SlideShare a Scribd company logo
การรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช “ พืช”  เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ต่างๆ เช่น  การนำน้ำมาเป็นวัตถุดิบสำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง  ดังนั้นพืชจึงต้องมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้ำ ซึ่งได้แก่ ... 1.  การดูดน้ำของรากพืช  ( Root Absorption ) 2.  การคายน้ำของพืช  ( Transpiration )
การดูดน้ำของรากพืช  ( Root Absorption ) -  น้ำที่เข้าสู่พืชมาจากน้ำที่แทรกระหว่างเม็ดดิน ซึ่ง พืชจะใช้เซลล์ขนราก  ( Root hair cell )  ดูดน้ำจากแหล่งนั้นเข้ามา   -   หลักการสำคัญ คือ  สารละลายในดินจะต้องมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลายภายในเซลล์ขนราก  น้ำจึงจะออสโมซิสจากดินเข้าเซลล์ขนรากมากกว่าน้ำที่ออสโมซิสจากเซลล์ขนรากออกสู่ดิน
การคายน้ำของพืช  ( Transpiration ) -  น้ำส่วนมากจะออกจากพืชด้วย กระบวนการคายน้ำที่รูปากใบในรูปของไอน้ำ  โดยการเปิดรูปากใบจะต้องอาศัย การสะสมของโพแทสเซียมไอออน  ( K + )  ในเซลล์คุมที่ปากใบ  และ การได้รับแสงสีน้ำเงิน -  อัตราการคายน้ำของพืชจะ แปรผกผันกับความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ  แต่จะ แปรผันตรงกับอุณหภูมิที่ระดับหนึ่งเท่านั้น
-  หากพืชอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น  ดินมีปริมาณน้ำมากกว่าน้ำในรากเล็กน้อย ,  ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศต่ำพอสมควร และอุณหภูมิสูงพอเหมาะ ก็จะทำให้ พืชสามารถลำเลียงน้ำได้โดยไม่ขาดสาย -  เว้นแต่ ภายในเนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ  ( Xylem )  ในพืชมีฟองอากาศอยู่
การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆในร่างกายมนุษย์ “ มนุษย์”  เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ต่างๆ เช่น  การนำน้ำไปใช้ในปฏิกิริยาการย่อยสารอาหารประเภทต่างๆ  ฯลฯ ซึ่งในแต่ละวันมนุษย์จะได้รับน้ำเหล่านี้ การรับประทานอาหาร ,  การดื่มน้ำ รวมทั้งการสลายสารอาหารเพื่อให้พลังงานแบบใช้ก๊าซออกซิเจน แต่น้ำก็ มีการสูญเสียจากร่างกายผ่านการขับถ่ายอุจจาระ ,  ปัสสาวะ ,  เหงื่อ และการหายใจออกในปริมาณที่เท่ากับน้ำที่ร่างกายได้รับในแต่ละวัน  ดังนั้นมนุษย์จึงต้องมีการรักษาดุลยภาพของน้ำให้เป็นเช่นนี้อยู่ตลอด
 
