SlideShare a Scribd company logo
1 of 260
Download to read offline
เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑แนวปฏิบัตการวัดและประเมินผลการเรียนรู         ิ             ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารอง        การใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน                    พุทธศักราช ๒๕๕๑                        สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน                                       กระทรวงศึกษาธิการ
คํานํา             กระทรวงศึกษาธิการไดมีคําสั่งใหใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ ในโรงเรียนตนแบบและโรงเรียนที่มีความพรอมการใชหลักสูตร ในปการศึกษา ๒๕๕๒ และใช ใ นโรงเรี ย นทั่ ว ประเทศในป ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๓ หลั ก สู ต รนี้ เ ป น หลั ก สู ต รที่ ใ ช แ นวคิ ด หลั ก สู ต รอิงมาตรฐาน (Standard-based Curriculum) กลาวคือ เปนหลักสูตรที่กําหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยในมาตรฐานการเรียนรูไดระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติไดเมื่อสําเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของในการจัดการศึกษาไดยึดเปนแนวทางในการดําเนินการพัฒนาและสงเสริมใหผูเรียนไดบรรลุคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูดังกลาว ดวยการดําเนินการบริหารจัดการอิงมาตรฐาน (Standard-based Administration) การจัดการเรียนรูที่มีมาตรฐานเปนเปาหมาย (Standard-based Instruction) การวัดและประเมินผลที่สะทอนมาตรฐาน (Standard-basedAssessment) เพื่อใหกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้ นฐานจึง ไดจัด ทําเอกสารประกอบหลัก สูตรเพื่ออธิ บายขยายความใหผูเกี่ยวของทุกฝายทั้งระดับชาติ ทองถิ่น และสถานศึกษา มีความเขาใจที่ชัดเจน ตรงกัน รวมทั้งรวมกันรับผิดชอบและทํางานรวมกันอยางเปนระบบ             เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดทําขึ้นประกอบเอกสารจํานวน ๓ เลม คือ             เลมที่ ๑ แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ใหขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาและใชหลักสูตรตลอดแนว ทั้งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรอบหลักสูตรระดับทองถิ่น และหลักสูตรสถานศึกษา ตลอดจนแนวคิดสําคัญของการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผลในชั้นเรียนนอกจากนั้นยังสื่อสารกับหนวยงานที่เกี่ยวของใหเขาใจถึงบทบาทหนาที่ในการสงเสริมสนับสนุน และกํากับดูแลการจัดการศึกษา             เลมที่ ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู ใหขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดการจัดการเรียนรูที่มีมาตรฐานเปนเปาหมาย สื่อการจัดการเรียนรู การจัดทําคําอธิบายรายวิชา การจัดทําหนวยการเรียนรู ตลอดจนแนวทางการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู             เลมที่ ๓ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู ใหขอมูลเกี่ยวกับขอแนะนําในการจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีในการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่ถูกตองตามหลักวิชา แนวทางวัดและประเมินผลการเรียนรูในระดับชั้นเรียนที่นําไปสูการพัฒนาผูเรียนใหเต็มศักยภาพบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคล
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญแตละสาขาคณาจารย ศึ ก ษานิ เ ทศก ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ครู ผู ส อน และผู เ กี่ ย วข อ ง ตลอดจนนั ก วิ ช าการของสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา และหนวยงานตางๆ ที่มีสวนเกี่ยวของในการจัดทําเอกสารฉบับนี้ใหสําเร็จลุลว งดวยดี หวังวาเอกสารประกอบการใชหลักสูตรทั้ง ๓ เลมนี้ จะเปนประโยชน สําหรั บผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหสามารถพัฒนาหลักสูตร จัดการเรียนรู และดําเนินการวัดและประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยใหมีความรู ความสามารถมีทักษะกระบวนการคิด เปนคนดี มีคุณธรรม และดํารงชีวิตในสังคมไดอยางเปนสุข      หากทานมีขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไข อันจะชวยใหเอกสารมีความสมบูรณ สามารถ นําไปปฏิบัติไดอยางแทจริง โปรดสงขอคิดเห็นมาที่      กลุมพัฒนาหลักสูตร      สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา อาคาร สพฐ.๓      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ                                          ้      ถนนราชดําเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐      โทรศัพท ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๗๔-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๗๗ ๕๗๗๒      e-mail : curriculum2551@gmail.com website : www.curriculum51.net                                                                     สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา                                                              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน                                                                                               ้
