SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                      ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)

                                   ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี

1. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
    1.1 ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน (preprocessor statements)
         ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อนขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เช่น
                    #include<stdio.h>
         หมายความว่าให้ตัวประมวลผลก่อนไปอ่านข้อมูลจากแฟ้ม stdio.h ซึ่งเป็นแฟ้มที่มีอยู่ในคลัง เมื่อ
โปรแกรมมีการใช้ข้อความสั่งอ่านและบันทึก ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อนจะต้องเขียนไว้ตอนต้นขอโปรแกรม
    1.2 รหัสต้นฉบับ (source code)
         รหัสต้นฉบับ หมายถึง ตัวโปรแกรมที่ประกอบด้วยข้อความสั่งและตัวฟังก์ชั่นต่างๆ
    1.3 ข้อความสั่งประกาศครอบคลุม (global declaration statements)
         ข้อความสั่งประกาศครอบคลุมใช้ประกาศตัวแปรส่วนกลาง โดยที่ตัวแปรส่วนกลางนั้นจะสามารถถูก
เรียกใช้จากทุกส่วนของโปรแกรม
    1.4 ต้นแบบฟังก์ชัน (function prototype)
         ต้นแบบฟังก์ชันใช้ประกาศฟังก์ชัน เพื่อบอกให้ตัวแปลโปรแกรมทราบถึงชนิดของค่าที่ส่งกลับและชนิดของ
ค่าต่างๆ ที่ส่งไปกระทาการในฟังก์ชัน
    1.5 ฟังก์ชันหลัก (main function)
         เมื่อสั่งให้กระทาการโปรแกรม ฟังก์ชันหลักจะเป็นจุดเริ่มต้นของการกระทาการ ภายในฟังก์ชันหลักจะ
ประกอบด้วยข้อความสั่งและข้อความสั่งที่เรียกใช้ฟังก์ชั่น
    1.6 ฟังก์ชัน (function)
         ฟังก์ชัน หมายถึง กลุ่มของข้อความสั่งที่ทางานใดงานหนึ่งโดยเป็นอิสระจากฟังก์ชันหลัก แต่อาจมีการ
รับส่งค่าระหว่างฟังก์ชันและฟังก์ชันหลัก
    1.7 ข้อความสั่งประกาศตัวแปรเฉพาะที่ (local declaration statements)
         ข้อความสั่งประกาศตัวแปรเฉพาะที่ ใช้ประกาศตัวแปรเฉพาะที่ โดยที่ตัวแปรเฉพาะที่จะสามารถถูก
เรียกใช้เฉพาะภายในฟังก์ชันนั้น
    1.8 การแปลและกระทาการโปรแกรม (program compilation and execution)
         เมื่อได้เขียนและป้อนข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อนและรหัสต้นฉบับลงในโปรแกรมอิดิเตอร์เสร็จแล้ว
จะต้องเรียกตัวแปรโปรแกรมมาเพื่อให้แปลภาษาซีให้เป็นภาษาเครื่อง หากโปรแกรมนั้นเขียนได้ถูกต้องตรงตามกฎ
ของภาษาซี ตัวแปรโปรแกรมจะแปลโปรแกรมภาษาซีให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนาไปเก็บไว้ในแฟ้มชื่อเดียวกันแต่มี
นามสกุลเป็น .obj จากนั้นตัวเชื่อมโยง (linker) จะต้องนาฟังก์ชันจากคลัง (library function) ต่างๆที่โปรแกรมได้
เรียกใช้มารวมเข้ากับแฟ้ม .obj แล้วนาไปเก็บไว้ในแฟ้มชื่อเดิม แต่มีนามสกุลไฟล์เป็น .exe เมื่อต้องการกระทา
การโปรแกรมก็สามารถป้อนข้อมูลเข้า (input data) ให้กับโปรแกรม ซึ่งจะได้ผลการกระทา (output)




หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)        โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                  ู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                       ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)




                            รหัสต้นฉบับ
                          Source code (.c)
                                                                            ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน
                                                                             preprocessor statement

                            ตัวแปรโปรแกรม
                               Compiler



                            รหัสจุดหมาย
                         object code (.obj)

                                                                                ฟังก์ชันจากคลัง
                                                                               library function
                              ตัวเชื่อมโยง
                                 linker



                         โปรแกรมกระทาการ
                        Executable program
                               (.exe)




                                                    โปรแกรมกระทาการ
              ข้อมูลเข้า                                                                ผลการกระทา
                                                   Executable program
             Input data                                                                   output
                                                          (.exe)


