SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน idiopathic hypersomnia
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นางสาวพิชญ์สินี เดี่ยวตระกูล เลขที่ 5 ชั้น ม.6ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.นางสาว ปรีณาภา เฟื่องแก้ว เลขที่1
2.นางสาว พิชญ์สินี เดี่ยวตระกูล เลขที่ 5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ภาวะง่วงนอนตลอดเวลา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
idiopathic hypersomnia
ประเภทโครงงาน โครงงานด้านสุขภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชญ์สินี เดี่ยวตระกูล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 6 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน
idiopathic hypersomnia ภาวะง่วงนอนตลอดเวลา หรือเรียกอีกอย่าง อาการการนอนมากเกินไป
เป็นสิ่งที่ผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ควรรีบมาพบแพทย์ คนที่มีภาวะนี้จะมีลักษณะที่ต้องการการนอนเพิ่มขึ้น
ทั้งในช่วงกลางวันและกลางคืน มีภาวะตื่นยากมากจากการนอน เมื่อตื่นแล้วก็รู้สึก ว่าต้องการนอนต่อไปอีก ระหว่าง
วันก็ต้องการงีบหลับหลายๆครั้ง ในบางรายอาการงีบก็อาจเกิดขึ้นในเวลาที่ไม่เหมาะสม เช่น ขณะคุยกันก็ยังหลับได้
ระหว่างกินอาหาร เป็นต้น ซึ่งหากพบมีอาการหรือมีคนใกล้ตัวที่มีอาการแบบนี้ แนะนาควรรีบมาพบแพทย์เนื่องจาก
อาจส่งผลกระทบต่างๆ ตามมาได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ
1. เพื่อบอกอาการ
2. เพื่อให้รู้ถึงสาเหตุ
3. แนะนาวิธีการรักษา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน
สาเหตุและวิธีการรักษาของอาการ
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน
การง่วงนอนผิดปกติถือเป็นปัญหาสาคัญระดับหนึ่งเพราะเกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุ ส่วนหนึ่งเกิดจากการอดนอน
หลายคนละเลย ทั้งๆที่ส่งผลกระทบต่อทรัพย์สินและชีวิตไม่ต่างจากการเมาแล้วขับ ที่สาคัญไม่ได้มีการตรวจเช็ก
เหมือนการตรวจแอลกอฮอลล์ของผู้ที่ขับขี่รถยนต์ สาเหตุเกิดจากการนอนไม่เพียงพอเนื่องจากความรับผิดชอบใน
หน้าที่การทางานมากขึ้น รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสื่อสารผ่านทางโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค ทาให้นอนดึกโดยเฉพาะวัยรุ่น หาก
มองผิวเผินดูเหมือนเป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขไม่ยาก แต่ในทางปฏิบัติทายาก ไม่ว่าวัยรุ่น คนทางาน รวมทั้งผู้สูงอายุ
ตามหลักการควรนอนอย่างน้อย 7 - 8 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับวัย นอกจากนี้เวลานอนไม่เหมาะสมก็มีผลให้ตื่นแล้วไม่สดชื่น
รู้สึกง่วง แม้ว่าจานวนชั่วโมงได้ตามเกณฑ์แต่เวลานอนไม่เหมาะสม โดยเวลาที่เหมาะสมในการนอน คือ สี่ทุ่มถึงสี่ทุ่ม
ครึ่ง แต่ละคนอาจไม่เหมือนกันแม้จะอายุเท่ากัน เพศเดียวกัน น้าหนักตัวเท่ากัน ทั้งนี้เป็นผลมาจากพันธุกรรม อย่างไร
ก็ตามปัญหาการง่วงระหว่างวันนั้นเกิดจากความผิดปกติทางร่างกายได้หลายสาเหตุอย่างไม่น่าเชื่อ ไม่ได้เป็นเพราะ
นิสัยขี้เกียจอย่างที่เคยเข้าใจกัน แต่เกิดจากความผิดปกติของการทางานของสมองทาให้เกิดอาการง่วงง่าย หลับเร็ว
เนื่องจากการขาดสารสื่อประสาทในสมองที่มีชื่อว่า'ไฮโปเครติน (Hypocretin)' ทาให้สมองไม่สามารถควบคุมวงจร
การนอนหลับให้เป็นปกติได้ บางครั้งถึงขั้นหลับขณะกาลังขับรถหรือเรียนหนังสือ มักพบในเด็กและกลุ่มวัยรุ่น ซึ่ง
นอกจากอาการหลับง่ายแล้วอาจมีอาการบางอย่างร่วมด้วย อาทิ อาการผีอาไม่สามารถขยับเขยื้อนแขนขาของตัวเอง
ได้ทั้งๆ ที่สายตาก็ยังสามารถรับรู้มองเห็น เห็นภาพหลอนขณะกาลังจะหลับ หรือเสียงแว่วได้ในขณะเคลิ้มหลับหรือ
เคลิ้มตื่น อาการอย่างอื่นที่อาจพบได้อีกคือ อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขนขาอย่างเฉียบพลัน ซึ่งมักเกิดในขณะที่
คนไข้มีอารมณ์ขา
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษากันในกลุ่ม
-กาหนดหัวข้อ
-ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
-รวบรวมข้อมูล
-ตรวจสอบและแก้ไข
-นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน
-ผู้คนเข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับอาการ
-รักษาอย่างถูกวิธี
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน
https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/falling-asleep-treatment-
recovery-prevention