สารบัญ                                                                                         หนาคํานํา๑. บทนํา                                                                                  ๑       จุดมุงหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู                                        ๒       การกํากับดูแลคุณภาพการศึกษา                                                        ๒       การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา                   ๔       การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู                                         ๖       การขอรับการสนับสนุนดานการวัดและประเมินผลการเรียนรูจากสํานักงานเขตพืนที่้       การศึกษา หรือหนวยงานตนสังกัด                                                    ๑๑๒. แนวปฏิบติการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน              ั   พุทธศักราช ๒๕๕๑                                                                       ๑๒       หลักการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน                                                                                  ้       พุทธศักราช ๒๕๕๑                                                                   ๑๓       องคประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา       ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑                                                       ๑๔       เกณฑการวัดและประเมินผลการเรียนรู                                                ๑๗           • ระดับประถมศึกษา                                                             ๑๗                  การตัดสินผลการเรียน                                                    ๑๗                  การใหระดับผลการเรียน                                                  ๑๘                  การเลื่อนชั้น                                                          ๒๐                  การเรียนซ้ําชัน                                ้                                                        ๒๑                  การสอนซอมเสริม                                                        ๒๑                  เกณฑการจบระดับประถมศึกษา                                              ๒๒           • ระดับมัธยมศึกษา                                                             ๒๓                  การตัดสินผลการเรียน                                                    ๒๓                  การใหระดับผลการเรียน                                                  ๒๔                  การเปลี่ยนผลการเรียน                                                   ๒๖                 - การเปลี่ยนผลการเรียน “ ๐ ”                                            ๒๖                 - การเปลี่ยนผลการเรียน “ ร ”                                            ๒๗
สารบัญ (ตอ)                                                                          หนา                - การเปลี่ยนผลการเรียน “ มส ”                             ๒๗                - การเปลี่ยนผลการเรียน “ มผ ”                             ๒๘                 การเลื่อนชั้น                                             ๒๙                 การเรียนซ้ํา                                             ๒๘                 การสอนซอมเสริม                                           ๒๙                 เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน                           ๓๐                 เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย                          ๓๐       การเทียบโอนผลการเรียน.                                             ๓๒       การรายงานผลการเรียน                                                ๓๗๓. ภารกิจของสถานศึกษาดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู                    ๔๒       กรอบการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา              ๔๔       แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู                                ๔๔         • การประเมินผลการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู                 ๔๕         • การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน                        ๔๕         • การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค                                ๕๖         • การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน                                  ๘๐๔. ภารกิจของผูสอนดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู                       ๘๗       ความหมายและความสําคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรูในชั้นเรียน    ๘๙       ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู                              ๙๐       วิธีการและเครื่องมือวัดประเมินผลการเรียนรู                         ๙๑       หลักฐานการเรียนรูประเภทตาง ๆ                                      ๙๗       เกณฑการประเมิน (Rubrics) และตัวอยางชิ้นงาน (Examplars)            ๙๘       สมรรถนะสําคัญของผูเรียน : ประเมินอยางไร                          ๑๐๐       กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตร                     ๑๐๐
สารบัญ (ตอ)                      หนา๕. เอกสารหลักฐานการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน   พุทธศักราช ๒๕๕๑                                                     ๑๐๗        เอกสารหลักฐานการศึกษาทีกระทรวงศึกษาธิการกําหนด                                  ่                                    ๑๐๘         • ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑)                                ๑๐๘         • ประกาศนียบัตร (ปพ.๒)                                        ๑๐๘         • แบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา (ปพ.๓)                          ๑๐๙        เอกสารหลักฐานการศึกษาทีสถานศึกษากําหนด                                    ่                                  ๑๐๙         • แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา                            ๑๐๙         • แบบรายงานประจําตัวนักเรียน                                  ๑๑๐         • ใบรับรองผลการเรียน                                          ๑๑๐         • ระเบียนสะสม                                                 ๑๑๐        แนวปฏิบัตในการจัดทําระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑)                    ิ                                                 ๑๑๒        แนวปฏิบัตในการจัดทําประกาศนียบัตร (ปพ.