SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3 
วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจาวัน
โภชนาการ 
กับชีวิต 
วิทยาศาสตร์กับ 
ชีวิตประจาวัน 
ยา 
การคุ้มครอง 
ผู้บริโภค 
สมุนไพร สารเสพติด
โภชนาการกบัชีวิต 
อาหาร หมายถึง ของกินหรือเครื่องค้าจุนชีวิต ไม่รวมยา วัตถุออกฤทธิ์ 
ต่อจิตประสาท สารเสพตดิใหโ้ทษ เมื่อบริโภคเข้าไปแล้วใหป้ระโยชน์แก่ร่างกาย 
ทา ใหร้่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ให้พลังงาน โดยไม่มีพิษภัยหรือใหโ้ทษ 
แก่ร่างกาย 
สารอาหาร หมายถึง สารเคมีที่ประกอบอยู่ในอาหารให้คุณค่าต่อร่างกาย 
โภชนาการ หมายถึง วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของอาหาร 
ที่เข้าไปในร่างกาย
อาหารหลกั 5 หมู่ 
คือ การจัดอาหารทุกชนิดที่คนไทยบริโภคเป็นประจา ออกเป็นหมวดหมู่ 
หมู่ที่ 
1 ใหส้ารอาหารจา พวกโปรตีน ไดแ้ก่ เนื้อ นม ไข่ ถั่วเมล็ดแหง้ 
หมู่ที่ 
2 ใหส้ารอาหารจา พวกคาร์โบไฮเดรต ไดแ้ก่ ข้าว แป้ง น้า ตาล เผือก มัน 
เป็นพลังงานส่วนใหญ่ของร่างกาย
หมู่ที่ 
3 ผักชนิดต่าง ๆ 
หมู่ที่ 
4 ผลไม้ทุกชนิด 
หมู่ที่ 
5 ไขมัน น้า มันที่ได้จากพืช และสัตว์ ควรบริโภคในปริมาณน้อย 
เนื่องจากในแต่ละวนัร่างกายไดรั้บมากอย่แูล้ว เพราะไขมันแทรกอยู่ใน 
เนื้อสัตว์แทบทุกชนิดที่บริโภค ถ้าบริโภคมากทา ใหเ้กิดโรคอว้น โรคความดัน 
โลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือด
ปิ รามิดการกินเพื่ 
อสุขภาพ
ประเภทของสารอาหาร 
แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมีในอาหารได้6 ประเภท คือ 
เป็นสารอินทรีย์ประกอบดว้ย C, H, O, N พบได้ในสิ่งมีชีวิต 
ทุกชนิด หน่วยย่อยที่เล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน เรียงต่อกันดว้ยพันธะ 
“เปปไทด์ ” 
โปรตีน
ในร่างกายประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิด แบ่งเป็น 2 พวก คือ 
1. กรดอะมิโนจา เป็น ไดแ้ก่ กรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์เองไม่ได้ 
หรอืสังเคราะห์ไดแ้ต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ตอ้งไดรั้บจากอาหาร 
เท่านนั้ 
*** ในเด็กมีเพิ่มอีก 2 ตัว คือ Histidine และ Arginine 
2. กรดอะมิโนไม่จา เป็น ไดแ้ก่ กรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นไดเ้พียงพอ 
กับความตอ้งการของร่างกาย ไม่จา เป็นตอ้งไดรั้บจากอาหาร เช่น Alanine, 
Glutamine, Aspartic Acid
ประเภทของโปรตีน 
การแบ่งประเภทโปรตีนตามหน้าที่ 
1. Transport protein ทา หน้าที่ขนส่ง เช่น ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง 
2. Enzyme ทา หน้าที่เป็นเอนไซม์ เกี่ยวกับปฏิกิริยาต่าง ๆในร่างกาย 
3. Structural protein เป็นโครงสรา้ง เช่น คอลลาเจนของเนื้อเยื่อ
4. Storage protein ทา หน้าที่ในการสะสมสารต่าง ๆ ในร่างกาย 
5. Contractile protein ทา หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว 
6. Protective protein ทา หน้าทปี้องกัน เป็นภูมิคุม้กันโรคให้ 
กับร่างกาย 
7. Toxin ทา หน้าที่ เป็นสารพิษ
การแบ่งประเภทโปรตีนตามหลกัชีวเคมี 
1. Simple protein เป็นกรดอะมิโนอย่างเดียว ไม่มีสารอื่นเจือปนอยู่ 
2. Compound protein ประกอบไปดว้ยกรดอะมิโนและสารอื่น 
เจือปนอย่ดูว้ย 
• Lipoprotein เป็นโปรตีนที่มีไขมันรวมอยู่ดว้ย 
• Nucleoprotein เป็นโปรตีนที่ ประกอบดว้ยกรดนิวคลีอิก 
พบตามต่อมต่าง ๆ 
• Glucoprotein เป็นโปรตีนที่ประกอบดว้ยคาร์โบไฮเดรต 
• Phosphoprotein เป็นโปรตีนที่มีฟอสฟอรัสปนอย่ดู้วย
การแบ่งประเภทโปรตีนตามหลกัโภชนวิทยา 
1. Complete protein โปรตีนที่มีกรดอะมิโนชนิดที่จา เป็น 
ต่อร่างกายครบทุกตัว ส่วนใหญ่จะไดรั้บจากสัตว์ 
2. Incomplete Protein โปรตีนที่มีกรดอะมิโนชนิดที่จา เป็นต่อ 
ร่างกายไม่ครบทุกตัว ส่วนใหญ่จะไดรั้บจากพืช
การแบ่งประเภทโปรตีนตามลกัษณะของการขดและเรียงตวัของโปรตีน 
1. Fibrous protein ลักษณะเป็นเสน้ มีความแข็งแรง เหนียว 
ยืดหย่นุไดม้าก เช่น โปรตีนในเสน้ผม โปรตีนของเสน้เอ็น
2. Globular protein ลักษณะเป็นก้อน ขดตัวกัน เช่น ฮีโมโกลบิน 
เอนไซม์ ฮอร์โมน 
*** ปริมาณโปรตีน จะใชก้ารคา นวณจากน้า หนักตัว 
ประมาณ 1-1.5 กรัม / น้า หนักตัว 1 กิโลกรัม 
โปรตีน 1 กรัม จะใหพ้ลังงาน 4 กิโลแคลอรี
คาร์โบไฮเดรต 
พบมากใน ข้าว แป้ง น้า ตาล เผือก มัน และพืชผักผลไม้ที่มีรสหวาน 
เป็นแหล่งพลังงานสา หรับมนุษย์และสัตว์ 
ประเภทของคาร์โบไฮเดรต 
1. โมโนแซคคาไรด์ (Monosaccharide) 
2. ไดแซคคาไรด์ ( Disaccharide) 
3. โพลีแซคคาไรด์ (polysaccharide)
โมโนแซคคาไรด์ (Monosaccharide) 
เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กที่สุด ประกอบดว้ยคาร์บอน 3-8 
อะตอม กินแล้วจะดูดซึมจากลา ไสไ้ดเ้ลย ไม่ตอ้งผ่านการย่อย 
มี 3 ชนิด คือ 
1. กลูโคส (glucose) พบใน พืช ผัก และผลไม้ 
2. ฟรุกโทส (fructose) พบในเกสรดอกไม้ 
3. กาแลกโทส (galactose) มีอยู่ในนม และผลผลิตของนม 
ทั่ว ๆ ไป
ไดแซคคาไรด์ ( Disaccharide) 
เป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบดว้ยโมโนแซคคาไรด์2 ตัวมารวมกัน เมื่อกินเข้าไป 
น้า ย่อยในลา ไสเ้ล็กจะย่อยออกมาเป็นโมโนแซคคาไรด์ก่อน ร่างกายจึงสามารถ 
นา ไปใชป้ระโยชน์ได้ ไดแ้ก่ 
1. ซูโครสหรือน้า ตาลทราย (sucrose) 
ย่อย 
ซูโครส กลูโคส + ฟรุกโทส
2. มอลโทส (moltose) 
มอลโทส 
ย่อย 
กลูโคส + กลูโคส 
3. แลคโทส (lactose) ไม่พบในพืช จะมีอย่ใูนน้า นม 
ย่อยไดช้า้กว่าซูโครสและมอลโทส 
แลคโทส 
ย่อย 
กลูโคส + กาแลกโทส
โพลีแซคคาไรด์ ( polysaccharide) 
เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ ประกอบดว้ยโมโนแซคคาไรด์ 
จา นวนมากมาต่อกัน 
1. แป้ง (starch) พบในพืช จะสะสมอย่ใูนเมล็ด ราก หัว ลา ตน้ 
เมื่อแป้งถูกย่อยถึงขั้นสุดทา้ยจะไดน้้า ตาลกลูโคส 
2. ไกลโคเจน (glycogen) จะพบไดใ้นสัตว์ แต่ไม่พบในพืช 
เมื่อแตกตัวออกจะไดเ้ป็นกลูโคส
3. เดกซ์ทริน (dextrin) ไดจ้ากการย่อยแป้ง 
แป้ง เดกซ์ทริน มอลโทส กลูโคส 
4. เซลลูโลส (cellulose) หรือเรียกว่า ใยหรือกาก 
คนไม่สามารถย่อยเซลลูโลสได้ แต่จะย่อยไดใ้นสัตว์จา พวกพวก ววั 
ควาย เพราะมีเอมไซด์ในการย่อย เซลลูโลสเมื่อถูกย่อยจะแตกตัวออก 
ใหน้้า ตาลกลูโคส 
คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ใหพ้ลังงาน 4 กิโลแคลอรี