ไต  ( Kidney ) -  เป็นอวัยวะลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดงซึ่งสำคัญการรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆในร่างกายมนุษย์  โดยรักษาดุลยภาพจาก ความเข้มข้นของโลหิตภายในหลอดเลือดอาร์เทอรี่   ( นำโลหิตออกจากหัวใจ )
-  ไตแต่ละข้างของมนุษย์จะประกอบด้วย  “หน่วยไต”   ( Nephron )  มากมายเกือบราว  1  ล้านหน่วย  หน่วยไตแต่ละหน่วยจะประกอบด้วย  “หลอดเลือดของหน่วยไต”   ( สีแดงและสีน้ำเงินในภาพ )  และ  “ท่อของหน่วยไต”   ( สีเหลืองในภาพ )
-   โลหิตในหลอดเลือดอาร์เทอรี่ก็จะถูกลำเลียงเข้าสู่หลอดเลือดในหน่วยไต ที่บางบริเวณเป็นหลอดเลือดฝอยที่ผนังมีรูพรุนมาก เรียกว่า  “หลอดเลือดโกลเมอรูลัส”   ( Glomerulus )  ซึ่งจะเกิดการกรองสารจากโลหิตเข้าสู่ท่อของหน่วยไตขึ้น  -  แต่สารบางอย่าง เช่น  เซลล์เม็ดเลือด ,  โปรตีนขนาดโมเลกุลใหญ่ เช่น อัลบูมิน   จะไม่สามารถผ่านรูของผนังหลอดเลือดโกลเมอรูลัสได้
-  สารที่ผ่านการกรองจากหลอดเลือดโกลเมอรูลัสบางส่วนจะ ถูกดูดกลับคืน  เช่น  กลูโคส ,  กรดอะมิโน ,  แร่ธาตุบางส่วนที่มีปริมาณน้อยกว่าที่ร่างกายต้องการ -  แต่บางส่วนจะ ขับถ่ายทิ้ง  เช่น  ยูเรีย ,  สารพิษในร่างกาย ,  แร่ธาตุบางส่วนที่มีปริมาณมากเกินกว่าที่ร่างกายต้องการ
-  น้ำที่ผ่านการกรองจากหลอดเลือดโกลเมอรูลัสที่ไหลอยู่ในท่อของหน่วยไต จะเปลี่ยนแปลงปริมาณได้ด้วยการดูดกลับออกจากท่อของหน่วยไต หรือการหลั่งเพิ่มเข้าไป -  สารที่ผ่านออกจากหน่วยไตทั้งหมด  เรียกว่า  “น้ำปัสสาวะ”   ( Urine )
กระเพาะปัสสาวะ  ( Urinary bladder ) -  เป็นอวัยวะลักษณะคล้ายกระเปาะที่รับเอาน้ำปัสสาวะจากไตมาเก็บไว้  จนกระทั่งมีปริมาตรของน้ำปัสสาวะอย่างน้อย  250  ลูกบาศก์เซนติเมตร จึง ขับปัสสาวะออกสู่ภายนอกร่างกาย
กลไกการควบคุมการรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ -  เมื่อ ความเข้มข้นของสารละลายในโลหิตเพิ่มขึ้น ก็จะไปกระตุ้นให้  “สมองส่วนไฮโปทาลามัส”   ( Hypothalamus )  หลั่งสาร  “ ADH ”  ( Anti-Diuretic Hormone )
-  สาร  ADH  จะกระตุ้นให้ท่อของหน่วยไตเพิ่มอัตราการดูดน้ำกลับคืนสู่ร่างกาย  ( โลหิต ) -  สมองส่วนไฮโปทาลามัสยัง กระตุ้นให้เกิดอาการกระหายน้ำ  ทำให้ต้องดื่มน้ำเข้าไป ทั้งหมดนี้จะ ทำให้ความเข้มข้นของสารละลายในโลหิตลดลงจนเข้าสู่ภาวะปกติ