                                    รูปที่ 1 การแปลและการกระทาการโปรแกรม

หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)         โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                   ู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                    ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)

ตัวอย่างที่ 1.1
         แสดงโครงสร้างของโปรแกรม โดยโปรแกรมนี้ประกอบด้วยฟังก์ชัน main() และ ฟังก์ชัน sum()
         ฟังก์ชัน main() ทาหน้าที่รับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร a และตัวแปร b แล้วส่งค่าของตัวแปรทั้งสองไปยัง
ฟังก์ชัน sum() เพื่อคานวณหาผลรวม เมื่อคานวณผลรวมแล้ว จะส่งค่าของผลรวมกลับไปยังฟังก์ชัน main()
จากนั้นฟังก์ชัน main() จะแสดงค่าของผลรวม
         #include<stdio.h>                                       //คาสั่งตัวประมวลผลก่อน
         int a, b, c;                                            //คาสั่งประกาศครอบคลุม
         int sum(int x, int y);                                  //คาสั่งแบบฟังก์ชัน
         void main()                                             //ฟังก์ชัน main()
         {                                                       //เริ่มต้นฟังก์ชัน main()
               scanf(“%d”, &a);                                  //คาสั่งรับค่าตัวแปร
               scanf(“%d”, &b);                                  //คาสั่งรับค่าตัวแปร
               c = sum(a, b);                                    //เรียกฟังก์ชัน sum()
               printf(“n%d + %d = %d”,a, b, c);                 //แสดงผล
         }                                                       //จบฟังก์ชัน main()
         int sum (int x, int y)                                  //ฟังก์ชัน sum()
         {                                                       //เริ่มต้นฟังก์ชัน sum()
               return (x + y);                                   //คาสั่งรวมค่าและส่งค่ากลับ
         }                                                       //จบฟังก์ชัน sum()


2. ตัวแปร (variables)
   คอมพิวเตอร์มีส่วนประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งคือ หน่วยความจา ซึ่งเปรียบได้กับสมองของมนุษย์ทาหน้าที่เก็บ
ข้อมูลในขณะที่ประมวลผล ในการประมวลผลแต่ละครั้งมักต้องใช้ข้อมูลจานวนมาก ซึ่งจาเป็นจะต้องเก็บไว้ใน
หน่วยความจา เป็นเก็บแล้วจะต้องทราบตาแหน่งที่นาข้อมูลเข้าไปเก็บไว้ภายในของหน่วยความจาด้วย เพื่อให้
สามารถนาข้อมูลเหล่านั้นกลับมาประมวลผลได้ ดังนั้นตัวแปรจึงมีหน้าที่สาคัญที่ช่วยในการเก็บข้อมูลแต่ละ
ประเภทที่ผู้ใช้ป้อนเข้าสู่โปรแกรม
   ชนิดข้อมูล (data types)
  ข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรมมีหลายชนิด ซึ่งนักเขียนโปรแกรมต้องเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับการใช้งาน ข้อมูลมี
ขนาดที่แตกต่างกันไปตามชนิดข้อมูล นอกจากนี้แล้ว ชนิดข้อมูลยังอาจมีขนาดที่แตกต่างกันโดยขึ้นกับเครื่อง



หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)      โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                ู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                             ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)

คอมพิวเตอร์และตัวแปลโปรแกรมที่ใช้ในการประมวลผล แต่โดยทั่วไปแล้วในไมโครคอมพิวเตอร์ ชนิดข้อมูลมีการ
ใช้ในโปรแกรมและขนาดดังนี้
                                                          คาสั่งใน        ขนาดข้อมูล
      ชนิดข้อมูล           การใช้ในโปรแกรม                                                   ช่วงข้อมูล
                                                         โปรแกรม            (ไบต์)
 character                char                              %c                1      -128 ถึง 127
 integer                  int                               %d                2      -32768 ถึง 32767
 long integer             long                             %ld                4      -2147483648 ถึง
                                                                                     2147483647
 unsigned                 unsigned char                    %c                 1      0 ถึง 255
 character
 unsigned integer         unsigned int                     %d                  2         0 ถึง 65535
 unsigned long            unsigned long                    %ld                 4         0 ถึง 4294967295
 single-precision         Float                            %f                  4         1.2 x 10-38 ถึง 3.4 x 1038
 floating-point