๒)                      ิ                                               ๑๔๒        แนวปฏิบัตในการจัดทําแบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา (ปพ.๓)                        ิ                                             ๑๕๓        การสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษา ปพ.๑ ปพ.๒ และ ปพ.๓       ๑๖๙เอกสารอางอิง                                                         ๑๗๗ภาคผนวก ก ตัวอยางการกรอก ปพ.๑ : ป ปพ.๑ : บ และ ปพ.๑ : พ.             ๑๗๙          ข นิยาม ตัวชี้วด และเกณฑการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค                          ั                                           ๑๘๕คณะทํางาน                                                             ๒๓๕
สารบัญแผนภาพแผนภาพที่                                                                              หนา  ๑.๑ แสดงระบบการบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลาง          การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑                                           ๗ ๒.๑    แสดงความสัมพันธองคประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู                        ๑๔ ๒.๒    แสดงการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามรายกลุมสาระการเรียนรู                    ๑๕ ๒.๓    แสดงการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน                                    ๑๕ ๒.๔    แสดงการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค                                           ๑๖ ๒.๕    แสดงการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน                                             ๑๖ ๒.๖    แสดงกระบวนการตัดสินและแกไขผลการเรียนระดับมัธยมศึกษา                           ๓๑ ๓.๑    แสดงกรอบการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา                      ๔๓ ๓.๒    แสดงกระบวนการดําเนินการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอาน        คิดวิเคราะห และเขียน                                                          ๔๗  ๓.๓   แสดงขั้นตอนการดําเนินการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค        ของสถานศึกษา                                                                    ๕๗  ๓.๔   แสดงขั้นตอนการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน                                       ๘๓  ๔.๑   กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู                                            ๑๐๒  ๕.๑   แสดงขั้นตอนการสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษาระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑)   ๑๗๐  ๕.๒   แสดงขั้นตอนการสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษาประกาศนียบัตร (ปพ.๒)           ๑๗๓
สารบัญตารางตารางที่                                                                     หนา ๑.๑ แสดงการมอบหมายภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหบุคลากรฝายตาง ๆ         ของสถานศึกษารับผิดชอบ                                                ๘ ๓.๑ แสดงตัวอยางการออกแบบการวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค           ๖๔ ๔.๑ แสดงตัวอยางการประเมินแบบแยกประเด็น                                     ๙๘ ๔.๒ แสดงตัวอยางเกณฑการประเมินแบบภาพรวมสําหรับประเมินการเขียนเรียงความ     ๙๙
๑. บทนํา
๒    จุดมุงหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู           การวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นต อ งอยู บ นจุ ด มุ ง หมายพื้ น ฐานสองประการประการแรก คือ การวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียน โดยเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผลการเรียน และการเรียนรูของผูเรียนในระหวางการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง บันทึก วิเคราะห แปลความหมายขอมูลแลวนํามาใชในการสงเสริมหรือปรับปรุงแกไขการเรียนรูของผูเรียนและการสอนของครู การวัดและประเมิ น ผลกั บ การสอนจึ ง เป น เรื่ อ งที่ สั ม พั น ธ กั น หากขาดสิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใดการเรี ย นการสอนก็ ข าดประสิทธิภาพ การประเมินระหวางการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรูเชนนี้เปนการวัดและประเมินผลยอย (Formative assessment) ที่เกิดขึ้นในหองเรียนทุกวัน เปนการประเมินเพื่อใหรูจุดเดน จุดที่ตองปรับปรุง จึงเปนขอมูลเพื่อใชในการพัฒนา ในการเก็บขอมูลผูสอนตองใชวิธีการและเครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย เชน การสังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็นเพื่อใหไดมติขอสรุปของประเด็นที่กําหนด การใชแฟมสะสมงาน การใชภาระงานที่เนนการปฏิบัติ การประเมินความรูเดิม การใหผูเรียนประเมินตนเอง การใหเพื่อนประเมินเพื่อน และการใชเกณฑการใหคะแนน (Rubrics) สิ่งสําคัญที่สุดในการประเมินเพื่อพัฒนา คือ การใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนในลักษณะคําแนะนําที่เชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหมทําใหการเรียนรูพอกพูน แกไขความคิด ความเขาใจเดิมที่ไมถูกตอง ตลอดจนการใหผูเรียนสามารถตั้งเปาหมายและพัฒนาตนได           จุดมุงหมายประการที่สอง คือ การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เปนการประเมินสรุปผลการเรียนรู (Summative assessment) ซึ่งมีหลายระดับ ไดแก เมื่อเรียนจบหนวยการเรียนจบรายวิชาเพื่อตัดสินใหคะแนนหรือใหระดับผลการเรียน