ไขมัน 
หมายถึง สารอินทรีย์กลุ่มหนึ่งซึ่งไม่ละลายน้า ปรากฏอยู่ในรูปของแข็ง 
และของเหลวที่ได้จากพืชและสัตว์
ประเภทของไขมัน 
จา แนกตามโครงสรา้งทางเคมี ไดแ้ก่ 
1. กรดไขมัน (Fatty Acids) แบ่งไดเ้ป็น 2 ชนิด คือ 
- กรดไขมันอิ่มตัว หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนทุกตัวภายในในโมเลกุล 
ไม่สามารถจับกับไฮโดรเจนและสารใด ๆ ไดอี้ ก 
H H 
H 
H C C C 
H 
H 
H 
H
- กรดไขมันไม่อิ่มตัว หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนภายในในโมเลกุล 
สามารถเกาะกับไฮโดรเจนไดอี้ก 
H 
C C C 
H 
H 
H 
H 
H 
H 
2. คอเลสเตอรอล (Cholesterol) ไขมันชนิดหนึ่งที่จา เป็นต่อร่างกาย 
เพื่อใชใ้นการสรา้งฮอร์โมน วิตามินอี ซึ่งช่วยย่อยอาหาร ถ้าร่างกายมี 
คอเลสเตอรอลสูงเกินกว่าปกติ (มากกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร) จะทา ใหเ้กิด 
โรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจวาย จะพบมากในเครื่องในสัตว์และไข่แดง
3. ไตรกลเีซอไรด์(Triglyceride) ไขมันและน้า มันที่มีสารประกอบ 
ของไตรกลีเซอไรด์ซึ่งไดจ้ากกระบวนการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรท 
ค่าไตรกลีเซอไรด์ควรอย่รูะหว่าง 70-200 มิลลิกรัม / เดซิลิตร 
4. ฟอสโฟลิปิด (Phospholipid) เป็นไขมันที่มีคุณสมบัติละลาย 
ไดท้งั้ในน้า และไขมัน
ประเภทของไขมันจา แนกตามความตอ้งการของร่างกาย 
มี 2 ประเภท คือ 
1. กรดไขมันจา เป็นต่อร่างกาย คือ ร่างกายขาดไม่ได้และไม่สามารถ 
สังเคราะห์ได้ ตอ้งไดจ้ากอาหารที่รับประทานเข้าไป มีอยู่ 3 ตวั คือ 
กรดไลโนเลอิก กรดไลโนเลนิก และกรดอะราชิโดนิก 
2. กรดไขมันไม่จา เป็นต่อร่างกาย คือ จะไดจ้ากอาหารและร่างกายก็ 
สามารถสังเคราะห์ข้นึได้เช่น กรดสเตยีริก
ประเภทไขมันจาแนกตามระดับความอิ่ม 
ตวั 
มี 2 ประเภท คือ 
1. กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fatty acid) 
2. กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid ) 
ประเภทไขมันจาแนกตามแหล่งที่ 
มา 
มี 2 กลุ่มใหญ่ คือ 
1. ไขมันจากสัตว์ 
2. ไขมันจากพืช 
ไขมัน 1 กรัม จะใหพ้ลังงาน 
9 กิโลแคลอรี
แร่ธาตุหรือเกลือแร่ 
เป็นสารอาหารที่ร่างกายตอ้งการและขาดไม่ได้ เพราะแร่ธาตุบาง 
ชนิดเป็นส่วนประกอบของอวยัวะและกล้ามเนื้อ เช่น กระดูก ฟัน เลือด และ 
บางชนิดเป็นส่วนของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตในร่างกาย เช่น 
ฮอร์โมน เอนไซม์
วิตามิน 
เป็นสารอินทรีย์ที่มีความจา เป็นต่อร่างกาย แต่จะไม่ใหพ้ลังงาน 
ปริมาณที่ตอ้งการในแต่ละวนัมีน้อย แต่มีคุณสมบัติที่สา คัญ คือ ช่วยให้ 
สารอาหารถูกย่อย ถูกดูดซึม และถูกนา ไปใชใ้นการสรา้งเซลล์
ประเภทของวิตามิน 
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 
1. วิตามินที่ 
ละลายไดใ้นไขมัน ไดแ้ก่ วิตามินเอ ดี อี และเค 
วิตามินเหล่านี้จะถูกดูดซึมเมื่ออยู่ในลา ไสเ้ล็ก ส่วนใหญ่จะไม่ถูกขับออกมาจาก 
ร่างกาย แต่จะถูกเก็บสะสมไวใ้นตับและไขมัน 
2. วิตามินที่ 
ละลายในน้า ไดแ้ก่ วิตามินบี และซี พบไดใ้นเนื้อสัตว์ 
เครื่องในสัตว์ ไข่ นม ผลไม้ และผักใบเขียว
นา้ 
เป็นส่วนประกอบที่สา คัญในเซลล์ ทา หน้าที่รักษาสภาวะแวดล้อม 
ของเซลล์ใหค้งที่ ในร่างกายมีน้า อยู่ประมาณรอ้ยละ 75 หรือ 3 ใน 4 ของ 
น้า หนักตัว ถ้าร่างกายขาดน้า จะมี อาการกระหายน้า อย่างรุนแรง ผิวหนังแหง้ 
โปรตีนในเลือดจะเข้มข้นข้นึ อาจทา ใหห้มดสติหรือช็อกได้ 
• เด็กควรดื่มน้า สะอาดวนัละ 3 – 6 แก้ว 
• ผู้ใหญ่ควรดื่มน้า สะอาดวนัละ 6 – 8 แก้ว
อาหารเพื่อสุขภาพ 
1. รับประทานอาหารเชา้เป็นประจา 
2. เลือกอาหารจากธรรมชาติไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง 
3. เพิ่มผักผลไม้ในมื้ออาหารและรับประทานเป็นประจา เพื่อเพิ่มวิตามิน 
และเกลือแร่ 
4. ลดขนมขบเคี้ยวและขนมอบ เนื่องจากเป็นอาหารที่มี แต่ไขมัน 
เกลือ น้า ตาล และสารปรุงแต่งอื่นๆ ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
5. กินปลาไข่และเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน อาหารเหล่านี้เป็นแหล่งโปรตีนที่ดี 
ช่วยเสริมสรา้งร่างกายและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ 
6. ดื่มเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพแทนน้า หวาน น้า อัดลม หรือเครื่องดื่ม 
แอลกอฮอล์ 
7. ดื่มน้า และนมใหเ้ป็นนิสัย 
• ควรดื่มน้า อย่างน้อยวนัละ 8 แก้ว 
• ควรดื่มนมอย่างน้อยวนัละ 1-2 แก้ว
ยา 
รูปแบบของยา 
สามารถแบ่งออกไดเ้ป็น 4 ประเภท คือ 
1. ประเภทของเหลว 
2. ประเภทของแข็ง 
3. ยาประเภทกึ่ง 
แข็ง 
4. ยารูปแบบอื่น 
ๆ
ประเภทของเหลว มีหลายชนิด ไดแ้ก่ 
1. ยานา้ใส คือ รูปแบบยาที่ละลายอยู่ในน้า โดยปราศจากตะกอน สามารถ 
ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดและออกฤทธิ์ 
ไดเ้ร็ว เช่น น้า เกลือ ยาแก้ไข้ 
ถ้ามีสี กลิ่น เปลี่ยนไป หรือมีการตกผลึกอยู่ที่ก้นขวดควรเลิกใช้ 
เพราะแสดงว่ายานั้นเสื่อมคุณภาพแล้ว 
2. ยานา้แขวนตะกอน จะมีลักษณะขุ่น เมื่อตั้งทิ้งไว้จะตกตะกอน ถ้าตะกอน 
ของยาจับตัวกันแข็ง เขย่าไม่ละลาย แสดงว่ายาเสื่อมคุณภาพแล้ว
3. ยานา้แขวนละออง เป็นยาที่ประกอบดว้ยน้า ยากับน้า มัน ผสมเป็นเนื้อ 
เดียวกัน เช่น น้า มันตับปลา ถ้ายาแยกเป็น 2 ส่วน คือน้า กับน้า มัน เขย่าขวด 
แล้วไม่เข้ากันควรเลิกใช้ 
อม เป็นยาที่มีน้า ตาลซูโครสละลายอยู่ในตัวยา เช่น ยาแก้ไอ 
4. ยาน้าเชื่ 
โดยน้า เชื่อมจะกลบรสขมของยา 
5. ยาสปิริต เป็นยาที่มีแอลกอฮอล์ 60-90 เปอร์เซ็นต์ผสมอยู่กับ 
น้า มันหอมระเหย
6. ยานา้อีลิกเซอร์เป็นยาน้า ที่ใชรั้บประทานมีรสหวาน ผสมแอลกอฮอล์ 
4 -40 เปอร์เซ็นต์ มีแอลกอฮอร์น้อยกว่ายาสปิริต เช่น ยาแก้ไอ 
7. ยาทิงเจอร์ เป็นยาที่มีตัวยาละลายอยู่ในเอธิลแอลกอฮอล์ 
เช่น ทิงเจอร์ไอโอดีน การะบูน 
8. ยาโลชั่น 
เป็นยาประเภทยาน้า แขวนตะกอนเช่นเดียวกัน แต่จะใช้ 
สา หรับภายนอกร่างกาย เช่น ยาทาแก้ผดผื่นคันคาลาไมด์
ประเภทของแข็ง มีหลายชนิด ไดแ้ก่ 
1. ยาเม็ด สามารถแยกได้ 2 พวก คือ 
• ยาเม็ดแบน 
• ยาเม็ดกลม 
2. แคปซูล เป็นยาที่มีตัวยาบรรจุอยู่ในเปลือกหุม้ที่ละลายไดใ้น 20-30 นาที 
เหตุที่ตอ้งบรรจุอยู่ในแคปซูล เพราะตอ้งการให้ตัวยาถูกดูดซึมในลา ไส้ 
เพื่อไม่ใหก้รดในกระเพาะทา ลาย และเพื่อกลบรสยา