   กฎการตั้งชื่อตัวแปร
      การตั้งชื่อตัวแปรมีข้อกาหนด ดังนี้
      - ประกอบด้วย a ถึง z, o ถึง 9 และ _ เท่านั้น
      - อักขระตัวแรกต้องเป็น a ถึง z และ _
      - ห้ามใช้ชื่อเฉพาะ
      - ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก มีความหมายที่แตกต่างกัน
      - มีความยาวได้สูงสุด 31 ตัวอักษร

    การประกาศตัวแปร
        การประกาศตัวแปรทาได้โดย เขียนข้อความสั่งขึ้นต้นด้วยชนิดข้อมูล ตามด้วยชื่อตัวแปร และจบข้อความ
สั่งประกาศตัวแปรด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ดังนี้

                   ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร;

       ถ้าต้องการประกาศตัวแปรชนิดเดียวกันหลายตัว ต้องคั่นระหว่างตัวแปรด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) และ
จบด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ดังนี้

                   ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร1, ชื่อตัวแปร2;


หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)               โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                         ู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                         ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)

         เช่น
                  int count;                   //ประกาศตัวแปรชื่อ count ใช้เก็บข้อมูลชนิด integer
                  int m, n;                    //ประกาศตัวแปรชื่อ m และ n ใช้เก็บข้อมูลชนิด integer
                  int num = 10;                //ประกาศตัวแปรชื่อ num และเก็บค่า 10 ไว้ในตัวแปรดังกล่าว
                  char str = ‘a’;              //ประกาศตัวแปรชื่อ str และเก็บค่าอักขระ a ไว้ในตัวแปรดังกล่าว

3. การแสดงผลและการรับค่า
   3.1 ฟังก์ชั่น printf()
       ฟังก์ชั่น printf() เป็นฟังก์ชันจากคลังที่มาพร้อมกับตัวแปลโปรแกรมภาษาซี ใช้สาหรับการแสดงผล มี
รูปแบบดังนี้

                  printf(“สายอักขระควบคุม”, ตัวแปร);

         โดยที่ สายอักขระควบคุมประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
                       - ตัวอักขระที่จะแสดง
                       - รูปแบบการแสดงผล ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ (%)
                       - ลาดับหลีก (escape sequence)
                ตัวแปร คือ ชื่อของตัวแปรที่จะแสดงผล

         รูปแบบการแสดงผล (format specifiers)
                การกาหนดรูปแบบการแสดงผล
                      - ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายเปอร์เซ็น (%)
                      - ตามด้วยอักขระ 1 ตัว หรือหลายตัว โดยที่อักขระนั้นมีความหมายดังนี้

                    อักขระ                   ชนิดข้อมูล                 รูปแบบการแสดงผล
                       c                       char              อักขระเดียว
                       d                         int             จานวนเต็มฐานสิบ
                       o                                         จานวนเต็มฐานแปด
                       x                                         จานวนเต็มฐานสิบหก
                       f                        float            จานวนที่มีทศนิยมในรูปฐานสิบ

        ลาดับหลีก (escape sequence)
               ในการแสดงผล บางสิ่งบางอย่างที่จะแสดงอาจไม่ใช่ตัวอักษร จึงไม่สามารถที่จะเขียนสิ่งที่จะ
แสดงไว้ในโปรแกรมได้ เช่น ต้องการเขียนโปรแกรมให้ส่งเสียง หรือต้องการให้เลื่อนขึ้นบรรทัดใหม่ก่อนแสดง



หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)           โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                     ู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                         ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)

ข้อความ ดังนั้นในการเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงผลสิ่งที่ไม่ใช่ตัวอักขระปกติ จะต้องใช้ลาดับหลีก เพื่อช่วยในการ
กาหนดอักขระพิเศษหรือสิ่งที่ไม่ใช่อักขระที่ต้องการให้โปรแกรมแสดง
                 ลาดับหลีกจะเขียนขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย  (back slash) แล้วตามด้วยอักขระ ในการทางาน
เครื่องหมายทับกลับหลังจะบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าให้หลีกเลี่ยงการตีความอักขระที่ตามหลังมานี้ใน
ลักษณะปกติ เพราะอักขระเหล่านี้จะมีความหมายพิเศษแตกต่างออกไป

                                   ลาดับหลีก                                 ผลการกระทาการ
                                      n                     ขึ้นบรรทัดใหม่
                                       t                    เลื่อนไป 1 แท็บ
                                      a                     เสียงกระดิ่ง
                                      b                     ถอยไปหนึ่งวรรค
                                       f                    ขึ้นหน้าใหม่
                                                           แสดงเครื่องหมาย 
                                       ’                    แสดงเครื่องหมายฝนทอง
                                      ”                     แสดงเครื่องหมายฟันหนู