ใหการรับรองความรูความสามารถของผูเรียนวาผานรายวิชาหรือไม ควรไดรับการเลื่อนชั้นหรือไม หรือสามารถจบหลักสูตรหรือไม ในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่ดีตองใหโอกาสผูเรียนแสดงออกซึ่งความรูความสามารถดวยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเกณฑผลการปฏิบัติมากกวาใชเปรียบเทียบระหวางนักเรียน    การกํากับดูแลคุณภาพการศึกษา          การจัดการศึกษาในปจจุบันนอกจากใหทั่วถึงแลวยังมุงเนนคุณภาพดวย ผูปกครอง สังคมและรัฐตองการเห็นหลักฐานอันเปนผลมาจากการจัดการศึกษา นั่นคือ คุณภาพของผูเรียนที่เปนไปตามมาตรฐานของหลักสูตร หนวยงานที่รับผิดชอบนับตั้งแตสถานศึกษา ตนสังกัด หนวยงานระดับชาติ ที่ไดรับมอบหมายจึงมีบทบาทหนาที่ในการตรวจสอบคุณภาพผูเรียนตามความคาดหวังของหลักสูตร ดังนั้นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงกําหนดใหมีการวัดและประเมินผลการเรียนรูใน ๔ ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ ทุกระดับมีเจตนารมณเชนเดียวกันคือ ตรวจสอบความกาวหนาในการเรียนรูของผูเรียน เพื่อนําผลการประเมินมาใชเปนขอมูลในการพัฒนาอยางตอเนื่องตอไป                                                                     ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๓          ♦ การประเมินระดับชั้นเรียน           เปนการวัดและประเมินผลที่อยูในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอนดําเนินการเพื่อพัฒนาผูเรียนและตัดสินผลการเรียนในรายวิชา/กิจกรรมที่ตนสอน ในการประเมินเพื่อพัฒนา ผูสอนประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัดที่กําหนดเปนเปาหมายในแตละหนวยการเรียนรูดวยวิธีการตางๆ เชน การซักถามการสังเกต การตรวจการบาน การแสดงออกในการปฏิบัติ ผลงาน การแสดงกริยาอาการตางๆ ของผูเรียนตลอดเวลาที่จัดกิจกรรม เพื่อดูวาบรรลุตัว ชี้วัดหรือมีแนวโนมวาจะบรรลุตัวชี้วัดเพียงใด แลวแกไ ขขอบกพรองเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง           การประเมินเพื่อตัดสินเปนการตรวจสอบ ณ จุดที่กําหนดตัดสินวา ผูเรียนมีผลอันเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไมและมากนอยเพียงใด ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเก็บคะแนนของหนวยการเรียนรู หรือของการประเมินผลกลางภาคหรือปลายภาคตามรูปแบบการประเมินที่สถานศึกษากําหนด ผลการประเมินนอกจากจะใหเปนคะแนนหรือระดับผลการเรียนแกผูเรียนแลว ตองนํามาเปนขอมูลใชปรับปรุงการเรียนการสอนตอไปอีกดวย            ♦ การประเมินระดับสถานศึกษา            เปนการตรวจสอบผลการเรียนของผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และเปนการประเมินเพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาวาสงผลตอการเรียนรูของผูเรียนตามเปาหมายหรือไม ผูเรียนมีสิ่งที่ตองไดรับการพัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนําผลการเรียนของผูเรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติและระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูปกครองและชุมชน             ♦ การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา              เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดําเนินการโดยประเมินคุณภาพของผูเรียนดวยวิธีการและเครื่ อ งมื อ ที่ เ ป น มาตรฐานที่ จั ด ทํ า และดํ า เนิ น การโดยเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา หรื อ ด ว ยความร ว มมื อ กั บหน ว ยงานต น สังกั ดและ / หรือ หน ว ยงานที่เกี่ย วของ นอกจากนี้ ยังสามารถดํา เนินการไดด ว ยการตรวจสอบขอมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา                                                                           ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๔            ♦ การประเมินระดับชาติ            เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติ ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เขารับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตางๆ เพื่อนําไปใชในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปนขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ            ขอมูลการประเมินในระดับตางๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือปรับปรุงแกไข สงเสริมสนับสนุน เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลที่จําแนกตามสภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัยและพฤติกรรมกลุมผูเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุมผูเรียนที่มีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมินจึงเปนหัวใจของสถานศึกษาในการดําเนินการชวยเหลือผูเรียนไดทันทวงที อันเปนโอกาสใหผูเรียนไดรับการพัฒนาและประสบความสําเร็จในการเรียน    การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา          สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรีย นรูตามหลัก สูตรสถานศึกษาใหสอดคลอง และเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เ ปนขอกําหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อใหบุคลากรที่เกี่ยวของทุกฝายถือปฏิบัติรวมกัน          ระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาเปนกรอบภาระงานและแนวปฏิบัติดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ซึ่งจะตองเชื่อมโยงกับการเรียนรูเปนกระบวนการเดียวกัน สาระของระเบียบดังกลาวกําหนดบนพื้นฐานของนโยบายดานการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักวิชาหลักเกณฑการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ กฎระเบียบที่เกี่ยวของและแนวปฏิบัติที่สถานศึกษากําหนดเพิ่มเติม อันจะสะทอนคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษาที่จะชวยสรางความมั่นใจในกระบวนการดําเนินงานและสรางความเชื่อมั่นแกสังคม ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา          หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดวาการวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนกระบวนการพัฒนาปรับปรุงการเรียนรูของผูเรียนและตัดสินวาผูเรียนมีความรู ทักษะความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค อันเปนผลมาจากการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู/                                                               ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๕ตัวชี้วัดในระดับใด สามารถที่จะไดรับการเลื่อนชั้นเรียน หรือจบการศึกษาไดหรือไม สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษาจะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เปนขอกําหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยควรมีสาระตอไปนี้เปนอยางนอย           ๑. การตัดสินผลการเรียน           ๒. การใหระดับผลการเรียน           ๓. การรายงานผลการเรียน           ๔. เกณฑการจบการศึกษา           ๕. เอกสารหลักฐานการศึกษา           ๖. การเทียบโอนผลการเรียน           ๗. การประเมินคุณภาพผูเรียน    การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู            การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา ครอบคลุมงาน ๒ สวนไดแก งานวัดและประเมินผลการเรียนรู และงานทะเบียน สถานศึกษาควรกําหนดใหมีผูรบผิดชอบในแตละ                                                                                  ังาน สําหรับสถานศึกษาขนาดเล็กอาจรวมงานทั้งสองและมอบหมายผูรับผิดชอบคนเดียว            งานวัดและประเมินผลการเรียนรู มีหนาที่รับผิดชอบการดําเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล การเรียนรูกับผูสอนและผูเรียนตลอดจนดําเนินการเกี่ยวกับการสรางเสริมความเขมแข็งในเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหบุคลากรของสถานศึกษา            งานทะเบียน รับผิดชอบดานเอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารการประเมินผลการจัดทําจัดเก็บและการออกเอกสารหลักฐานการศึกษาอยางเปนระบบ เปนตน            ภาระงานวัดและประเมินผลการเรียนรูมีความเกี่ยวของกับฝายตางๆ ในสถานศึกษานับตั้งแตระดับนโยบายในการกําหนดนโยบายการวัดผล การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อใหบุคลากรทุกฝายที่เกี่ยวของถือปฏิบัติ และยังเกี่ยวของกับผูเรียนทุกคนตั้งแตเขาเรียนจนจบการศึกษาและออกจากสถานศึกษา จึงจําเปนที่สถานศึกษาตองวิเคราะหภาระงานกําหนดกระบวนการทํางานและผูรับผิดชอบแตละขั้นตอนอยางชัดเจนเหมาะสม แผนภาพที่ ๑.๑ นําเสนอการบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษาที่กําหนดขึ้นโดยนํานโยบายการจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตลอดจนหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมาวิเคราะหภาระงาน และตารางที่ ๑.๑ แสดงถึงการมอบหมายภารกิจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหแกบุคลากรฝายตางๆ ของสถานศึกษารับผิดชอบ            การดําเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรูที่ไมเปนระบบ จะสงผลกระทบตอความเชื่อมั่นในคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา นอกจากนี้ การดําเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู                                                             ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๖เปนงานที่ตองอยูบนพื้นฐานหลักการวิชาการและหลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาตองเปดโอกาสใหทุกฝายมีสวนรวมในรูปของคณะกรรมการฝายตางๆ อยางกวางขวาง รวมทั้งกําหนดใหคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษามีสวนรับผิดชอบ สําหรับสถานศึกษาขนาดเล็กคณะกรรมการตางๆ อาจแตงตั้งตามความเหมาะสม                                                        ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๗             ผูเกี่ยวของ                              ภารกิจ                                          จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และระเบียบ  คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ                                          วาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรู      วิชาการของสถานศึกษา                                                 ตามหลักสูตรสถานศึกษา                                          ใหความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน           และระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผล                                           การเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา            คณะกรรมการ                    การเทียบโอน        เทียบโอนผลการเรียน                 ผลการเรียน- ผูสอน/ ผูไดรับมอบหมาย- คณะอนุกรรมการกลุมสาระการเรียนรู      - จัดการเรียนรูและดําเนินการวัดและ                                        ระบบ  และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน                 ประเมินผลตามระเบียบวาดวยการวัดและ                                                                                                               การประกันคุณภาพ- คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน               ประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตร                                                                                                                ของสถานศึกษา  การอาน คิดวิเคราะหและเขียน            สถานศึกษา- คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน              - ใหความเห็นชอบ/ตัดสินผลการ  คุณลักษณะอันพึงประสงค                   ประเมินรายป/รายภาคตามแตกรณี  (ร.ร.