3. ยาเหน็บ มักทา เป็นรูปร่างต่าง ๆ เช่น เป็นแท่งยาว รูปไข่ ใช้สอดเข้า 
ทางทวารหนักหรอืช่องคลอด ก่อนใชต้อ้งนา ยาแช่ความเย็นใหแ้ข็งตัว 
เสียก่อน 
4. ยาผง
ยาประเภทกึ่ง 
แข็ง ใชเ้ป็นยาภายนอกป้องกันหรือรักษาโรคผิวหนัง 
เฉพาะที่ ไดแ้ก่ 
1. ขี้ผึ้ง เป็นยาที่ใชส้า หรับทาภายนอก มีลักษณะครึ่งแข็งครึ่งเหลว เช่น 
ยาหม่อง 
2. ครีม มีลักษณะเหมือนยาข้ผี้งึแต่เหลวกว่า เช่น เคาน์เตอร์เพน 
3. ยาเจล เป็นยามีลักษณะคล้ายยาน้า แขวนตะกอนแต่เข้มข้นกว่า
ยารูปแบบอื่น 
ๆ ไดแ้ก่ 
1. ยาสูดดม และพ่นทางปาก จะออกฤทธิ์ 
ผ่านทางเดินหายใจ 
2. ยาทางผิวหนงั ตัวยาจะเข้าส่รู่างกายผ่านผิวหนังและเข้าส่รูะบบ 
หมุนเวียนโลหิต เช่น ยารักษาอาการไข้ชนิดแปะหน้าผาก
ควรทราบเกี่ย 
ข้อมูลที่ 
วกบัการใชย้า 
ชื่อยาแต่ละตัวมี 3 ชื่อ คือ 
อสามัญทางยา (Generic Name) เป็นชื่อที่สา คัญ 
ในทางเภสัช ซึ่งเป็นชื่อที่ยาวมาก นอกจากนี้ยังเป็นชื่อที่ใชกั้นทั่วโลก 
1. ชื่ 
อทางเคมี (Chemical Name) เป็นชื่อที่สามารถ 
แสดงใหเ้ห็นว่ายามีโครงสรา้งอย่างไร ใชเ้ป็นชื่อที่อา้งอิงทางวิทยาศาสตร์ 
2. ชื่ 
อทางการคา้ (Trade Name) ชื่อที่ บริษัทผู้ขายตั้งขึ้นเอง 
เพื่อใหเ้รียกง่าย และใชใ้นการโฆษณา ทา ใหติ้ดปากผู้ใชย้า 
3. ชื่
อันตรายที่ 
เกิดจากการใชย้า 
1. ใชย้าเกินขนาด เป็นอันตรายต่อระบบการทา งานของร่างกายอาจถึงตายได้ 
2. เกิดผลขา้งเคียง เช่น การใชย้าแก้ปวดหรือยานอนหลับบ่อย 
ทา ใหเ้กิดการเสพติด 
3. การแพย้า หมายถึง อาการที่แสดงออกหลังจากไดรั้บยาเข้าไป อาจมี 
ผื่นคันเป็นลมพิษ ปวดเมื่อยตามข้อ หายใจไม่ออก หมดสติหรือตายได้
4. การดื้อยา หมายถึง อาการที่เชื้อโรคสามารถปรับตัวเข้ากับยานนั้ 
จนทา ใหก้ารรักษาไม่ไดผ้ล 
5. ยาหมดอายุและยาเสื่อมคุณภาพ สังเกตไดจ้ากฉลากยา 
• คา ว่า Exp., Exp.Date, Used Before 
แล้วจะต่อดว้ย วนั เดือน ปี ที่ยาหมดอายุ 
• คา ว่า Manufacturing Date หรอื Mfg Date 
แล้วจะต่อดว้ย วนั เดือน ปี ที่ผลิตยา
• ยาเสื่อมคุณภาพ 
ยาน้า ใส ขุ่น มีตะกอน ขึ้นรา 
ยาน้า เชื่อม สี กลิ่น รส เปลี่ยนไปจากเดิม 
ยาน้า เเขวนตะกอน ตะกอนนอนก้นขวด เมื่อเขย่าแล้วไม่กระจายตัว 
ยาเม็ด เม็ดแตก บิ่น ไม่เรียบ สีซีด เป็นจุด 
ยาแคปซูล แคปซูลแตกปริ ชื้น ข้นึรา 
ยาขี้ผึ้ง ยาครีม เนื้อยาเยิ้มเหลว แยกชั้น กลิ่น สีเปลี่ยนจากเดิม
สารเสพติด 
หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ หรือจาก 
การสังเคราะห์ เมื่อเสพเข้าไปไม่ว่าดว้ยวิธีใดๆ ก็ตามจะทา ใหมี้ลักษณะดังนี้ 
1. บุคคลนั้นตอ้งตกอยู่ใตอ้า นาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางดา้นร่างกายและจิตใจ 
2. ตอ้งเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อย ๆ หรือทา ใหสุ้ขภาพของผู้เสพเสื่อม 
โทรมลง 
3. เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ไดเ้สพจะมีอาการผิดปกติทางดา้นร่างกาย 
และจิตใจ
ประเภทของยาเสพติด 
จาแนกตามการออกฤทธิ์ 
ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท 
1. ประเภทกดประสาท ไดแ้ก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ เครื่องดื่ม 
มึนเมาทุกชนิด รวมทงั้สารระเหย เช่น ทินเนอร์แล็กเกอร์ผ้เูสพตดิร่างกาย 
จะซูบ ซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย อารมณ์เปลี่ยนแปลง 
2. ประเภทกระตนุ้ประสาท ไดแ้ก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม ผู้เสพตดิจะมี 
อาการหงุดหงิด กระวนกระวาย บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง หรือทา ในสิ่งที่ 
คนปกติไม่กล้าทา เช่น ทา รา้ยตนเอง หรือฆ่าผู้อื่น
3. ประเภทหลอนประสาท ไดแ้ก่ ยาเค ผ้เูสพตดิจะมีอาการประสาทหลอน 
ฝันเฟื่อง หูแว่ว หรือเห็นภาพหลอน ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต 
4. ประเภทออกฤทธิ์ 
ผสมผสาน คือ ทงั้กระตุน้ กดและหลอนประสาทรวมกนั 
ไดแ้ก่ กัญชา ผ้เูสพตดิมักมีอาการหวาดระแวง เห็นภาพลวงตา 
ควบคุมตนเองไม่ได้
จาแนกตามแหล่งที่ 
เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 
1. ยาเสพติดธรรมชาติ คือ ยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืชบางชนิดโดยตรง 
เช่น กระท่อม กัญชา 
2. ยาเสพติดสงัเคราะห์ คือ ยาเสพติดที่ผลิตขึ้นดว้ยกรรมวิธีทางเคมี 
เช่น เฮโรอีน ยาอี
สาเหตุการติดยาเสพติด 
1. จากความรูเ้ท่าไม่ถึงการณ์ 
• อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้ จึงไปทดลองใช้ จนในที่สุด 
ก็ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น 
• ความคึกคะนอง โดยเฉพาะวยัรุ่นอยากใหเ้พื่อนฝูงยอมรับว่า 
ตนเองเก่ง โดยมิไดค้า นึงถึงผลเสียหายหรืออันตรายที่จะเกิดข้นึ 
• การชักชวนของคนอื่น อาจเกิดจากการเชื่อตามคา ชักชวนโฆษณา 
ของผู้ขายสิ่งเสพย์ติด หรือเชื่อเพื่อน
2. จากการถูกหลอกลวง 
ปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินคา้ประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่ม ใชส้าร 
เสพย์ติดผสมลงในสินคา้ เพื่อใหผู้้ซื้อสินคา้ไปรับประทานเกิดการติด อยาก 
มาซื้ออีก กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อมีอาการเสพย์ติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง 
3. สาเหตุที่ 
เกิดจากความเจ็บป่ วย 
การเจ็บป่วยทางกาย คนที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายรับประทานยา 
ทีมีฤทธิ์ 
ระงับอาการเจ็บปวด เมื่อฤทธิ์ 
ยาหมดไปก็จะกลับไปเจ็บปวดเหมือนเดิม 
ผู้ป่วยก็จะใชย้านั้นอีก เมื่อทา เช่นนี้ไปนาน ๆ จะเกิดการติดยานั้น
การเจ็บป่วยทางจิต ผู้ป่วยทางจิตจะพยายามหายา หรือสิ่งเสพย์ติดมา 
คลายความเครียดทางจิตได้ชั่วขณะมารับประทาน เมื่อยาหมดฤทธิ์ 
จิตใจก็จะกลับ 
เครียดอีก และผู้ป่วยจะเสพสิ่งเสพติดไปเรื่อยๆ จนทา ใหติ้ดยาเสพย์ติดในที่สุด 
4. การปฏิบตัิไม่ถูกตอ้งในการใช้ยา 
การไปซื้อยามารับประทานเอง บางครงั้อาจมีอาการถึงตาย 
หรือบางครงั้ทา ใหเ้กิดการเสพติดยานนั้ได้
5. สาเหตุอื่น 
ๆ 
• การอย่ใูกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต 
• การอยู่ใกล้ชิดกับผู้ติดสิ่งเสพย์ติด อาจไดรั้บคา แนะนา หรือชักชวน 
• สภาพแวดล้อมทางสังคม บางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น 
ว่างงาน หรือมีหนี้สินมาก เมื่อแก้ปัญหาไม่ได้ ก็หันไปใชสิ้่งเสพย์ติด 