การรักษาดุลยภาพของกรด - เบสในร่างกายมนุษย์ “ ภาวะความเป็นกรด - เบสของสารละลาย”  หมายถึง  ความเข้มข้นของ “โปรตอน” หรือไฮโดรเจนไอออน  ( H + )  ที่ละลายอยู่ในสารละลาย  โดยมี  “ค่า  pH ”   เป็นค่าแสดงถึงความเป็นกรด - เบสของสารละลายใดๆ -  ค่า  pH  จะมีค่า ตั้งแต่  0  จนถึง  14  โดยใช้ค่า  pH  ที่ระดับ  7  เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง  หากสารละลายใด มีค่า  pH  ต่ำกว่า  7  ถือเป็นสารละลายที่มีภาวะเป็นกรด  ส่วนสารละลายใด มีค่า  pH  สูงกว่า  7  ถือเป็นสารละลายที่มีภาวะเป็นเบส
-   ในร่างกายมนุษย์ถือว่า ภาวะความเป็นกรด - เบสของร่างกายจะสามารถเทียบเคียงได้จาก  “ภาวะความเป็นกรด - เบสในโลหิต” -   ภาวะความเป็นกรด - เบสของร่างกาย จะมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์ต่างๆ  เช่น เอนไซม์อะไมเลส
-   ความเป็นกรดในโลหิตเกิดจาก การละลายของผลิตภัณฑ์ของการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานของเซลล์ต่างๆในร่างกาย คือ “ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์” ในโลหิต  ดังสมการ ... คาร์บอนไดออกไซด์   ( CO 2 ) + น้ำในโลหิต  ( H 2 O ) กรดคาร์บอนิก   ( H 2 CO 3 ) ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน   ( HCO 3 - ) + โปรตอน   ( H + )
-  หากเซลล์ต่างๆมีอัตราการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานที่สูง ก็จะทำให้โลหิตมีความเป็นกรดมากซึ่ง เป็นอันตรายต่อเซลล์และการทำงานของเอนไซม์ต่างๆในร่างกาย
-  ดังนั้นร่างกายมนุษย์จึงต้องลดความเป็นกรดของโลหิตลงโดย นำโลหิตที่มี “ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนและโปรตอน” ละลายอยู่มากไปที่หลอดเลือดฝอยในปอด จากนั้นก็ทำปฏิกิริยาต่อกันจนกลายเป็น “ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ”  ดังสมการ ... คาร์บอนไดออกไซด์   ( CO 2 ) + น้ำในโลหิต  ( H 2 O ) กรดคาร์บอนิก   ( H 2 CO 3 ) ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน   ( HCO 3 - ) + โปรตอน   ( H + )
-   ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จะ แพร่เข้าสู่ถุงลมในปอดและออกมาสู่ภายนอกร่างกายพร้อมกับลมหายใจออก
-  นอกจากนี้ ไตก็สามารถที่ขับเอาโปรตอนที่มากเกินไปออกจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้ แล้วดูดกลับโซเดียมไอออนหรือไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน เพื่อให้ความเข้มข้นของสารละลายในร่างกายอยู่ในสภาพสมดุลมากที่สุด