ขนาดเล็กอาจเปนคณะกรรมการ  ชุดเดียวกัน)  คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ      วิชาการของสถานศึกษา                    ใหความเห็นชอบผลการประเมิน                                         - อนุมัติผลการประเมินรายป/รายภาค        ผูบริหารสถานศึกษา                                         - ตัดสินและอนุมัติการเลื่อนชั้น                                           ซ้ํารายวิชา/ซ้ําชั้น การจบการศึกษา- งานวัดผล                                   จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา- งานทะเบียน- ครูที่ปรึกษา                                              - รายงานผลตอผูเกี่ยวของ- ครูแนะแนว                                              - นําขอมูลไปใชวางแผน/พัฒนา- คณะกรรมการที่ไดรบมอบหมาย                   ั          แผนภาพที่ ๑.๑ แสดงการบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา                                                                               ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๘ตารางที่ ๑.๑ แสดงภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรูของบุคลากรฝายตางๆ             ผูปฏิบัติ        บทบาทหนาที่ในการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู     ๑. คณะกรรมการ           ๑.๑ ใหความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา และระเบียบการวัดและ        สถานศึกษา         ประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา        ขั้นพื้นฐาน          ๑.๒ ใหความเห็นชอบตอเกณฑและแนวปฏิบัติในการวัดและประเมิน                                  - การเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง ๘ กลุม                                                                                                                   - ความสามารถในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน                                   - คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา                                   - กิจกรรมพัฒนาผูเรียน                             ๑.๓ ใหความเห็นชอบกระบวนการและวิธการสอนซอมเสริมการแกไข                                                                       ี                          ผลการเรียนและอื่นๆ                             ๑.๔ กํากับ ติดตามการดําเนินการจัดการเรียนการสอนตามกลุมสาระ                          การเรียนรู การพัฒนาความสามารถดานการอาน คิดวิเคราะหและเขียน                          การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคและการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน                             ๑.๕ กํากับ ติดตาม การวัดและประเมินผล และการตัดสินผลการเรียน     ๒. คณะกรรมการ              ๒.๑ กําหนดระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตาม        บริหารหลักสูตร    หลักสูตรสถานศึกษา        และวิชาการของ           ๒.๒ กําหนดแผนการประเมินผลการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลาง        สถานศึกษา         และสาระเพิ่มเติมของรายวิชาตางๆ ในแตละกลุมสาระการเรียนรู                          โดยวิเคราะหจากมาตรฐานการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูและจัดทํา                          รายวิชาพรอมเกณฑการประเมิน                                ๒.๓ กําหนดสิงที่ตองการประเมินในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน                                            ่                          คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา กิจกรรมพัฒนาผูเรียน                          ของสถานศึกษาพรอมเกณฑการประเมินและแนวทางการปรับปรุงแกไข                          ผูเรียน                                ๒.๔ กําหนดการทบทวนการพัฒนาสมรรถนะสําคัญของผูเรียน                                ๒.๕ ใหขอเสนอแนะ ขอหารือเกี่ยวกับวิธการเทียบโอนผลการเรียน                                                                      ี                          ใหเปนไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนของ                          กระทรวงศึกษาธิการ..                                                           ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๙          ผูปฏิบัติ           บทบาทหนาทีในการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู                                            ่๓. คณะอนุกรรมการ            ๓.๑ กําหนดแนวทางการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูตางๆ                                                                                         กลุมสาระการเรียนรู การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนพรอมแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู   และกิจกรรมพัฒนา          ๓.๒ สนับสนุนการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน การวัด   ผูเรียน             และประเมินผลการเรียนรูและตัดสินผลการเรียนตามแนวทางที่กาหนดไว                                                                                    ํ                            ๓.๓ พิจารณาใหความเห็นชอบผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู                        สาระการเรียนรูรายป/รายภาคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน๔. คณะกรรมการพัฒนา          ๔.๑ กําหนดแนวทางในการพัฒนาและการประเมินความสามารถ   และประเมินการอาน การอาน คิดวิเคราะหและเขียนของผูเรียน   คิดวิเคราะหและเขียน     ๔.๒ ดําเนินการประเมินความสามารถการอาน คิดวิเคราะหและเขียน                            ๔.๓ ตัดสินผลการพัฒนาความสามารถการอาน คิดวิเคราะหและเขียน                        ของผูเรียนรายป/รายภาคและการจบการศึกษาแตละระดับ๕. คณะกรรมการพัฒนา          ๕.๑ กําหนดแนวทางการพัฒนา แนวทางการประเมินเกณฑการประเมิน   และประเมิน           และแนวทางการปรับปรุงแกไขคุณลักษณะอันพึงประสงค   คุณลักษณะ                ๕.๒ พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค รายป/   อันพึงประสงค        รายภาคและการจบการศึกษาแตละระดับ   ของสถานศึกษา             ๕.