• การเลียนแบบ การที่ไปเห็นผู้ที่ตนสนิทรักใคร่ เสพสิ่งเสพย์ติด 
จึงเห็นว่าเป็นสิ่งน่าลอง 
• การประชดชีวิต
การป้องกนัยาเสพติด 
การป้องกนัตนเอง ควรปฏิบัติตนดังนี้ 
1. ศึกษาหาความรู้ เพื่อใหรู้ถึ้งโทษของยาเสพย์ติด 
2. ไม่ทดลองใชย้าเสพย์ติดทุกชนิด และปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน 
3. ระมัดระวงัเรื่องการใชย้า เพราะยาบางชนิดอาจทา ใหเ้สพติดได้ 
4. เลือกคบเพื่อนดี ที่ชักชวนกันไปในทางสรา้งสรรค์ 
5. เมื่อมีปัญหาชีวิต ควรหาหนทางแก้ไขที่ไม่ข้องเกี่ยวกับยาเสพตดิ 
หากแก้ไขไม่ไดค้วรปรึกษาผ้ใูหญ่
การป้องกนัครอบครวั ควรปฏิบัติดังนี้ 
1. สรา้งความอบอ่นุภายในครอบครัว 
2. รูแ้ละปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง 
3. ดูแลสมาชิกในครอบครัว ไม่ใหข้้องเกี่ยวกับยาเสพย์ติด 
4. ใหก้า ลังใจและหาทางแก้ไข หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวตดิยาเสพย์ติด 
ไม่ควรซา้ เตมิกัน
สมุนไพร 
สมุนไพร หมายถึง ผลผลิตจากธรรมชาติที่ไดจ้ากพืช สัตว์ แร่ธาตุ 
ซึ่งใชเ้ป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตา รับยาเพื่อบา บัดโรค และบา รุงร่างกาย 
ยาสมุนไพร หมายถึง ยาที่ไดจ้ากพืช สัตว์ แร่ธาตุที่ยังไม่ไดผ้สม 
ปรุงแต่ง หรือแปรสภาพ
รสของสมุนไพรไทย 
1. รสฝาด ใชส้มานแผล แก้ทอ้งเสีย ชะล้างบาดแผล 
2. รสหวาน ทา ใหร้่างกายชุ่มชื่น บา รุงกา ลัง แก้อ่อนเพลีย ทา ใหช้่มุคอ แก้ไอ 
3. รสเมาเบื่อ 
แก้พิษ แก้สัตว์กัดต่อย ขับพยาธิ แก้โรคผิวหนัง 
4. รสขม แก้ไข้ เจ็บคอ รอ้นใน กระหายน้า และช่วยเจริญอาหาร 
5. รสเผ็ดรอ้น แก้ลม บา รุงธาตุ ขับลมในกระเพาะอาหารและลา ไส้ 
ช่วยย่อยอาหาร
6. รสมัน แก้เสน้เอ็น บา รุงเสน้เอ็น แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย 
7. รสหอมเย็น ทา ใหชื้่นใจ บา รุงหัวใจ ชูกา ลัง แก้อ่อนเพลีย 
แก้รอ้นในกระหายน้า 
8. รสเค็ม รักษาโรคผิวหนัง แก้ลมพิษ 
9. รสเปรี้ยว กัดเสมหะ แก้ไอ แก้เลือดออกตามไรฟัน ฟอกโลหิตทา ให้ 
โลหิตไหลเวียนดีข้นึ
พืชสมุนไพรเพื่อรกัษากลุ่มโรค 
การจัดพืชสมุนไพรเพื่อรักษากลุ่มโรค แบ่งไดดั้งนี้ 
1. กลุ่มโรคระบบทางเดินอาหาร 
2. กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ 
3. กลุ่มโรคระบบทางเดินปัสสาวะ 
4. กลุ่มโรคผิวหนัง 
5. กลุ่มโรคอื่น ๆ
กล่มุโรคระบบทางเดินอาหาร 
สมุนไพรที่ใชเ้ป็นยาระบาย ยาถ่าย ไดแ้ก่ ผักตบชวา หญ้าแพรก 
ว่านหางจระเข้ มะเฟือง 
กล่มุโรคระบบทางเดินหายใจ 
สมุนไพรที่ออกฤทธิ์ 
ต่อระบบทางเดินหายใจ ไดแ้ก่ ข้าวฟ่าง 
ออ้ย ไมยราบ
กล่มุโรคระบบทางเดินปัสสาวะ 
สมุนไพรที่ออกฤทธิ์ 
ต่อระบบทางเดินปัสสาวะ ไดแ้ก่ ข้าวโพด 
ผักกาดหัว 
กล่มุโรคผิวหนงั 
สมุนไพรทีออกฤทธิ์ 
ต่อผิวหนัง ไดแ้ก่ มะละกอ มะยม 
มะม่วงหิมพานต์ 
กลุ่มโรคอื่น 
ๆ 
สมุนไพรที่ออกฤทธิ์ 
ต่อระบบการไหลเวียนโลหิต ไดแ้ก่ มะลิ 
กระดังงาไทย หนาด ข้าวโพด
ขอ้ควรปฏิบตัิในการใชส้มุนไพร 
1. ใชใ้ห้ถูกตน้ เนื่องจากสมุนไพรแต่ละชนิดอาจมีชื่อเรียกต่างกันในแต่ละทอ้งถิ่น 
2. ใชใ้ห้ถูกสดัส่วน หมายถึง ใชส้มุนไพรอย่างเหมาะสมเพราะสมุนไพรแต่ละชนิด 
จะมีฤทธิ์ 
ไม่เท่ากัน 
3. ใชใ้ห้ถูกขนาด หมายถึง ใชป้ริมาณของสมุนไพอย่างถูกตอ้ง เพราะสมุนไพร 
บางชนิดถ้าใชใ้นปริมาณมากหรือน้อยเกินไปอาจจะไม่ไดผ้ล 
4. ใชใ้ห้ถูกวิธี ควรจะตอ้งศึกษาถึงวิธีการใชส้มุนไพรแต่ละชนิด เพราะบางชนิด 
อาจใชแ้บบสด แบบแหง้ แบบตม้ หรือตอ้งบดใหล้ะเอียด 
5. ใชใ้ห้ถูกกบัโรค หมายถึง จะตอ้งใชส้มุนไพรใหต้รงกับโรค เช่น 
ถ้ามีอาการทอ้งผูกจะต้องใชย้าระบาย
การคุ้มครองผูบ้ริโภค 
หมายถึง การป้องกัน ระวงั ดูแล ไม่ใหผู้้ที่ซื้อสินคา้มาบริโภคหรอื 
ใชส้อยเกิดภัยอันตราย บาดเจ็บ หรือเกิดความเสียหาย 
รัฐบาลไดก้า หนดใหว้นัที่ 30 เมษายนของทุกปีเป็น วนัคุม้ครอง 
ผูบ้ริโภค โดยมีจุดประสงค์ดังนี้ 
1. เพื่อคุม้ครองผู้บริโภคไม่ใหเ้สียเปรียบผู้ผลิต 
2. เพื่อคุม้ครองผู้บริโภคไม่ใหต้กเป็นเหยื่อของการโฆษณา 
3. เพื่อควบคุมสินคา้ที่ไม่ไดม้าตรฐาน ไม่ปลอดภัย หรือเป็นอันตราย 
4. เพื่อใหเ้กิดความเป็นธรรมระหว่างผู้ซื้อ และผู้ขาย
วิธีการพิจารณาในการเลือกซื้อสินคา้ 
1. ความจา เป็น ประโยชน์ในการใชส้อย 
2. มาตรฐาน คุณภาพของสินคา้ เช่น มี อย. มอก. 
3. ปริมาณของสินคา้เมื่อเทียบกับสินคา้ชนิดเดียวกัน 
4. ราคาสินคา้ต่อหน่วย 
5. ระยะเวลาในการการรับประกันสินคา้
6. อายุการใชง้าน 
7. อะไหล่ วสัดุที่ใชซ้่อมแซม 
8. ภาชนะ หีบห่อ 
9. วนั เดือน ปี ที่ผลิตและวนัหมดอายุ 
10. บริการหลังการขาย
พระราชบญัญตัิวิธีพิจารณาคดี ผูบ้ริโภค พ.ศ. 2551 
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี ผ้บูริโภค พ.ศ.2551 หรือศาลผ้บูริโภค 
มีอย่ทูุกจังหวดั กฎหมายฉบับนี้มีประโยชน์กับผู้บริโภค ดังนี้ 
1. ผู้บริโภคที่ไดรั้บความเสียหายจากสินคา้หรือบริการใดก็ตาม สามารถไป 
ฟ้องศาลผ้บูริโภคไดด้ว้ยวาจา โดยไม่ตอ้งจ่ายเงินจา้งทนายความ แต่จะมี 
เจา้พนักงานคดีของศาลเป็นผู้ช่วยเขียนเรียบเรียงคา ฟ้องให้ 
2. ผู้บริโภคจะไดรั้บการยกเวน้ไม่ตอ้งเสียค่าธรรมเนียมศาล ยกเว้นผู้บริโภค 
ฟ้องโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือเรียกค่าเสียหายเกินสมควร ศาลอาจมีคา สั่ง 
ใหบุ้คคลนนั้ ชา ระค่าธรรมเนียมได้
3. อายุความในการฟ้องรอ้งในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้น สามารถใชสิ้ทธิ 
เรียกรอ้งไดภ้ายใน 3 ปี นับแต่วนัที่รูถึ้งความเสียหาย และรู้ตัวผ้ปูระกอบธุรกิจ 
ที่ตอ้งรับผิดชอบ แต่ไม่เกิน 10 ปี 
4. หากผู้ประกอบธุรกิจจะฟ้องผู้บริโภคบ้าง ตอ้งฟ้องที่ศาลผู้บริโภคที่ผ้บูริโภค 
มีภูมิลาเนาอยู่ 
5. ถ้าผู้บริโภคจะฟ้องผู้ประกอบการธุรกิจที่มีสา นักงานใหญ่อยู่กรุงเทพ 
แต่มีตัวแทนจา หน่ายอยู่ในจังหวดัที่ผู้บริโภคอยู่ ผู้บริโภคสามารถฟ้อง 
ต่อศาลจังหวดัที่ผู้บริโภคมีภูมิลา เนาอยู่ไดเ้ลย ทา ใหล้ดภาระค่าใชจ้่ายใน 
การเดินทาง
สิทธิของผูบ้ริโภค 
1. มีสิทธิที่จะรับรูข้้อมูลของสินคา้หรือบริการตามความเป็นจริงและเพียงพอ 
แก่การตัดสินใจ 
2. มีสิทธิที่จะเลือกใชห้รือไม่ใชสิ้นคา้หรือบริการใด ๆ โดยไม่มีการผูกขาด 
3. มีสิทธิไดรั้บความยุติธรรมในการทา สัญญาต่าง ๆ 
4. มีสิทธิไดรั้บความปลอดภัยจากการใชสิ้นคา้หรือบริการ 
5. มีสิทธิที่จะไดรั้บการพิจารณาและชดเชยความเสียหายเมื่อถูกละเมิดสิทธิ