   3.2 ฟังก์ชัน scanf()
       ฟังชัน scanf() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ โดยจะบอกเลขที่อยู่ของตัวแปรใน
หน่วยความจา แล้วจึงนาค่าที่รับมาเก็บไว้ตามที่อยู่นั้น โดยมีรูปแบบดังนี้

                  scanf(“%รูปแบบ”, &ตัวแปร);

         โดยที่ &ตัวแปร หมายถึง เลขที่อยู่ (address) ของตัวแปรที่จะรับค่ามาเก็บในหน่วยความจา

4. การคานวณทางคณิตศาสตร์
   ในการเขียนโปรแกรมเพื่อทาการคานวณทางคณิตศาสตร์ จะต้องใช้ตัวดาเนินการต่างๆ ซึ่งมีวิธีการใช้งานและ
การทางาน ดังนี้

     การคานวณ          ตัวดาเนินการ               ตัวอย่าง                            การทางาน
        บวก                 +               c = a + b;              นาค่าที่เก็บในตัวแปร a บวกกับค่าที่เก็บในตัว
                                                                    แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c
          ลบ                   -            c = a – b;              นาค่าที่เก็บในตัวแปร a ลบด้วยค่าที่เก็บในตัว
                                                                    แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c
          คูณ                 *             c = a * b;              นาค่าที่เก็บในตัวแปร a คูณกับค่าที่เก็บในตัว
                                                                    แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c

หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)           โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                     ู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                          ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)

     การคานวณ          ตัวดาเนินการ                ตัวอย่าง                            การทางาน
        หาร                  /              c = a / b;              นาค่าที่เก็บในตัวแปร a หารด้วยค่าที่เก็บในตัว
                                                                    แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c โดยถ้าทั้งตัวตั้ง
                                                                    และตัวหารต่างเป็นจานวนเต็ม ค่าที่เก็บในตัว
                                                                    แปร c จะเป็นจานวนเต็ม แต่ถ้าตัวตั้งหรือ
                                                                    ตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นจานวนจริงที่มีทศนิยม
                                                                    ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจานวนจริงที่มีทศนิยมด้วย
       มอลดูลัส               %             c = a % b;              ให้ค่าที่เป็นในตัวแปร a เป็นตัวตั้ง ค่าที่เก็บใน
                                                                    ตัวแปร b เป็นตัวหาร แล้วเก็บเศษจากการหาร
                                                                    ไว้ในตัวแปร c

5. ตัวดาเนินการเอกภาค (unary operator)
   ตัวดาเนินการเอกภาค คือ การใช้ตัวดาเนินการกับตัวแปรตัวเดียว ในที่นี้จะแสดงการใช้ตัวดาเนินการ 2 ตัวกับ
ตัวแปรตัวเดียว ซึ่งมีลักษณะการใช้ 2 แบบ คือ

                  การคานวณ                      ตัวดาเนินการ             ตัวอย่าง                การทางาน
     เพิ่มค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง                ++                    x++                   x=x+1
     เพิ่มค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง                ++                    ++x                   x=x+1
     ลดค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง                   --                     x--                  x=x–1
     ลดค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง                   --                     --x                  x=x–1

6. ตัวดาเนินการประกอบ (compound operator)
   ตัวดาเนินการประกอบ เป็นการใช้ตัวดาเนินการหนึ่งตัวร่วมกับเครื่องหมายเท่ากับ การใช้ตัวดาเนินการ
ประกอบจะช่วยให้เขียนข้อความสั่งได้สั้นและเร็วขึ้น

        ตัวดาเนินการ                ตัวอย่าง                  การทางาน
             +=                     x += 5                    x=x+5
             -=                      x -= 5                    x=x-5
             *=                      x *= y                   x=x*y
             /=                      x /= y                   x=x/y
            %=                      X %= 5                    x=x%5




หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)            โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                      ู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
                                  ้                                        ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com)

7. ผังงาน (flowchart)
   ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหรือ
ระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ

   ประโยชน์ของผังงาน
       • ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
       • ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
       • ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
       • ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น

  การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ที่เรียกว่า สัญลักษณ์ ANSI
(American National Standards Institute) ในการสร้างผังงาน ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปต่อไปนี้

             สัญลักษณ์                                                  ความหมาย
                                          จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม

                                          ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล

                                          ใช้แสดงคาสั่งในการประมวลผล หรือการกาหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปร

                                          การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศ
                                          ทางการทางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็นเท็จ
                                          แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา

                                          แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้น
                                          ที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางานอย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน




หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี)          โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน.
                                                                                                    ู

More Related Content

What's hot

123
123123
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
krulef1805
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
Thanawut Rattanadon
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
kamonwan66_
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหลWijitta DevilTeacher
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
sawed kodnara
 
ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
ทาม ได้ไหมดาว
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
Wijitta DevilTeacher
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
เลขนัย
เลขนัยเลขนัย
เลขนัย
Aey Usanee
 

What's hot (20)

123
123123
123
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
 
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133cD67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
D67d8ab4f4c10bf22aa353e27879133c
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-3 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
เลขนัย
เลขนัยเลขนัย
เลขนัย
 

Viewers also liked

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ณัฐพล บัวพันธ์
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
Nattapon
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
Resume
ResumeResume
Resume
Nattapon
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
Visaitus Palasak
 

Viewers also liked (6)

โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี

ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
0872671746
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
ikanok
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
Patipat04
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Morn Suwanno
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
รัสนา สิงหปรีชา
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี (20)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Introduction toc
Introduction tocIntroduction toc
Introduction toc
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
C lu
C luC lu
C lu
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 

More from Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About Python
Nattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
Nattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
Nattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มNattapon
 

More from Nattapon (20)

About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่ายใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 4 เรื่องการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขอย่างง่าย
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์มใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องการเพิ่มฟอร์มและคำสั่งเปิดฟอร์ม
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี 1. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี 1.1 ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน (preprocessor statements) ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อนขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เช่น #include<stdio.h> หมายความว่าให้ตัวประมวลผลก่อนไปอ่านข้อมูลจากแฟ้ม stdio.h ซึ่งเป็นแฟ้มที่มีอยู่ในคลัง เมื่อ โปรแกรมมีการใช้ข้อความสั่งอ่านและบันทึก ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อนจะต้องเขียนไว้ตอนต้นขอโปรแกรม 1.2 รหัสต้นฉบับ (source code) รหัสต้นฉบับ หมายถึง ตัวโปรแกรมที่ประกอบด้วยข้อความสั่งและตัวฟังก์ชั่นต่างๆ 1.3 ข้อความสั่งประกาศครอบคลุม (global declaration