๓ จัดระบบการปรับปรุงแกไขคุณลักษณะอันพึงประสงคดวยวิธีการ                        อันเหมาะสมและสงตอขอมูลเพื่อการพัฒนาอยางตอเนือง ่๖. คณะกรรมการ               ๖.๑ จัดทําสาระ เครื่องมือ และวิธีการเทียบโอนใหเปนไปตามแนว   เทียบโอนผลการเรียน ปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนเขาสูการศึกษาในระบบระดับ                        การศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา                        ขั้นพื้นฐาน (สิงหาคม ๒๕๔๙)                            ๖.๒ ดําเนินการเทียบโอนผลการเรียนใหกบผูเรียนที่รองขอ                                                                     ั                            ๖.๓ ประมวลผลและตัดสินผลการเทียบโอน                            ๖.๔ เสนอผลการเทียบโอนตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ                        ของสถานศึกษาใหความเห็นชอบและเสนอผูบริหารสถานศึกษาตัดสิน                        อนุมติการเทียบโอน                             ั๗. ผูบริหารสถานศึกษา       ๗.๑ เปนเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืนฐาน    ้                            ๗.๒ เปนประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของ                        สถานศึกษา                            ๗.๓ อนุมัติผลการประเมินผลการเรียนรายป/รายภาค และตัดสินอนุมัติ                        การเลื่อนชั้นเรียน การซ้ําชั้น การจบการศึกษา                            ๗.๔ ใหคําแนะนําขอปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดําเนินงานแกบุคลากร                        ในสถานศึกษา                            ๗.๕ กํากับ ติดตามใหการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียน                        บรรลุเปาหมาย                            ๗.๖ นําผลการประเมินไปจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน กําหนด                        นโยบายและวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา                                                         ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๑๐         ผูปฏิบัติ          บทบาทหนาทีในการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู                                            ่ ๘. ผูสอน                  ๘.๑ จัดทําหนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู แผนการประเมินผล                       การเรียนรูในรายวิชาที่รับผิดชอบ                            ๘.๒ ทําการวัดและประเมินผลระหวางเรียนควบคูกบการจัดกิจกรรม                                                                             ั                       การเรียนรูตามแผนที่กําหนดพรอมกับปรับปรุงแกไขผูเรียนที่มขอบกพรอง                                                                                     ี                            ๘.๓ ประเมินตัดสินผลการเรียนรูของผูเรียนในรายวิชาที่สอน หรือกิจกรรม                       ที่รับผิดชอบเมื่อสิ้นสุดการเรียนรายป/รายภาค สงหัวหนากลุมสาระการเรียนรู                       หรือกิจกรรมพัฒนาผูเรียน                            ๘.๔ นําผลการประเมินไปวิเคราะหเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน                            ๘.๕ ตรวจสอบสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๙. งานวัดผล                ๙.๑ สงเสริมพัฒนาระบบและเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู                       ดานตางๆ แกครูและบุคลากรของสถานศึกษา                            ๙.๒ ใหคําปรึกษา ติดตาม กํากับการวัดและประเมินผลการเรียนรูของ                       สถานศึกษาใหเปนไปตามหลักวิชาการและแนวทางที่สถานศึกษากําหนดไว                            ๙.๓ ตรวจสอบ กลั่นกรอง ปรับปรุงคุณภาพของวิธการ เครื่องมือวัด                                                                              ี                       และประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา                            ๙.๔ ปฏิบัติงานรวมกับนายทะเบียนในการรวบรวม ตรวจสอบและ                       ประมวลผลการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน ๑๐. งานทะเบียน             ๑๐.๑ ปฏิบัติงานรวมกับครูวดผลในการรวบรวม ตรวจสอบและบันทึก                                                        ั                       ผลการประมวลขอมูลผลการเรียนของผูเรียนแตละคน                            ๑๐.๒ ตรวจสอบและสรุปขอมูลผลการเรียนของผูเรียนรายบุคคล                       แตละชั้นปและเมื่อจบการศึกษา เพื่อเสนอรายชื่อผูมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ                       ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาใหความเห็นชอบ                       และเสนอใหผูบริหารสถานศึกษาตัดสินและอนุมัติผลการเลื่อนชั้นเรียน                       และจบการศึกษาแตละระดับ                            ๑๐.