More Related Content

What's hot

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
Pha C
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
kasocute
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
Pha C
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
Wichai Likitponrak
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
Mutita Eamtip
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
tumetr
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
Nattaka_Su
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหาร
kasocute
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานAobinta In
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
chalunthorn teeyamaneerat
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (19)

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
CVD Brochure
CVD BrochureCVD Brochure
CVD Brochure
 
Food&life
Food&lifeFood&life
Food&life
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหาร
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
 

Viewers also liked

Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapterPocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
McGraw-Hill Education ANZ- Medical
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
Aphisit Aunbusdumberdor
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
พัน พัน
 
Managing sports injuries
Managing sports injuriesManaging sports injuries
Managing sports injuriesnatjkeen
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
bioDensity Overview
bioDensity OverviewbioDensity Overview
bioDensity Overview
Greg Maurer
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
Green Greenz
 
Sport injury handbook
Sport injury handbookSport injury handbook
Sport injury handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
Utai Sukviwatsirikul
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุง
Utai Sukviwatsirikul
 
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communicationการสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
Utai Sukviwatsirikul
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
Green Greenz
 
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
Utai Sukviwatsirikul
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
Green Greenz
 
Upper limb (week 2 3)
Upper limb (week 2   3)Upper limb (week 2   3)
Upper limb (week 2 3)Leesah Mapa
 
Sports Performance
Sports PerformanceSports Performance
Sports Performancenatjkeen
 

Viewers also liked (20)

Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapterPocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
 
1. a&p skeletal 1
1. a&p skeletal 11. a&p skeletal 1
1. a&p skeletal 1
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
Lesson 2 joints
Lesson 2   jointsLesson 2   joints
Lesson 2 joints
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Managing sports injuries
Managing sports injuriesManaging sports injuries
Managing sports injuries
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
bioDensity Overview
bioDensity OverviewbioDensity Overview
bioDensity Overview
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
Sport injury handbook
Sport injury handbookSport injury handbook
Sport injury handbook
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุง
 
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communicationการสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
Upper limb (week 2 3)
Upper limb (week 2   3)Upper limb (week 2   3)
Upper limb (week 2 3)
 
Sports Performance
Sports PerformanceSports Performance
Sports Performance
 

Similar to บทที่ 3

บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
jatupron2
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
onginzone
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
anutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
anutidabulakorn
 
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...Janejira Meezong
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
Tawadchai Wong-anan
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
4LIFEYES
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 

Similar to บทที่ 3 (20)

บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
อาหารกับการดำรงชีวิต สำหรับนักเรียนม.2/5ที่ไม่ได้มานะคะ คนอื่นสามารถใช้ทบทวนไ...
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