More Related Content

What's hot

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
oranuch_u
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 

Similar to ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3

กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
kasidid20309
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 

Similar to ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3 (6)

กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 

More from Tatthep Deesukon

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1Tatthep Deesukon
 

More from Tatthep Deesukon (6)

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3

  • 1. การรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช “ พืช” เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ต่างๆ เช่น การนำน้ำมาเป็นวัตถุดิบสำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ดังนั้นพืชจึงต้องมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้ำ ซึ่งได้แก่ ... 1. การดูดน้ำของรากพืช ( Root Absorption ) 2. การคายน้ำของพืช ( Transpiration )
  • 2. การดูดน้ำของรากพืช ( Root Absorption ) - น้ำที่เข้าสู่พืชมาจากน้ำที่แทรกระหว่างเม็ดดิน ซึ่ง พืชจะใช้เซลล์ขนราก ( Root hair cell ) ดูดน้ำจากแหล่งนั้นเข้ามา - หลักการสำคัญ คือ สารละลายในดินจะต้องมีความเข้มข้นน้อยกว่าสารละลายภายในเซลล์ขนราก น้ำจึงจะออสโมซิสจากดินเข้าเซลล์ขนรากมากกว่าน้ำที่ออสโมซิสจากเซลล์ขนรากออกสู่ดิน
  • 3. การคายน้ำของพืช ( Transpiration ) - น้ำส่วนมากจะออกจากพืชด้วย กระบวนการคายน้ำที่รูปากใบในรูปของไอน้ำ โดยการเปิดรูปากใบจะต้องอาศัย การสะสมของโพแทสเซียมไอออน ( K + ) ในเซลล์คุมที่ปากใบ และ การได้รับแสงสีน้ำเงิน - อัตราการคายน้ำของพืชจะ แปรผกผันกับความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศ แต่จะ แปรผันตรงกับอุณหภูมิที่ระดับหนึ่งเท่านั้น
  • 4. - หากพืชอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ดินมีปริมาณน้ำมากกว่าน้ำในรากเล็กน้อย , ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศต่ำพอสมควร และอุณหภูมิสูงพอเหมาะ ก็จะทำให้ พืชสามารถลำเลียงน้ำได้โดยไม่ขาดสาย - เว้นแต่ ภายในเนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ ( Xylem ) ในพืชมีฟองอากาศอยู่
  • 5. การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆในร่างกายมนุษย์ “ มนุษย์” เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ต่างๆ เช่น การนำน้ำไปใช้ในปฏิกิริยาการย่อยสารอาหารประเภทต่างๆ ฯลฯ ซึ่งในแต่ละวันมนุษย์จะได้รับน้ำเหล่านี้ การรับประทานอาหาร , การดื่มน้ำ รวมทั้งการสลายสารอาหารเพื่อให้พลังงานแบบใช้ก๊าซออกซิเจน แต่น้ำก็ มีการสูญเสียจากร่างกายผ่านการขับถ่ายอุจจาระ , ปัสสาวะ , เหงื่อ และการหายใจออกในปริมาณที่เท่ากับน้ำที่ร่างกายได้รับในแต่ละวัน ดังนั้นมนุษย์จึงต้องมีการรักษาดุลยภาพของน้ำให้เป็นเช่นนี้อยู่ตลอด
  • 6.  
  • 7. ไต ( Kidney ) - เป็นอวัยวะลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดงซึ่งสำคัญการรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆในร่างกายมนุษย์ โดยรักษาดุลยภาพจาก ความเข้มข้นของโลหิตภายในหลอดเลือดอาร์เทอรี่ ( นำโลหิตออกจากหัวใจ )
  • 8. - ไตแต่ละข้างของมนุษย์จะประกอบด้วย “หน่วยไต” ( Nephron ) มากมายเกือบราว 1 ล้านหน่วย หน่วยไตแต่ละหน่วยจะประกอบด้วย “หลอดเลือดของหน่วยไต” ( สีแดงและสีน้ำเงินในภาพ ) และ “ท่อของหน่วยไต” ( สีเหลืองในภาพ )
  • 9. - โลหิตในหลอดเลือดอาร์เทอรี่ก็จะถูกลำเลียงเข้าสู่หลอดเลือดในหน่วยไต ที่บางบริเวณเป็นหลอดเลือดฝอยที่ผนังมีรูพรุนมาก เรียกว่า “หลอดเลือดโกลเมอรูลัส” ( Glomerulus ) ซึ่งจะเกิดการกรองสารจากโลหิตเข้าสู่ท่อของหน่วยไตขึ้น - แต่สารบางอย่าง เช่น เซลล์เม็ดเลือด , โปรตีนขนาดโมเลกุลใหญ่ เช่น อัลบูมิน จะไม่สามารถผ่านรูของผนังหลอดเลือดโกลเมอรูลัสได้
