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสาหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท
ไม่ว่าจะเป็นจานวนเต็ม ( int ) , ทศนิยม ( float ) ,อักขระ ( char ) หรือข้อความก็ตาม
รูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง scanf() คล้ายกับการเรียกใช้คาสั่ง printf() ดังแสดงต่อไปนี้
คาสั่ง scanf()
scanf(“format” , &variable) ;
format : การใช้รหัสควบคุมรูปแบบ เพื่อกาหนดชนิดของข้อมูลที่จะรับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดย
รหัสควบคุมรูปแบบจะใช้ชุดเดียวกับรหัสควบคุมรูปแบบของคาสั่ง printf()
variable : ตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยชนิดของตัวแปรจะต้องตรงกับ
รหัสควบคุมรูปแบบที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ หน้าชื่อของตัวแปรจะต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย & ยกเว้นตัว
แปรสตริงสาหรับเก็บข้อความเท่านั้นที่ไม่ต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย &
ตัวอย่าง การใช้งานคาสั่ง scanf() เพื่อรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
แสดงได้ดังนี้
คาสั่ง getchar() และ getch()
ทั้ง 2 คาสั่งนี้ใช้รับข้อมูลประเภทอักขระ( char ) โดยมีรูปแบบการเรียกใช้คาสั่งดังนี้
ch = getchar();
ch = getch();
ch : ตัวแปรชนิด char เพื่อใช้เก็บค่าของอักขระหรือตัวอักษรที่รับเข้ามา
ถึงแม้ว่าทั้งคาสั่ง getchar() และ getch() จะใช้สาหรับรับข้อมูลชนิดอักขระเหมือนกัน แต่ทั้ง 2 คาสั่ง
นี้มีความแตกต่างกันอยู่ตรงที่ คาสั่ง getchar() เมื่อป้อนอักขระเข้ามาแล้ว ต้องกดปุ่ม <Enter> โปรแกรม
จึงจะกลับไปทางานต่อได้ และตัวอักขระที่เราป้อนจะแสดงขึ้นมาให้เห็นบนหน้าจอด้วย ส่วนคาสั่ง getch()
ไม่ต้องกดปุ่ม <Enter> เพียงแค่เราป้อนอักขระเข้ามา 1 ตัว โปรแกรมจะกลับไปทางานต่อทันที และตัว
อักขระที่เราป้อนจะไม่แสดงขึ้นมาให้เห็น
ตัวอย่าง การเรียกใช้คาสั่ง getchar() รับตัวอักษรเข้ามาจาก
คีย์บอร์ด แสดงได้ดังนี้
ผลการทางานของโปรแกรมสังเกตได้ว่า เราต้องกดปุ่ม <Enter> หลังจากที่ป้อน
ตัวอักษรแล้ว นอกจากนี้ตัวอักษรที่ป้อนจะแสดงขึ้นมาบนหน้าจอด้วย
จากโปรแกรมเดิม เมื่อเปลี่ยนจากคาสั่ง getchar() เป็น getch() ผลลัพธ์จากการทางาน
แสดงได้ดังนี้
น
จะสังเกตได้ว่า เมื่อใช้คาสั่ง getch() เราไม่ต้องกดปุ่ม <Enter> ตามหลังการป้อน
ตัวอักษร และจะไม่เห็นตัวอักษรที่เราป้อนแสดงขึ้นมาบนหน้าจอ
คาสั่ง gets()
นอกจากคาสั่งในการรับข้อมูลชนิดอักขระหรือตัวอักษรแล้ว การรับข้อความจาก
คีย์บอร์ดก็มีคาสั่งให้เรียกใช้เช่นกัน คือ คาสั่ง gets() ซึ่งมีรูปแบบการเรียกใช้ดังต่อไปนี้
gets(str);
str : ตัวแปรสาหรับเก็บข้อความที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด ซึ่ง
จะต้องสร้างเตรียมไว้ก่อนที่จะเรียกใช้คาสั่ง gets()
ตัวอย่าง การเรียกใช้คาสั่ง gets() รับข้อความมาจาก
คีย์บอร์ด แสดงได้ดังนี้
การแสดงผลและการรับข้อมูล
การแสดงผลและการรับข้อมูล

More Related Content

What's hot

59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
Beam Suna
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
Apinyaphorn
 
นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310
นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310
นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310
porprarungnapa
 
งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์
Oraphan4
 
ฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษาฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษา
Sedthawoot Pitapo
 
การกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excel
การกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excelการกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excel
การกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excelพัน พัน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Thanon Paktanadechanon
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
Week8
Week8Week8
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107 กลุ่ม 3301  
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107  กลุ่ม 3301  ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107  กลุ่ม 3301  
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107 กลุ่ม 3301  
Oraya Krodkrua
 
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301
Oraya Krodkrua
 
ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301
Oraya Krodkrua
 
ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301
Oraya Krodkrua
 

What's hot (20)

59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 
Week4
Week4Week4
Week4
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310
นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310
นายณัฐนนท์ คำเกตุ 58670310
 
Know4 3
Know4 3Know4 3
Know4 3
 
งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์งาน อ.ทรงศักดิ์
งาน อ.ทรงศักดิ์
 
ฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษาฟังก์ชันในภาษา
ฟังก์ชันในภาษา
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
การกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excel
การกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excelการกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excel
การกำหนดขอบเขตการพิมพ์งานบน Excel
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
Week8
Week8Week8
Week8
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
 
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107 กลุ่ม 3301  
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107  กลุ่ม 3301  ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107  กลุ่ม 3301  
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107 กลุ่ม 3301  
 
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวดี   ติมุลา   รหัสนิสิต 59670107   กลุ่ม 3301
 
ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวรัตนาวลี     ติมุลา    รหัสนิสิต 59670108  กลุ่ม 3301
 
ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301
ชื่อนางสาวอรยา กรดเครือ รหัสนิสิต 59670118 กลุ่ม 3301
 

Viewers also liked

นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
korn27122540
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
korn27122540
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
IMC Institute
 
การรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูลการรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูล
นิตยา อินชาญ
 
PREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
PREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTSPREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
PREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
gainesville11
 
Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9
Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9
Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9KANWARJITSINGH AHLUWALIA
 
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซีตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
korn27122540
 
GENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
GENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTSGENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
GENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
gainesville11
 
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
korn27122540
 
Hmc Outdoor Media / Billboards / Hoardings
Hmc Outdoor Media / Billboards / HoardingsHmc Outdoor Media / Billboards / Hoardings
Hmc Outdoor Media / Billboards / Hoardings
ASIM SHAIKH
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูล
korn27122540
 
การติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาC
การติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาCการติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาC
การติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาC
korn27122540
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
korn27122540
 
What's a web page made of?
What's a web page made of?What's a web page made of?
What's a web page made of?
Charlie Allen
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
korn27122540
 

Viewers also liked (20)

นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
การเขียนผังงาน
การเขียนผังงานการเขียนผังงาน
การเขียนผังงาน
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
Java Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception HandlingJava Programming [9/12]: Exception Handling
Java Programming [9/12]: Exception Handling
 
งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8งานทำ Blog บทที่ 8
งานทำ Blog บทที่ 8
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
การรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูลการรับรู้ข้อมูล
การรับรู้ข้อมูล
 
PREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
PREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTSPREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
PREVENTIVE DENTISTRY AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
 
Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9
Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9
Corporate%20Magazine%20-%20%20issue%20no%202 - Read Page 9
 
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซีตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
 
GENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
GENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTSGENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
GENERAL DENTISTRY SERVICES AT GAINESVILLE DENTAL ARTS
 
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
Hmc Outdoor Media / Billboards / Hoardings
Hmc Outdoor Media / Billboards / HoardingsHmc Outdoor Media / Billboards / Hoardings
Hmc Outdoor Media / Billboards / Hoardings
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูล
 
การติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาC
การติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาCการติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาC
การติดตั้งและการดาวน์โหลดโปรแกรมภาษาC
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
What's a web page made of?
What's a web page made of?What's a web page made of?
What's a web page made of?
 
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรมการควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
 

Similar to การแสดงผลและการรับข้อมูล

C lang
C langC lang
Computer programming
Computer programmingComputer programming
Computer programming
Jariyaa
 
Computer programming
Computer  programmingComputer  programming
Computer programmingPreaw Jariya
 
C slide
C slideC slide
C slide
tawee1919
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
teedee111
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา
Beam Suna
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกคอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกSumalee Sonamthiang
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
IMC Institute
 
capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2
Thamon Monwan
 

Similar to การแสดงผลและการรับข้อมูล (20)

12
1212
12
 
C lang
C langC lang
C lang
 
Computer programming
Computer programmingComputer programming
Computer programming
 
Computer programming
Computer  programmingComputer  programming
Computer programming
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา59170065 พัชริกา
59170065 พัชริกา
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิกคอมพิวเตอร์โอลิมปิก
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2capture 59170107 group 2
capture 59170107 group 2
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

การแสดงผลและการรับข้อมูล