บทที่ 3

  • 2. โภชนาการ กับชีวิต วิทยาศาสตร์กับ ชีวิตประจาวัน ยา การคุ้มครอง ผู้บริโภค สมุนไพร สารเสพติด
  • 3. โภชนาการกบัชีวิต อาหาร หมายถึง ของกินหรือเครื่องค้าจุนชีวิต ไม่รวมยา วัตถุออกฤทธิ์ ต่อจิตประสาท สารเสพตดิใหโ้ทษ เมื่อบริโภคเข้าไปแล้วใหป้ระโยชน์แก่ร่างกาย ทา ใหร้่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ให้พลังงาน โดยไม่มีพิษภัยหรือใหโ้ทษ แก่ร่างกาย สารอาหาร หมายถึง สารเคมีที่ประกอบอยู่ในอาหารให้คุณค่าต่อร่างกาย โภชนาการ หมายถึง วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของอาหาร ที่เข้าไปในร่างกาย
  • 4. อาหารหลกั 5 หมู่ คือ การจัดอาหารทุกชนิดที่คนไทยบริโภคเป็นประจา ออกเป็นหมวดหมู่ หมู่ที่ 1 ใหส้ารอาหารจา พวกโปรตีน ไดแ้ก่ เนื้อ นม ไข่ ถั่วเมล็ดแหง้ หมู่ที่ 2 ใหส้ารอาหารจา พวกคาร์โบไฮเดรต ไดแ้ก่ ข้าว แป้ง น้า ตาล เผือก มัน เป็นพลังงานส่วนใหญ่ของร่างกาย
  • 5. หมู่ที่ 3 ผักชนิดต่าง ๆ หมู่ที่ 4 ผลไม้ทุกชนิด หมู่ที่ 5 ไขมัน น้า มันที่ได้จากพืช และสัตว์ ควรบริโภคในปริมาณน้อย เนื่องจากในแต่ละวนัร่างกายไดรั้บมากอย่แูล้ว เพราะไขมันแทรกอยู่ใน เนื้อสัตว์แทบทุกชนิดที่บริโภค ถ้าบริโภคมากทา ใหเ้กิดโรคอว้น โรคความดัน โลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือด
  • 7. ประเภทของสารอาหาร แบ่งตามองค์ประกอบทางเคมีในอาหารได้6 ประเภท คือ เป็นสารอินทรีย์ประกอบดว้ย C, H, O, N พบได้ในสิ่งมีชีวิต ทุกชนิด หน่วยย่อยที่เล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน เรียงต่อกันดว้ยพันธะ “เปปไทด์ ” โปรตีน
  • 8. ในร่างกายประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิด แบ่งเป็น 2 พวก คือ 1. กรดอะมิโนจา เป็น ไดแ้ก่ กรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์เองไม่ได้ หรอืสังเคราะห์ไดแ้ต่ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ตอ้งไดรั้บจากอาหาร เท่านนั้ *** ในเด็กมีเพิ่มอีก 2 ตัว คือ Histidine และ Arginine 2. กรดอะมิโนไม่จา เป็น ไดแ้ก่ กรดอะมิโนที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้นไดเ้พียงพอ กับความตอ้งการของร่างกาย ไม่จา เป็นตอ้งไดรั้บจากอาหาร เช่น Alanine, Glutamine, Aspartic Acid
  • 9. ประเภทของโปรตีน การแบ่งประเภทโปรตีนตามหน้าที่ 1. Transport protein ทา หน้าที่ขนส่ง เช่น ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง 2. Enzyme ทา หน้าที่เป็นเอนไซม์ เกี่ยวกับปฏิกิริยาต่าง ๆในร่างกาย 3. Structural protein เป็นโครงสรา้ง เช่น คอลลาเจนของเนื้อเยื่อ
  • 10. 4. Storage protein ทา หน้าที่ในการสะสมสารต่าง ๆ ในร่างกาย 5. Contractile protein ทา หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว 6. Protective protein ทา หน้าทปี้องกัน เป็นภูมิคุม้กันโรคให้ กับร่างกาย 7. Toxin ทา หน้าที่ เป็นสารพิษ
  • 11. การแบ่งประเภทโปรตีนตามหลกัชีวเคมี 1. Simple protein เป็นกรดอะมิโนอย่างเดียว ไม่มีสารอื่นเจือปนอยู่ 2. Compound protein ประกอบไปดว้ยกรดอะมิโนและสารอื่น เจือปนอย่ดูว้ย • Lipoprotein เป็นโปรตีนที่มีไขมันรวมอยู่ดว้ย • Nucleoprotein เป็นโปรตีนที่ ประกอบดว้ยกรดนิวคลีอิก พบตามต่อมต่าง ๆ • Glucoprotein เป็นโปรตีนที่ประกอบดว้ยคาร์โบไฮเดรต • Phosphoprotein เป็นโปรตีนที่มีฟอสฟอรัสปนอย่ดู้วย
  • 12. การแบ่งประเภทโปรตีนตามหลกัโภชนวิทยา 1. Complete protein โปรตีนที่มีกรดอะมิโนชนิดที่จา เป็น ต่อร่างกายครบทุกตัว ส่วนใหญ่จะไดรั้บจากสัตว์ 2. Incomplete Protein โปรตีนที่มีกรดอะมิโนชนิดที่จา เป็นต่อ ร่างกายไม่ครบทุกตัว ส่วนใหญ่จะไดรั้บจากพืช
  • 13. การแบ่งประเภทโปรตีนตามลกัษณะของการขดและเรียงตวัของโปรตีน 1. Fibrous protein ลักษณะเป็นเสน้ มีความแข็งแรง เหนียว ยืดหย่นุไดม้าก เช่น โปรตีนในเสน้ผม โปรตีนของเสน้เอ็น
  • 14. 2. Globular protein ลักษณะเป็นก้อน ขดตัวกัน เช่น ฮีโมโกลบิน เอนไซม์ ฮอร์โมน *** ปริมาณโปรตีน จะใชก้ารคา นวณจากน้า หนักตัว ประมาณ 1-1.5 กรัม / น้า หนักตัว 1 กิโลกรัม โปรตีน 1 กรัม จะใหพ้ลังงาน 4 กิโลแคลอรี
  • 15. คาร์โบไฮเดรต พบมากใน ข้าว แป้ง น้า ตาล เผือก มัน และพืชผักผลไม้ที่มีรสหวาน เป็นแหล่งพลังงานสา หรับมนุษย์และสัตว์ ประเภทของคาร์โบไฮเดรต 1. โมโนแซคคาไรด์ (Monosaccharide) 2. ไดแซคคาไรด์ ( Disaccharide) 3. โพลีแซคคาไรด์ (polysaccharide)
  • 16. โมโนแซคคาไรด์ (Monosaccharide) เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กที่สุด ประกอบดว้ยคาร์บอน 3-8 อะตอม กินแล้วจะดูดซึมจากลา ไสไ้ดเ้ลย ไม่ตอ้งผ่านการย่อย มี 3 ชนิด คือ 1. กลูโคส (glucose) พบใน พืช ผัก และผลไม้ 2. ฟรุกโทส (fructose) พบในเกสรดอกไม้ 3. กาแลกโทส (galactose) มีอยู่ในนม และผลผลิตของนม ทั่ว ๆ ไป
  • 17. ไดแซคคาไรด์ ( Disaccharide) เป็นคาร์โบไฮเดรตที่ประกอบดว้ยโมโนแซคคาไรด์2 ตัวมารวมกัน เมื่อกินเข้าไป น้า ย่อยในลา ไสเ้ล็กจะย่อยออกมาเป็นโมโนแซคคาไรด์ก่อน ร่างกายจึงสามารถ นา ไปใชป้ระโยชน์ได้ ไดแ้ก่ 1. ซูโครสหรือน้า ตาลทราย (sucrose) ย่อย ซูโครส กลูโคส + ฟรุกโทส
  • 18. 2. มอลโทส (moltose) มอลโทส ย่อย กลูโคส + กลูโคส 3. แลคโทส (lactose) ไม่พบในพืช จะมีอย่ใูนน้า นม ย่อยไดช้า้กว่าซูโครสและมอลโทส แลคโทส ย่อย กลูโคส + กาแลกโทส
  • 19. โพลีแซคคาไรด์ ( polysaccharide) เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ ประกอบดว้ยโมโนแซคคาไรด์ จา นวนมากมาต่อกัน 1. แป้ง (starch) พบในพืช จะสะสมอย่ใูนเมล็ด ราก หัว ลา ตน้ เมื่อแป้งถูกย่อยถึงขั้นสุดทา้ยจะไดน้้า ตาลกลูโคส 2. ไกลโคเจน (glycogen) จะพบไดใ้นสัตว์ แต่ไม่พบในพืช เมื่อแตกตัวออกจะไดเ้ป็นกลูโคส
  • 20. 3. เดกซ์ทริน (dextrin) ไดจ้ากการย่อยแป้ง แป้ง เดกซ์ทริน มอลโทส กลูโคส 4. เซลลูโลส (cellulose) หรือเรียกว่า ใยหรือกาก คนไม่สามารถย่อยเซลลูโลสได้ แต่จะย่อยไดใ้นสัตว์จา พวกพวก ววั ควาย เพราะมีเอมไซด์ในการย่อย เซลลูโลสเมื่อถูกย่อยจะแตกตัวออก ใหน้้า ตาลกลูโคส คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ใหพ้ลังงาน 4 กิโลแคลอรี
  • 21. ไขมัน หมายถึง สารอินทรีย์กลุ่มหนึ่งซึ่งไม่ละลายน้า ปรากฏอยู่ในรูปของแข็ง และของเหลวที่ได้จากพืชและสัตว์
  • 22. ประเภทของไขมัน จา แนกตามโครงสรา้งทางเคมี ไดแ้ก่ 1. กรดไขมัน (Fatty Acids) แบ่งไดเ้ป็น 2 ชนิด คือ - กรดไขมันอิ่มตัว หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนทุกตัวภายในในโมเลกุล ไม่สามารถจับกับไฮโดรเจนและสารใด ๆ ไดอี้ ก H H H H C C C H H H H
  • 23. - กรดไขมันไม่อิ่มตัว หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนภายในในโมเลกุล สามารถเกาะกับไฮโดรเจนไดอี้ก H C C C H H H H H H 2. คอเลสเตอรอล (Cholesterol) ไขมันชนิดหนึ่งที่จา เป็นต่อร่างกาย เพื่อใชใ้นการสรา้งฮอร์โมน วิตามินอี ซึ่งช่วยย่อยอาหาร ถ้าร่างกายมี คอเลสเตอรอลสูงเกินกว่าปกติ (มากกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร) จะทา ใหเ้กิด โรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจวาย จะพบมากในเครื่องในสัตว์และไข่แดง
  • 24. 3. ไตรกลเีซอไรด์(Triglyceride) ไขมันและน้า มันที่มีสารประกอบ ของไตรกลีเซอไรด์ซึ่งไดจ้ากกระบวนการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรท ค่าไตรกลีเซอไรด์ควรอย่รูะหว่าง 70-200 มิลลิกรัม / เดซิลิตร 4. ฟอสโฟลิปิด (Phospholipid) เป็นไขมันที่มีคุณสมบัติละลาย ไดท้งั้ในน้า และไขมัน
  • 25. ประเภทของไขมันจา แนกตามความตอ้งการของร่างกาย มี 2 ประเภท คือ 1. กรดไขมันจา เป็นต่อร่างกาย คือ ร่างกายขาดไม่ได้และไม่สามารถ สังเคราะห์ได้ ตอ้งไดจ้ากอาหารที่รับประทานเข้าไป มีอยู่ 3 ตวั คือ กรดไลโนเลอิก กรดไลโนเลนิก และกรดอะราชิโดนิก 2. กรดไขมันไม่จา เป็นต่อร่างกาย คือ จะไดจ้ากอาหารและร่างกายก็ สามารถสังเคราะห์ข้นึได้เช่น กรดสเตยีริก
  • 26. ประเภทไขมันจาแนกตามระดับความอิ่ม ตวั มี 2 ประเภท คือ 1. กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fatty acid) 2. กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid ) ประเภทไขมันจาแนกตามแหล่งที่ มา มี 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. ไขมันจากสัตว์ 2. ไขมันจากพืช ไขมัน 1 กรัม จะใหพ้ลังงาน 9 กิโลแคลอรี