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

11111
1111111111
11111
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
2561 kosun-34
2561 kosun-342561 kosun-34
2561 kosun-34
 
Liooo
LioooLiooo
Liooo
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
Jj
JjJj
Jj
 
5
55
5
 
การออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
การออกกำลังกายอย่างถูกวิธีการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
การออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 

Similar to 2561 project idiopathic hypersomnia

Similar to 2561 project idiopathic hypersomnia (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
Travel solo
Travel soloTravel solo
Travel solo
 
Travel solo
Travel soloTravel solo
Travel solo
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
Trans fatty acids
Trans fatty acidsTrans fatty acids
Trans fatty acids
 
taksaorn
taksaorntaksaorn
taksaorn
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบียแบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานโรคฟิโลโฟเบีย
 
Work
WorkWork
Work
 
Work
WorkWork
Work
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนโครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
 
05 606 2561-1
05 606 2561-105 606 2561-1
05 606 2561-1
 
เรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆเรื่องสิว ชิวๆ
เรื่องสิว ชิวๆ
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2560 project 34
2560 project 342560 project 34
2560 project 34
 
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

2561 project idiopathic hypersomnia

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน idiopathic hypersomnia ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาวพิชญ์สินี เดี่ยวตระกูล เลขที่ 5 ชั้น ม.6ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.นางสาว ปรีณาภา เฟื่องแก้ว เลขที่1 2.นางสาว พิชญ์สินี เดี่ยวตระกูล เลขที่ 5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภาวะง่วงนอนตลอดเวลา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) idiopathic hypersomnia ประเภทโครงงาน โครงงานด้านสุขภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพิชญ์สินี เดี่ยวตระกูล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 6 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน idiopathic hypersomnia ภาวะง่วงนอนตลอดเวลา หรือเรียกอีกอย่าง อาการการนอนมากเกินไป เป็นสิ่งที่ผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ควรรีบมาพบแพทย์ คนที่มีภาวะนี้จะมีลักษณะที่ต้องการการนอนเพิ่มขึ้น ทั้งในช่วงกลางวันและกลางคืน มีภาวะตื่นยากมากจากการนอน เมื่อตื่นแล้วก็รู้สึก ว่าต้องการนอนต่อไปอีก ระหว่าง วันก็ต้องการงีบหลับหลายๆครั้ง ในบางรายอาการงีบก็อาจเกิดขึ้นในเวลาที่ไม่เหมาะสม เช่น ขณะคุยกันก็ยังหลับได้ ระหว่างกินอาหาร เป็นต้น ซึ่งหากพบมีอาการหรือมีคนใกล้ตัวที่มีอาการแบบนี้ แนะนาควรรีบมาพบแพทย์เนื่องจาก อาจส่งผลกระทบต่างๆ ตามมาได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ 1. เพื่อบอกอาการ 2. เพื่อให้รู้ถึงสาเหตุ 3. แนะนาวิธีการรักษา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน สาเหตุและวิธีการรักษาของอาการ