  • 10. - สารที่ผ่านการกรองจากหลอดเลือดโกลเมอรูลัสบางส่วนจะ ถูกดูดกลับคืน เช่น กลูโคส , กรดอะมิโน , แร่ธาตุบางส่วนที่มีปริมาณน้อยกว่าที่ร่างกายต้องการ - แต่บางส่วนจะ ขับถ่ายทิ้ง เช่น ยูเรีย , สารพิษในร่างกาย , แร่ธาตุบางส่วนที่มีปริมาณมากเกินกว่าที่ร่างกายต้องการ
  • 11. - น้ำที่ผ่านการกรองจากหลอดเลือดโกลเมอรูลัสที่ไหลอยู่ในท่อของหน่วยไต จะเปลี่ยนแปลงปริมาณได้ด้วยการดูดกลับออกจากท่อของหน่วยไต หรือการหลั่งเพิ่มเข้าไป - สารที่ผ่านออกจากหน่วยไตทั้งหมด เรียกว่า “น้ำปัสสาวะ” ( Urine )
  • 12. กระเพาะปัสสาวะ ( Urinary bladder ) - เป็นอวัยวะลักษณะคล้ายกระเปาะที่รับเอาน้ำปัสสาวะจากไตมาเก็บไว้ จนกระทั่งมีปริมาตรของน้ำปัสสาวะอย่างน้อย 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร จึง ขับปัสสาวะออกสู่ภายนอกร่างกาย
  • 13. กลไกการควบคุมการรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ - เมื่อ ความเข้มข้นของสารละลายในโลหิตเพิ่มขึ้น ก็จะไปกระตุ้นให้ “สมองส่วนไฮโปทาลามัส” ( Hypothalamus ) หลั่งสาร “ ADH ” ( Anti-Diuretic Hormone )
  • 14. - สาร ADH จะกระตุ้นให้ท่อของหน่วยไตเพิ่มอัตราการดูดน้ำกลับคืนสู่ร่างกาย ( โลหิต ) - สมองส่วนไฮโปทาลามัสยัง กระตุ้นให้เกิดอาการกระหายน้ำ ทำให้ต้องดื่มน้ำเข้าไป ทั้งหมดนี้จะ ทำให้ความเข้มข้นของสารละลายในโลหิตลดลงจนเข้าสู่ภาวะปกติ
  • 15. การรักษาดุลยภาพของกรด - เบสในร่างกายมนุษย์ “ ภาวะความเป็นกรด - เบสของสารละลาย” หมายถึง ความเข้มข้นของ “โปรตอน” หรือไฮโดรเจนไอออน ( H + ) ที่ละลายอยู่ในสารละลาย โดยมี “ค่า pH ” เป็นค่าแสดงถึงความเป็นกรด - เบสของสารละลายใดๆ - ค่า pH จะมีค่า ตั้งแต่ 0 จนถึง 14 โดยใช้ค่า pH ที่ระดับ 7 เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง หากสารละลายใด มีค่า pH ต่ำกว่า 7 ถือเป็นสารละลายที่มีภาวะเป็นกรด ส่วนสารละลายใด มีค่า pH สูงกว่า 7 ถือเป็นสารละลายที่มีภาวะเป็นเบส
  • 16. - ในร่างกายมนุษย์ถือว่า ภาวะความเป็นกรด - เบสของร่างกายจะสามารถเทียบเคียงได้จาก “ภาวะความเป็นกรด - เบสในโลหิต” - ภาวะความเป็นกรด - เบสของร่างกาย จะมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์ต่างๆ เช่น เอนไซม์อะไมเลส
  • 17. - ความเป็นกรดในโลหิตเกิดจาก การละลายของผลิตภัณฑ์ของการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานของเซลล์ต่างๆในร่างกาย คือ “ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์” ในโลหิต ดังสมการ ... คาร์บอนไดออกไซด์ ( CO 2 ) + น้ำในโลหิต ( H 2 O ) กรดคาร์บอนิก ( H 2 CO 3 ) ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน ( HCO 3 - ) + โปรตอน ( H + )
  • 18. - หากเซลล์ต่างๆมีอัตราการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานที่สูง ก็จะทำให้โลหิตมีความเป็นกรดมากซึ่ง เป็นอันตรายต่อเซลล์และการทำงานของเอนไซม์ต่างๆในร่างกาย
  • 19. - ดังนั้นร่างกายมนุษย์จึงต้องลดความเป็นกรดของโลหิตลงโดย นำโลหิตที่มี “ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนและโปรตอน” ละลายอยู่มากไปที่หลอดเลือดฝอยในปอด จากนั้นก็ทำปฏิกิริยาต่อกันจนกลายเป็น “ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ” ดังสมการ ... คาร์บอนไดออกไซด์ ( CO 2 ) + น้ำในโลหิต ( H 2 O ) กรดคาร์บอนิก ( H 2 CO 3 ) ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน ( HCO 3 - ) + โปรตอน ( H + )
  • 20. - ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จะ แพร่เข้าสู่ถุงลมในปอดและออกมาสู่ภายนอกร่างกายพร้อมกับลมหายใจออก
  • 21. - นอกจากนี้ ไตก็สามารถที่ขับเอาโปรตอนที่มากเกินไปออกจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้ แล้วดูดกลับโซเดียมไอออนหรือไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน เพื่อให้ความเข้มข้นของสารละลายในร่างกายอยู่ในสภาพสมดุลมากที่สุด