  • 27. แร่ธาตุหรือเกลือแร่ เป็นสารอาหารที่ร่างกายตอ้งการและขาดไม่ได้ เพราะแร่ธาตุบาง ชนิดเป็นส่วนประกอบของอวยัวะและกล้ามเนื้อ เช่น กระดูก ฟัน เลือด และ บางชนิดเป็นส่วนของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์
  • 28. วิตามิน เป็นสารอินทรีย์ที่มีความจา เป็นต่อร่างกาย แต่จะไม่ใหพ้ลังงาน ปริมาณที่ตอ้งการในแต่ละวนัมีน้อย แต่มีคุณสมบัติที่สา คัญ คือ ช่วยให้ สารอาหารถูกย่อย ถูกดูดซึม และถูกนา ไปใชใ้นการสรา้งเซลล์
  • 29. ประเภทของวิตามิน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. วิตามินที่ ละลายไดใ้นไขมัน ไดแ้ก่ วิตามินเอ ดี อี และเค วิตามินเหล่านี้จะถูกดูดซึมเมื่ออยู่ในลา ไสเ้ล็ก ส่วนใหญ่จะไม่ถูกขับออกมาจาก ร่างกาย แต่จะถูกเก็บสะสมไวใ้นตับและไขมัน 2. วิตามินที่ ละลายในน้า ไดแ้ก่ วิตามินบี และซี พบไดใ้นเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ ไข่ นม ผลไม้ และผักใบเขียว
  • 30. นา้ เป็นส่วนประกอบที่สา คัญในเซลล์ ทา หน้าที่รักษาสภาวะแวดล้อม ของเซลล์ใหค้งที่ ในร่างกายมีน้า อยู่ประมาณรอ้ยละ 75 หรือ 3 ใน 4 ของ น้า หนักตัว ถ้าร่างกายขาดน้า จะมี อาการกระหายน้า อย่างรุนแรง ผิวหนังแหง้ โปรตีนในเลือดจะเข้มข้นข้นึ อาจทา ใหห้มดสติหรือช็อกได้ • เด็กควรดื่มน้า สะอาดวนัละ 3 – 6 แก้ว • ผู้ใหญ่ควรดื่มน้า สะอาดวนัละ 6 – 8 แก้ว
  • 31. อาหารเพื่อสุขภาพ 1. รับประทานอาหารเชา้เป็นประจา 2. เลือกอาหารจากธรรมชาติไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง 3. เพิ่มผักผลไม้ในมื้ออาหารและรับประทานเป็นประจา เพื่อเพิ่มวิตามิน และเกลือแร่ 4. ลดขนมขบเคี้ยวและขนมอบ เนื่องจากเป็นอาหารที่มี แต่ไขมัน เกลือ น้า ตาล และสารปรุงแต่งอื่นๆ ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
  • 32. 5. กินปลาไข่และเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน อาหารเหล่านี้เป็นแหล่งโปรตีนที่ดี ช่วยเสริมสรา้งร่างกายและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ 6. ดื่มเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพแทนน้า หวาน น้า อัดลม หรือเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 7. ดื่มน้า และนมใหเ้ป็นนิสัย • ควรดื่มน้า อย่างน้อยวนัละ 8 แก้ว • ควรดื่มนมอย่างน้อยวนัละ 1-2 แก้ว
  • 33. ยา รูปแบบของยา สามารถแบ่งออกไดเ้ป็น 4 ประเภท คือ 1. ประเภทของเหลว 2. ประเภทของแข็ง 3. ยาประเภทกึ่ง แข็ง 4. ยารูปแบบอื่น ๆ
  • 34. ประเภทของเหลว มีหลายชนิด ไดแ้ก่ 1. ยานา้ใส คือ รูปแบบยาที่ละลายอยู่ในน้า โดยปราศจากตะกอน สามารถ ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดและออกฤทธิ์ ไดเ้ร็ว เช่น น้า เกลือ ยาแก้ไข้ ถ้ามีสี กลิ่น เปลี่ยนไป หรือมีการตกผลึกอยู่ที่ก้นขวดควรเลิกใช้ เพราะแสดงว่ายานั้นเสื่อมคุณภาพแล้ว 2. ยานา้แขวนตะกอน จะมีลักษณะขุ่น เมื่อตั้งทิ้งไว้จะตกตะกอน ถ้าตะกอน ของยาจับตัวกันแข็ง เขย่าไม่ละลาย แสดงว่ายาเสื่อมคุณภาพแล้ว
  • 35. 3. ยานา้แขวนละออง เป็นยาที่ประกอบดว้ยน้า ยากับน้า มัน ผสมเป็นเนื้อ เดียวกัน เช่น น้า มันตับปลา ถ้ายาแยกเป็น 2 ส่วน คือน้า กับน้า มัน เขย่าขวด แล้วไม่เข้ากันควรเลิกใช้ อม เป็นยาที่มีน้า ตาลซูโครสละลายอยู่ในตัวยา เช่น ยาแก้ไอ 4. ยาน้าเชื่ โดยน้า เชื่อมจะกลบรสขมของยา 5. ยาสปิริต เป็นยาที่มีแอลกอฮอล์ 60-90 เปอร์เซ็นต์ผสมอยู่กับ น้า มันหอมระเหย
  • 36. 6. ยานา้อีลิกเซอร์เป็นยาน้า ที่ใชรั้บประทานมีรสหวาน ผสมแอลกอฮอล์ 4 -40 เปอร์เซ็นต์ มีแอลกอฮอร์น้อยกว่ายาสปิริต เช่น ยาแก้ไอ 7. ยาทิงเจอร์ เป็นยาที่มีตัวยาละลายอยู่ในเอธิลแอลกอฮอล์ เช่น ทิงเจอร์ไอโอดีน การะบูน 8. ยาโลชั่น เป็นยาประเภทยาน้า แขวนตะกอนเช่นเดียวกัน แต่จะใช้ สา หรับภายนอกร่างกาย เช่น ยาทาแก้ผดผื่นคันคาลาไมด์
  • 37. ประเภทของแข็ง มีหลายชนิด ไดแ้ก่ 1. ยาเม็ด สามารถแยกได้ 2 พวก คือ • ยาเม็ดแบน • ยาเม็ดกลม 2. แคปซูล เป็นยาที่มีตัวยาบรรจุอยู่ในเปลือกหุม้ที่ละลายไดใ้น 20-30 นาที เหตุที่ตอ้งบรรจุอยู่ในแคปซูล เพราะตอ้งการให้ตัวยาถูกดูดซึมในลา ไส้ เพื่อไม่ใหก้รดในกระเพาะทา ลาย และเพื่อกลบรสยา
  • 38. 3. ยาเหน็บ มักทา เป็นรูปร่างต่าง ๆ เช่น เป็นแท่งยาว รูปไข่ ใช้สอดเข้า ทางทวารหนักหรอืช่องคลอด ก่อนใชต้อ้งนา ยาแช่ความเย็นใหแ้ข็งตัว เสียก่อน 4. ยาผง
  • 39. ยาประเภทกึ่ง แข็ง ใชเ้ป็นยาภายนอกป้องกันหรือรักษาโรคผิวหนัง เฉพาะที่ ไดแ้ก่ 1. ขี้ผึ้ง เป็นยาที่ใชส้า หรับทาภายนอก มีลักษณะครึ่งแข็งครึ่งเหลว เช่น ยาหม่อง 2. ครีม มีลักษณะเหมือนยาข้ผี้งึแต่เหลวกว่า เช่น เคาน์เตอร์เพน 3. ยาเจล เป็นยามีลักษณะคล้ายยาน้า แขวนตะกอนแต่เข้มข้นกว่า
  • 40. ยารูปแบบอื่น ๆ ไดแ้ก่ 1. ยาสูดดม และพ่นทางปาก จะออกฤทธิ์ ผ่านทางเดินหายใจ 2. ยาทางผิวหนงั ตัวยาจะเข้าส่รู่างกายผ่านผิวหนังและเข้าส่รูะบบ หมุนเวียนโลหิต เช่น ยารักษาอาการไข้ชนิดแปะหน้าผาก
  • 41. ควรทราบเกี่ย ข้อมูลที่ วกบัการใชย้า ชื่อยาแต่ละตัวมี 3 ชื่อ คือ อสามัญทางยา (Generic Name) เป็นชื่อที่สา คัญ ในทางเภสัช ซึ่งเป็นชื่อที่ยาวมาก นอกจากนี้ยังเป็นชื่อที่ใชกั้นทั่วโลก 1. ชื่ อทางเคมี (Chemical Name) เป็นชื่อที่สามารถ แสดงใหเ้ห็นว่ายามีโครงสรา้งอย่างไร ใชเ้ป็นชื่อที่อา้งอิงทางวิทยาศาสตร์ 2. ชื่ อทางการคา้ (Trade Name) ชื่อที่ บริษัทผู้ขายตั้งขึ้นเอง เพื่อใหเ้รียกง่าย และใชใ้นการโฆษณา ทา ใหติ้ดปากผู้ใชย้า 3. ชื่
  • 42. อันตรายที่ เกิดจากการใชย้า 1. ใชย้าเกินขนาด เป็นอันตรายต่อระบบการทา งานของร่างกายอาจถึงตายได้ 2. เกิดผลขา้งเคียง เช่น การใชย้าแก้ปวดหรือยานอนหลับบ่อย ทา ใหเ้กิดการเสพติด 3. การแพย้า หมายถึง อาการที่แสดงออกหลังจากไดรั้บยาเข้าไป อาจมี ผื่นคันเป็นลมพิษ ปวดเมื่อยตามข้อ หายใจไม่ออก หมดสติหรือตายได้
  • 43. 4. การดื้อยา หมายถึง อาการที่เชื้อโรคสามารถปรับตัวเข้ากับยานนั้ จนทา ใหก้ารรักษาไม่ไดผ้ล 5. ยาหมดอายุและยาเสื่อมคุณภาพ สังเกตไดจ้ากฉลากยา • คา ว่า Exp., Exp.Date, Used Before แล้วจะต่อดว้ย วนั เดือน ปี ที่ยาหมดอายุ • คา ว่า Manufacturing Date หรอื Mfg Date แล้วจะต่อดว้ย วนั เดือน ปี ที่ผลิตยา
  • 44. • ยาเสื่อมคุณภาพ ยาน้า ใส ขุ่น มีตะกอน ขึ้นรา ยาน้า เชื่อม สี กลิ่น รส เปลี่ยนไปจากเดิม ยาน้า เเขวนตะกอน ตะกอนนอนก้นขวด เมื่อเขย่าแล้วไม่กระจายตัว ยาเม็ด เม็ดแตก บิ่น ไม่เรียบ สีซีด เป็นจุด ยาแคปซูล แคปซูลแตกปริ ชื้น ข้นึรา ยาขี้ผึ้ง ยาครีม เนื้อยาเยิ้มเหลว แยกชั้น กลิ่น สีเปลี่ยนจากเดิม
  • 45. สารเสพติด หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ หรือจาก การสังเคราะห์ เมื่อเสพเข้าไปไม่ว่าดว้ยวิธีใดๆ ก็ตามจะทา ใหมี้ลักษณะดังนี้ 1. บุคคลนั้นตอ้งตกอยู่ใตอ้า นาจหรือเป็นทาสของสิ่งนั้นทางดา้นร่างกายและจิตใจ 2. ตอ้งเพิ่มปริมาณการเสพขึ้นเรื่อย ๆ หรือทา ใหสุ้ขภาพของผู้เสพเสื่อม โทรมลง 3. เมื่อถึงเวลาอยากเสพแล้วไม่ไดเ้สพจะมีอาการผิดปกติทางดา้นร่างกาย และจิตใจ
  • 46. ประเภทของยาเสพติด จาแนกตามการออกฤทธิ์ ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท 1. ประเภทกดประสาท ไดแ้ก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ เครื่องดื่ม มึนเมาทุกชนิด รวมทงั้สารระเหย เช่น ทินเนอร์แล็กเกอร์ผ้เูสพตดิร่างกาย จะซูบ ซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย อารมณ์เปลี่ยนแปลง 2. ประเภทกระตนุ้ประสาท ไดแ้ก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม ผู้เสพตดิจะมี อาการหงุดหงิด กระวนกระวาย บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง หรือทา ในสิ่งที่ คนปกติไม่กล้าทา เช่น ทา รา้ยตนเอง หรือฆ่าผู้อื่น
  • 47. 3. ประเภทหลอนประสาท ไดแ้ก่ ยาเค ผ้เูสพตดิจะมีอาการประสาทหลอน ฝันเฟื่อง หูแว่ว หรือเห็นภาพหลอน ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต 4. ประเภทออกฤทธิ์ ผสมผสาน คือ ทงั้กระตุน้ กดและหลอนประสาทรวมกนั ไดแ้ก่ กัญชา ผ้เูสพตดิมักมีอาการหวาดระแวง เห็นภาพลวงตา ควบคุมตนเองไม่ได้
  • 48. จาแนกตามแหล่งที่ เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ยาเสพติดธรรมชาติ คือ ยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืชบางชนิดโดยตรง เช่น กระท่อม กัญชา 2. ยาเสพติดสงัเคราะห์ คือ ยาเสพติดที่ผลิตขึ้นดว้ยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน ยาอี