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน การง่วงนอนผิดปกติถือเป็นปัญหาสาคัญระดับหนึ่งเพราะเกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุ ส่วนหนึ่งเกิดจากการอดนอน หลายคนละเลย ทั้งๆที่ส่งผลกระทบต่อทรัพย์สินและชีวิตไม่ต่างจากการเมาแล้วขับ ที่สาคัญไม่ได้มีการตรวจเช็ก เหมือนการตรวจแอลกอฮอลล์ของผู้ที่ขับขี่รถยนต์ สาเหตุเกิดจากการนอนไม่เพียงพอเนื่องจากความรับผิดชอบใน หน้าที่การทางานมากขึ้น รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสื่อสารผ่านทางโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค ทาให้นอนดึกโดยเฉพาะวัยรุ่น หาก มองผิวเผินดูเหมือนเป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขไม่ยาก แต่ในทางปฏิบัติทายาก ไม่ว่าวัยรุ่น คนทางาน รวมทั้งผู้สูงอายุ ตามหลักการควรนอนอย่างน้อย 7 - 8 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับวัย นอกจากนี้เวลานอนไม่เหมาะสมก็มีผลให้ตื่นแล้วไม่สดชื่น รู้สึกง่วง แม้ว่าจานวนชั่วโมงได้ตามเกณฑ์แต่เวลานอนไม่เหมาะสม โดยเวลาที่เหมาะสมในการนอน คือ สี่ทุ่มถึงสี่ทุ่ม ครึ่ง แต่ละคนอาจไม่เหมือนกันแม้จะอายุเท่ากัน เพศเดียวกัน น้าหนักตัวเท่ากัน ทั้งนี้เป็นผลมาจากพันธุกรรม อย่างไร ก็ตามปัญหาการง่วงระหว่างวันนั้นเกิดจากความผิดปกติทางร่างกายได้หลายสาเหตุอย่างไม่น่าเชื่อ ไม่ได้เป็นเพราะ นิสัยขี้เกียจอย่างที่เคยเข้าใจกัน แต่เกิดจากความผิดปกติของการทางานของสมองทาให้เกิดอาการง่วงง่าย หลับเร็ว เนื่องจากการขาดสารสื่อประสาทในสมองที่มีชื่อว่า'ไฮโปเครติน (Hypocretin)' ทาให้สมองไม่สามารถควบคุมวงจร การนอนหลับให้เป็นปกติได้ บางครั้งถึงขั้นหลับขณะกาลังขับรถหรือเรียนหนังสือ มักพบในเด็กและกลุ่มวัยรุ่น ซึ่ง นอกจากอาการหลับง่ายแล้วอาจมีอาการบางอย่างร่วมด้วย อาทิ อาการผีอาไม่สามารถขยับเขยื้อนแขนขาของตัวเอง ได้ทั้งๆ ที่สายตาก็ยังสามารถรับรู้มองเห็น เห็นภาพหลอนขณะกาลังจะหลับ หรือเสียงแว่วได้ในขณะเคลิ้มหลับหรือ เคลิ้มตื่น อาการอย่างอื่นที่อาจพบได้อีกคือ อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขนขาอย่างเฉียบพลัน ซึ่งมักเกิดในขณะที่ คนไข้มีอารมณ์ขา วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษากันในกลุ่ม -กาหนดหัวข้อ -ศึกษาค้นคว้าข้อมูล -รวบรวมข้อมูล -ตรวจสอบและแก้ไข -นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์ งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน -ผู้คนเข้าใจและรับรู้เกี่ยวกับอาการ -รักษาอย่างถูกวิธี สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/falling-asleep-treatment- recovery-prevention