statements) ข้อความสั่งประกาศครอบคลุมใช้ประกาศตัวแปรส่วนกลาง โดยที่ตัวแปรส่วนกลางนั้นจะสามารถถูก เรียกใช้จากทุกส่วนของโปรแกรม 1.4 ต้นแบบฟังก์ชัน (function prototype) ต้นแบบฟังก์ชันใช้ประกาศฟังก์ชัน เพื่อบอกให้ตัวแปลโปรแกรมทราบถึงชนิดของค่าที่ส่งกลับและชนิดของ ค่าต่างๆ ที่ส่งไปกระทาการในฟังก์ชัน 1.5 ฟังก์ชันหลัก (main function) เมื่อสั่งให้กระทาการโปรแกรม ฟังก์ชันหลักจะเป็นจุดเริ่มต้นของการกระทาการ ภายในฟังก์ชันหลักจะ ประกอบด้วยข้อความสั่งและข้อความสั่งที่เรียกใช้ฟังก์ชั่น 1.6 ฟังก์ชัน (function) ฟังก์ชัน หมายถึง กลุ่มของข้อความสั่งที่ทางานใดงานหนึ่งโดยเป็นอิสระจากฟังก์ชันหลัก แต่อาจมีการ รับส่งค่าระหว่างฟังก์ชันและฟังก์ชันหลัก 1.7 ข้อความสั่งประกาศตัวแปรเฉพาะที่ (local declaration statements) ข้อความสั่งประกาศตัวแปรเฉพาะที่ ใช้ประกาศตัวแปรเฉพาะที่ โดยที่ตัวแปรเฉพาะที่จะสามารถถูก เรียกใช้เฉพาะภายในฟังก์ชันนั้น 1.8 การแปลและกระทาการโปรแกรม (program compilation and execution) เมื่อได้เขียนและป้อนข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อนและรหัสต้นฉบับลงในโปรแกรมอิดิเตอร์เสร็จแล้ว จะต้องเรียกตัวแปรโปรแกรมมาเพื่อให้แปลภาษาซีให้เป็นภาษาเครื่อง หากโปรแกรมนั้นเขียนได้ถูกต้องตรงตามกฎ ของภาษาซี ตัวแปรโปรแกรมจะแปลโปรแกรมภาษาซีให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนาไปเก็บไว้ในแฟ้มชื่อเดียวกันแต่มี นามสกุลเป็น .obj จากนั้นตัวเชื่อมโยง (linker) จะต้องนาฟังก์ชันจากคลัง (library function) ต่างๆที่โปรแกรมได้ เรียกใช้มารวมเข้ากับแฟ้ม .obj แล้วนาไปเก็บไว้ในแฟ้มชื่อเดิม แต่มีนามสกุลไฟล์เป็น .exe เมื่อต้องการกระทา การโปรแกรมก็สามารถป้อนข้อมูลเข้า (input data) ให้กับโปรแกรม ซึ่งจะได้ผลการกระทา (output) หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู
  • 2. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) รหัสต้นฉบับ Source code (.c) ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน preprocessor statement ตัวแปรโปรแกรม Compiler รหัสจุดหมาย object code (.obj) ฟังก์ชันจากคลัง library function ตัวเชื่อมโยง linker โปรแกรมกระทาการ Executable program (.exe) โปรแกรมกระทาการ ข้อมูลเข้า ผลการกระทา Executable program Input data output (.exe) รูปที่ 1 การแปลและการกระทาการโปรแกรม หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู
  • 3. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) ตัวอย่างที่ 1.1 แสดงโครงสร้างของโปรแกรม โดยโปรแกรมนี้ประกอบด้วยฟังก์ชัน main() และ ฟังก์ชัน sum() ฟังก์ชัน main() ทาหน้าที่รับค่ามาเก็บไว้ในตัวแปร a และตัวแปร b แล้วส่งค่าของตัวแปรทั้งสองไปยัง ฟังก์ชัน sum() เพื่อคานวณหาผลรวม เมื่อคานวณผลรวมแล้ว จะส่งค่าของผลรวมกลับไปยังฟังก์ชัน main() จากนั้นฟังก์ชัน main() จะแสดงค่าของผลรวม #include<stdio.h> //คาสั่งตัวประมวลผลก่อน int a, b, c; //คาสั่งประกาศครอบคลุม int sum(int x, int y); //คาสั่งแบบฟังก์ชัน void main() //ฟังก์ชัน main() { //เริ่มต้นฟังก์ชัน main() scanf(“%d”, &a); //คาสั่งรับค่าตัวแปร scanf(“%d”, &b); //คาสั่งรับค่าตัวแปร c = sum(a, b); //เรียกฟังก์ชัน sum() printf(“n%d + %d = %d”,a, b, c); //แสดงผล } //จบฟังก์ชัน main() int sum (int x, int y) //ฟังก์ชัน sum() { //เริ่มต้นฟังก์ชัน sum() return (x + y); //คาสั่งรวมค่าและส่งค่ากลับ } //จบฟังก์ชัน sum() 2. ตัวแปร (variables) คอมพิวเตอร์มีส่วนประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งคือ หน่วยความจา ซึ่งเปรียบได้กับสมองของมนุษย์ทาหน้าที่เก็บ ข้อมูลในขณะที่ประมวลผล ในการประมวลผลแต่ละครั้งมักต้องใช้ข้อมูลจานวนมาก ซึ่งจาเป็นจะต้องเก็บไว้ใน หน่วยความจา เป็นเก็บแล้วจะต้องทราบตาแหน่งที่นาข้อมูลเข้าไปเก็บไว้ภายในของหน่วยความจาด้วย เพื่อให้ สามารถนาข้อมูลเหล่านั้นกลับมาประมวลผลได้ ดังนั้นตัวแปรจึงมีหน้าที่สาคัญที่ช่วยในการเก็บข้อมูลแต่ละ ประเภทที่ผู้ใช้ป้อนเข้าสู่โปรแกรม ชนิดข้อมูล (data types) ข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรมมีหลายชนิด ซึ่งนักเขียนโปรแกรมต้องเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับการใช้งาน ข้อมูลมี ขนาดที่แตกต่างกันไปตามชนิดข้อมูล นอกจากนี้แล้ว ชนิดข้อมูลยังอาจมีขนาดที่แตกต่างกันโดยขึ้นกับเครื่อง หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู
  • 4. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) คอมพิวเตอร์และตัวแปลโปรแกรมที่ใช้ในการประมวลผล แต่โดยทั่วไปแล้วในไมโครคอมพิวเตอร์ ชนิดข้อมูลมีการ ใช้ในโปรแกรมและขนาดดังนี้ คาสั่งใน ขนาดข้อมูล ชนิดข้อมูล การใช้ในโปรแกรม ช่วงข้อมูล โปรแกรม (ไบต์) character char %c 1 -128 ถึง 127 integer int %d 2 -32768 ถึง 32767 long integer long %ld 4 -2147483648 ถึง 2147483647 unsigned unsigned char %c 1 0 ถึง 255 character unsigned integer unsigned int %d 2 0 ถึง 65535 unsigned long unsigned long %ld 4 0 ถึง 4294967295 single-precision Float %f 4 1.2 x 10-38 ถึง 3.4 x 1038 floating-point กฎการตั้งชื่อตัวแปร การตั้งชื่อตัวแปรมีข้อกาหนด ดังนี้ - ประกอบด้วย a ถึง z, o ถึง 9 และ _ เท่านั้น - อักขระตัวแรกต้องเป็น a ถึง z และ _ - ห้ามใช้ชื่อเฉพาะ - ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก มีความหมายที่แตกต่างกัน - มีความยาวได้สูงสุด 31 ตัวอักษร การประกาศตัวแปร การประกาศตัวแปรทาได้โดย เขียนข้อความสั่งขึ้นต้นด้วยชนิดข้อมูล ตามด้วยชื่อตัวแปร และจบข้อความ สั่งประกาศตัวแปรด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ดังนี้ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร; ถ้าต้องการประกาศตัวแปรชนิดเดียวกันหลายตัว ต้องคั่นระหว่างตัวแปรด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) และ จบด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (;) ดังนี้ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร1, ชื่อตัวแปร2; หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู
  • 5. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) เช่น int count; //ประกาศตัวแปรชื่อ count ใช้เก็บข้อมูลชนิด integer int m, n; //ประกาศตัวแปรชื่อ m และ n ใช้เก็บข้อมูลชนิด integer int num = 10; //ประกาศตัวแปรชื่อ num และเก็บค่า 10 ไว้ในตัวแปรดังกล่าว char str = ‘a’; //ประกาศตัวแปรชื่อ str และเก็บค่าอักขระ a ไว้ในตัวแปรดังกล่าว 3. การแสดงผลและการรับค่า 3.1 ฟังก์ชั่น printf() ฟังก์ชั่น printf() เป็นฟังก์ชันจากคลังที่มาพร้อมกับตัวแปลโปรแกรมภาษาซี ใช้สาหรับการแสดงผล มี รูปแบบดังนี้ printf(“สายอักขระควบคุม”, ตัวแปร); โดยที่ สายอักขระควบคุมประกอบด้วย 3 ส่วน คือ - ตัวอักขระที่จะแสดง - รูปแบบการแสดงผล ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายเปอร์เซ็นต์ (%) - ลาดับหลีก (escape sequence) ตัวแปร คือ ชื่อของตัวแปรที่จะแสดงผล รูปแบบการแสดงผล (format specifiers) การกาหนดรูปแบบการแสดงผล - ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายเปอร์เซ็น (%) - ตามด้วยอักขระ 1 ตัว หรือหลายตัว โดยที่อักขระนั้นมีความหมายดังนี้ อักขระ ชนิดข้อมูล รูปแบบการแสดงผล c char อักขระเดียว d int จานวนเต็มฐานสิบ o จานวนเต็มฐานแปด x จานวนเต็มฐานสิบหก f float จานวนที่มีทศนิยมในรูปฐานสิบ ลาดับหลีก (escape sequence) ในการแสดงผล บางสิ่งบางอย่างที่จะแสดงอาจไม่ใช่ตัวอักษร จึงไม่สามารถที่จะเขียนสิ่งที่จะ แสดงไว้ในโปรแกรมได้ เช่น ต้องการเขียนโปรแกรมให้ส่งเสียง หรือต้องการให้เลื่อนขึ้นบรรทัดใหม่ก่อนแสดง หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู
  • 6. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) ข้อความ ดังนั้นในการเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงผลสิ่งที่ไม่ใช่ตัวอักขระปกติ จะต้องใช้ลาดับหลีก เพื่อช่วยในการ กาหนดอักขระพิเศษหรือสิ่งที่ไม่ใช่อักขระที่ต้องการให้โปรแกรมแสดง ลาดับหลีกจะเขียนขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย (back slash) แล้วตามด้วยอักขระ ในการทางาน เครื่องหมายทับกลับหลังจะบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าให้หลีกเลี่ยงการตีความอักขระที่ตามหลังมานี้ใน ลักษณะปกติ เพราะอักขระเหล่านี้จะมีความหมายพิเศษแตกต่างออกไป ลาดับหลีก ผลการกระทาการ n ขึ้นบรรทัดใหม่ t เลื่อนไป 1 แท็บ a เสียงกระดิ่ง b ถอยไปหนึ่งวรรค f ขึ้นหน้าใหม่ แสดงเครื่องหมาย ’ แสดงเครื่องหมายฝนทอง ” แสดงเครื่องหมายฟันหนู 3.2 ฟังก์ชัน scanf() ฟังชัน scanf() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ โดยจะบอกเลขที่อยู่ของตัวแปรใน หน่วยความจา แล้วจึงนาค่าที่รับมาเก็บไว้ตามที่อยู่นั้น โดยมีรูปแบบดังนี้ scanf(“%รูปแบบ”, &ตัวแปร); โดยที่ &ตัวแปร หมายถึง เลขที่อยู่ (address) ของตัวแปรที่จะรับค่ามาเก็บในหน่วยความจา 4. การคานวณทางคณิตศาสตร์ ในการเขียนโปรแกรมเพื่อทาการคานวณทางคณิตศาสตร์ จะต้องใช้ตัวดาเนินการต่างๆ ซึ่งมีวิธีการใช้งานและ การทางาน ดังนี้ การคานวณ ตัวดาเนินการ ตัวอย่าง การทางาน บวก + c = a + b; นาค่าที่เก็บในตัวแปร a บวกกับค่าที่เก็บในตัว แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c ลบ - c = a – b; นาค่าที่เก็บในตัวแปร a ลบด้วยค่าที่เก็บในตัว แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c คูณ * c = a * b; นาค่าที่เก็บในตัวแปร a คูณกับค่าที่เก็บในตัว แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู
  • 7. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) การคานวณ ตัวดาเนินการ ตัวอย่าง การทางาน หาร / c = a / b; นาค่าที่เก็บในตัวแปร a หารด้วยค่าที่เก็บในตัว แปร b แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ใน c โดยถ้าทั้งตัวตั้ง และตัวหารต่างเป็นจานวนเต็ม ค่าที่เก็บในตัว แปร c จะเป็นจานวนเต็ม แต่ถ้าตัวตั้งหรือ ตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นจานวนจริงที่มีทศนิยม ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจานวนจริงที่มีทศนิยมด้วย มอลดูลัส % c = a % b; ให้ค่าที่เป็นในตัวแปร a เป็นตัวตั้ง ค่าที่เก็บใน ตัวแปร b เป็นตัวหาร แล้วเก็บเศษจากการหาร ไว้ในตัวแปร c 5. ตัวดาเนินการเอกภาค (unary operator) ตัวดาเนินการเอกภาค คือ การใช้ตัวดาเนินการกับตัวแปรตัวเดียว ในที่นี้จะแสดงการใช้ตัวดาเนินการ 2 ตัวกับ ตัวแปรตัวเดียว ซึ่งมีลักษณะการใช้ 2 แบบ คือ การคานวณ ตัวดาเนินการ ตัวอย่าง การทางาน เพิ่มค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง ++ x++ x=x+1 เพิ่มค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง ++ ++x x=x+1 ลดค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง -- x-- x=x–1 ลดค่าตัวถูกดาเนินการทีละหนึ่ง -- --x x=x–1 6. ตัวดาเนินการประกอบ (compound operator) ตัวดาเนินการประกอบ เป็นการใช้ตัวดาเนินการหนึ่งตัวร่วมกับเครื่องหมายเท่ากับ การใช้ตัวดาเนินการ ประกอบจะช่วยให้เขียนข้อความสั่งได้สั้นและเร็วขึ้น ตัวดาเนินการ ตัวอย่าง การทางาน += x += 5 x=x+5 -= x -= 5 x=x-5 *= x *= y x=x*y /= x /= y x=x/y %= X %= 5 x=x%5 หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู
  • 8. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องความรูพื้นฐานโปรแกรมภาษาซี ้ ครูณัฐพล บัวอุไร (www.nattapon.com) 7. ผังงาน (flowchart) ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหรือ ระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ประโยชน์ของผังงาน • ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน • ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด • ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว • ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึ้น การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ที่เรียกว่า สัญลักษณ์ ANSI (American National Standards Institute) ในการสร้างผังงาน ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปต่อไปนี้ สัญลักษณ์ ความหมาย จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมูล ใช้แสดงคาสั่งในการประมวลผล หรือการกาหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปร การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศ ทางการทางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็นเท็จ แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้น ที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางานอย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน หนังสือคอมพิวเตอร์ (การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลนิธิ สอวน. ู