  • 49. สาเหตุการติดยาเสพติด 1. จากความรูเ้ท่าไม่ถึงการณ์ • อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้ จึงไปทดลองใช้ จนในที่สุด ก็ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น • ความคึกคะนอง โดยเฉพาะวยัรุ่นอยากใหเ้พื่อนฝูงยอมรับว่า ตนเองเก่ง โดยมิไดค้า นึงถึงผลเสียหายหรืออันตรายที่จะเกิดข้นึ • การชักชวนของคนอื่น อาจเกิดจากการเชื่อตามคา ชักชวนโฆษณา ของผู้ขายสิ่งเสพย์ติด หรือเชื่อเพื่อน
  • 50. 2. จากการถูกหลอกลวง ปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินคา้ประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่ม ใชส้าร เสพย์ติดผสมลงในสินคา้ เพื่อใหผู้้ซื้อสินคา้ไปรับประทานเกิดการติด อยาก มาซื้ออีก กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อมีอาการเสพย์ติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง 3. สาเหตุที่ เกิดจากความเจ็บป่ วย การเจ็บป่วยทางกาย คนที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายรับประทานยา ทีมีฤทธิ์ ระงับอาการเจ็บปวด เมื่อฤทธิ์ ยาหมดไปก็จะกลับไปเจ็บปวดเหมือนเดิม ผู้ป่วยก็จะใชย้านั้นอีก เมื่อทา เช่นนี้ไปนาน ๆ จะเกิดการติดยานั้น
  • 51. การเจ็บป่วยทางจิต ผู้ป่วยทางจิตจะพยายามหายา หรือสิ่งเสพย์ติดมา คลายความเครียดทางจิตได้ชั่วขณะมารับประทาน เมื่อยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับ เครียดอีก และผู้ป่วยจะเสพสิ่งเสพติดไปเรื่อยๆ จนทา ใหติ้ดยาเสพย์ติดในที่สุด 4. การปฏิบตัิไม่ถูกตอ้งในการใช้ยา การไปซื้อยามารับประทานเอง บางครงั้อาจมีอาการถึงตาย หรือบางครงั้ทา ใหเ้กิดการเสพติดยานนั้ได้
  • 52. 5. สาเหตุอื่น ๆ • การอย่ใูกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต • การอยู่ใกล้ชิดกับผู้ติดสิ่งเสพย์ติด อาจไดรั้บคา แนะนา หรือชักชวน • สภาพแวดล้อมทางสังคม บางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น ว่างงาน หรือมีหนี้สินมาก เมื่อแก้ปัญหาไม่ได้ ก็หันไปใชสิ้่งเสพย์ติด • การเลียนแบบ การที่ไปเห็นผู้ที่ตนสนิทรักใคร่ เสพสิ่งเสพย์ติด จึงเห็นว่าเป็นสิ่งน่าลอง • การประชดชีวิต
  • 53. การป้องกนัยาเสพติด การป้องกนัตนเอง ควรปฏิบัติตนดังนี้ 1. ศึกษาหาความรู้ เพื่อใหรู้ถึ้งโทษของยาเสพย์ติด 2. ไม่ทดลองใชย้าเสพย์ติดทุกชนิด และปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน 3. ระมัดระวงัเรื่องการใชย้า เพราะยาบางชนิดอาจทา ใหเ้สพติดได้ 4. เลือกคบเพื่อนดี ที่ชักชวนกันไปในทางสรา้งสรรค์ 5. เมื่อมีปัญหาชีวิต ควรหาหนทางแก้ไขที่ไม่ข้องเกี่ยวกับยาเสพตดิ หากแก้ไขไม่ไดค้วรปรึกษาผ้ใูหญ่
  • 54. การป้องกนัครอบครวั ควรปฏิบัติดังนี้ 1. สรา้งความอบอ่นุภายในครอบครัว 2. รูแ้ละปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง 3. ดูแลสมาชิกในครอบครัว ไม่ใหข้้องเกี่ยวกับยาเสพย์ติด 4. ใหก้า ลังใจและหาทางแก้ไข หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวตดิยาเสพย์ติด ไม่ควรซา้ เตมิกัน
  • 55. สมุนไพร สมุนไพร หมายถึง ผลผลิตจากธรรมชาติที่ไดจ้ากพืช สัตว์ แร่ธาตุ ซึ่งใชเ้ป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตา รับยาเพื่อบา บัดโรค และบา รุงร่างกาย ยาสมุนไพร หมายถึง ยาที่ไดจ้ากพืช สัตว์ แร่ธาตุที่ยังไม่ไดผ้สม ปรุงแต่ง หรือแปรสภาพ
  • 56. รสของสมุนไพรไทย 1. รสฝาด ใชส้มานแผล แก้ทอ้งเสีย ชะล้างบาดแผล 2. รสหวาน ทา ใหร้่างกายชุ่มชื่น บา รุงกา ลัง แก้อ่อนเพลีย ทา ใหช้่มุคอ แก้ไอ 3. รสเมาเบื่อ แก้พิษ แก้สัตว์กัดต่อย ขับพยาธิ แก้โรคผิวหนัง 4. รสขม แก้ไข้ เจ็บคอ รอ้นใน กระหายน้า และช่วยเจริญอาหาร 5. รสเผ็ดรอ้น แก้ลม บา รุงธาตุ ขับลมในกระเพาะอาหารและลา ไส้ ช่วยย่อยอาหาร
  • 57. 6. รสมัน แก้เสน้เอ็น บา รุงเสน้เอ็น แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย 7. รสหอมเย็น ทา ใหชื้่นใจ บา รุงหัวใจ ชูกา ลัง แก้อ่อนเพลีย แก้รอ้นในกระหายน้า 8. รสเค็ม รักษาโรคผิวหนัง แก้ลมพิษ 9. รสเปรี้ยว กัดเสมหะ แก้ไอ แก้เลือดออกตามไรฟัน ฟอกโลหิตทา ให้ โลหิตไหลเวียนดีข้นึ
  • 58. พืชสมุนไพรเพื่อรกัษากลุ่มโรค การจัดพืชสมุนไพรเพื่อรักษากลุ่มโรค แบ่งไดดั้งนี้ 1. กลุ่มโรคระบบทางเดินอาหาร 2. กลุ่มโรคระบบทางเดินหายใจ 3. กลุ่มโรคระบบทางเดินปัสสาวะ 4. กลุ่มโรคผิวหนัง 5. กลุ่มโรคอื่น ๆ
  • 59. กล่มุโรคระบบทางเดินอาหาร สมุนไพรที่ใชเ้ป็นยาระบาย ยาถ่าย ไดแ้ก่ ผักตบชวา หญ้าแพรก ว่านหางจระเข้ มะเฟือง กล่มุโรคระบบทางเดินหายใจ สมุนไพรที่ออกฤทธิ์ ต่อระบบทางเดินหายใจ ไดแ้ก่ ข้าวฟ่าง ออ้ย ไมยราบ
  • 60. กล่มุโรคระบบทางเดินปัสสาวะ สมุนไพรที่ออกฤทธิ์ ต่อระบบทางเดินปัสสาวะ ไดแ้ก่ ข้าวโพด ผักกาดหัว กล่มุโรคผิวหนงั สมุนไพรทีออกฤทธิ์ ต่อผิวหนัง ไดแ้ก่ มะละกอ มะยม มะม่วงหิมพานต์ กลุ่มโรคอื่น ๆ สมุนไพรที่ออกฤทธิ์ ต่อระบบการไหลเวียนโลหิต ไดแ้ก่ มะลิ กระดังงาไทย หนาด ข้าวโพด
  • 61. ขอ้ควรปฏิบตัิในการใชส้มุนไพร 1. ใชใ้ห้ถูกตน้ เนื่องจากสมุนไพรแต่ละชนิดอาจมีชื่อเรียกต่างกันในแต่ละทอ้งถิ่น 2. ใชใ้ห้ถูกสดัส่วน หมายถึง ใชส้มุนไพรอย่างเหมาะสมเพราะสมุนไพรแต่ละชนิด จะมีฤทธิ์ ไม่เท่ากัน 3. ใชใ้ห้ถูกขนาด หมายถึง ใชป้ริมาณของสมุนไพอย่างถูกตอ้ง เพราะสมุนไพร บางชนิดถ้าใชใ้นปริมาณมากหรือน้อยเกินไปอาจจะไม่ไดผ้ล 4. ใชใ้ห้ถูกวิธี ควรจะตอ้งศึกษาถึงวิธีการใชส้มุนไพรแต่ละชนิด เพราะบางชนิด อาจใชแ้บบสด แบบแหง้ แบบตม้ หรือตอ้งบดใหล้ะเอียด 5. ใชใ้ห้ถูกกบัโรค หมายถึง จะตอ้งใชส้มุนไพรใหต้รงกับโรค เช่น ถ้ามีอาการทอ้งผูกจะต้องใชย้าระบาย
  • 62. การคุ้มครองผูบ้ริโภค หมายถึง การป้องกัน ระวงั ดูแล ไม่ใหผู้้ที่ซื้อสินคา้มาบริโภคหรอื ใชส้อยเกิดภัยอันตราย บาดเจ็บ หรือเกิดความเสียหาย รัฐบาลไดก้า หนดใหว้นัที่ 30 เมษายนของทุกปีเป็น วนัคุม้ครอง ผูบ้ริโภค โดยมีจุดประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อคุม้ครองผู้บริโภคไม่ใหเ้สียเปรียบผู้ผลิต 2. เพื่อคุม้ครองผู้บริโภคไม่ใหต้กเป็นเหยื่อของการโฆษณา 3. เพื่อควบคุมสินคา้ที่ไม่ไดม้าตรฐาน ไม่ปลอดภัย หรือเป็นอันตราย 4. เพื่อใหเ้กิดความเป็นธรรมระหว่างผู้ซื้อ และผู้ขาย
  • 63. วิธีการพิจารณาในการเลือกซื้อสินคา้ 1. ความจา เป็น ประโยชน์ในการใชส้อย 2. มาตรฐาน คุณภาพของสินคา้ เช่น มี อย. มอก. 3. ปริมาณของสินคา้เมื่อเทียบกับสินคา้ชนิดเดียวกัน 4. ราคาสินคา้ต่อหน่วย 5. ระยะเวลาในการการรับประกันสินคา้
  • 64. 6. อายุการใชง้าน 7. อะไหล่ วสัดุที่ใชซ้่อมแซม 8. ภาชนะ หีบห่อ 9. วนั เดือน ปี ที่ผลิตและวนัหมดอายุ 10. บริการหลังการขาย
  • 65. พระราชบญัญตัิวิธีพิจารณาคดี ผูบ้ริโภค พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี ผ้บูริโภค พ.ศ.2551 หรือศาลผ้บูริโภค มีอย่ทูุกจังหวดั กฎหมายฉบับนี้มีประโยชน์กับผู้บริโภค ดังนี้ 1. ผู้บริโภคที่ไดรั้บความเสียหายจากสินคา้หรือบริการใดก็ตาม สามารถไป ฟ้องศาลผ้บูริโภคไดด้ว้ยวาจา โดยไม่ตอ้งจ่ายเงินจา้งทนายความ แต่จะมี เจา้พนักงานคดีของศาลเป็นผู้ช่วยเขียนเรียบเรียงคา ฟ้องให้ 2. ผู้บริโภคจะไดรั้บการยกเวน้ไม่ตอ้งเสียค่าธรรมเนียมศาล ยกเว้นผู้บริโภค ฟ้องโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือเรียกค่าเสียหายเกินสมควร ศาลอาจมีคา สั่ง ใหบุ้คคลนนั้ ชา ระค่าธรรมเนียมได้
  • 66. 3. อายุความในการฟ้องรอ้งในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้น สามารถใชสิ้ทธิ เรียกรอ้งไดภ้ายใน 3 ปี นับแต่วนัที่รูถึ้งความเสียหาย และรู้ตัวผ้ปูระกอบธุรกิจ ที่ตอ้งรับผิดชอบ แต่ไม่เกิน 10 ปี 4. หากผู้ประกอบธุรกิจจะฟ้องผู้บริโภคบ้าง ตอ้งฟ้องที่ศาลผู้บริโภคที่ผ้บูริโภค มีภูมิลาเนาอยู่ 5. ถ้าผู้บริโภคจะฟ้องผู้ประกอบการธุรกิจที่มีสา นักงานใหญ่อยู่กรุงเทพ แต่มีตัวแทนจา หน่ายอยู่ในจังหวดัที่ผู้บริโภคอยู่ ผู้บริโภคสามารถฟ้อง ต่อศาลจังหวดัที่ผู้บริโภคมีภูมิลา เนาอยู่ไดเ้ลย ทา ใหล้ดภาระค่าใชจ้่ายใน การเดินทาง
  • 67. สิทธิของผูบ้ริโภค 1. มีสิทธิที่จะรับรูข้้อมูลของสินคา้หรือบริการตามความเป็นจริงและเพียงพอ แก่การตัดสินใจ 2. มีสิทธิที่จะเลือกใชห้รือไม่ใชสิ้นคา้หรือบริการใด ๆ โดยไม่มีการผูกขาด 3. มีสิทธิไดรั้บความยุติธรรมในการทา สัญญาต่าง ๆ 4. มีสิทธิไดรั้บความปลอดภัยจากการใชสิ้นคา้หรือบริการ 5. มีสิทธิที่จะไดรั้บการพิจารณาและชดเชยความเสียหายเมื่อถูกละเมิดสิทธิ