๓ จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา          หมายเหตุ ๑. กรณีโรงเรียนขนาดเล็กทีแตงตั้งคณะกรรมการเพียงชุดเดียว คณะกรรมการนั้น                                            ่ตองปฏิบัติตามบทบาทและภารกิจขอ ๒-๖ ใหครบถวน                    ๒. ใหคณะกรรมการประกันคุ ณภาพของสถานศึกษา มีหนาที่กํากับ ติดตามสนับสนุน ใหเปนไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู                                                            ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๑๑    การสนับสนุนดานการวัดและประเมินผลการเรียนรูจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา    หรือหนวยงานตนสังกัด           สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดมีบทบาทหนาที่สนับสนุนการดําเนินงานของสถานศึกษาในดานตางๆ รวมทั้งการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรสนับสนุนการดําเนินการของสถานศึกษาดังนี้           ๑. การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา           ๒. การสรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรในสถานศึกษาที่เกี่ยวกับการวัดและ ประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และการเทียบโอนผลการเรียน           ๓. การสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูตางๆ การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน           ๔. การสงเสริมใหครู บุคลากรในสถานศึกษามีความรูความเขาใจในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตลอดจนความเขาใจในเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลรูปแบบตางๆ โดยเนนการประเมินตามสภาพจริง เชน การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินดวยแฟมสะสมงาน หรือการประเมินดวยการสื่อสารสวนบุคคล เชน การซักถาม การสัมภาษณ เปนตน           ๕. การสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาพัฒนาเครื่องมือ บริหารจัดการการวัดและประเมินผลการเรียนรูและการจัดเก็บเอกสารหลักฐานการศึกษาอยางเปนระบบ           ๖. การใหคําปรึกษา แนะนําเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู การจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา           ๗. การประเมินคุณภาพผูเรียนที่ดําเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดและระดับชาติ           ๘. อื่นๆ ตามความเหมาะสม                                                                ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๒. แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑๓      หลักการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา      ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑               การวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ เปนกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู และพัฒนาการดานตาง ๆ ของผูเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นําผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูและใชเปนขอมูลสําหรับการตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาตองมีกระบวนการจัดการที่เปนระบบ เพื่อใหการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนไปอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ และใหผลการประเมินตรงตามความรู ความสามารถที่แทจริงของผูเรียนถูกตองตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูรวมทั้งสามารถรองรับการประเมินภายในและการประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาไดสถานศึกษาจึงควรกําหนดหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูเพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้               ๑. สถานศึกษาเปนผูรับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน โดยเปดโอกาสใหผูที่เกี่ยวของมีสวนรวม               ๒. การวั ด และการประเมิ น ผลการเรี ย นรู มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ พั ฒ นาผู เ รี ย น และตั ด สิ นผลการเรียน               ๓. การวัดและประเมินผลการเรียนรูตองสอดคลองและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดตามกลุมสาระการเรียนรูที่กําหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดใหมีการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผูเรียน               ๔. การวั ดและประเมิ นผลการเรียนรูเปนส วนหนึ่งของกระบวนการจั ดการเรียนการสอนตองดําเนินการดวยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อใหสามารถวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางรอบดานทั้งดานความรู ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ตองการวัด ธรรมชาติวิชาและระดับชั้นของผูเรียน โดยตั้งอยูบนพื้นฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรม และเชื่อถือได               ๕. การประเมินผูเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา               ๖. เปดโอกาสใหผูเรียนและผูมีสวนเกี่ยวของตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู               ๗. ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนระหวางสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาตาง ๆ               ๘. ใหสถานศึกษาจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเปนหลักฐานการประเมินผลการเรียนรูรายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของผูเรียน                                                                      ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
๑๔    องคประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา    ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑            หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดจุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแขงขันในเวทีระดับโลก กําหนดใหผูเรียนไดเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดที่กําหนดในสาระการเรียนรู ๘ กลุมสาระมีความสามารถดานการอาน คิดวิเคราะห และเขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค และเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน            องคประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรูมีความสัมพันธ ดังแผนภาพที่ ๒.๑                          การเรียนรู                                  การอาน                         ๘ กลุมสาระ                            คิดวิเคราะห และเขียน                                              คุณภาพผูเรียน                           คุณลักษณะ                                   กิจกรรม                         อันพึงประสงค                               พัฒนาผูเรียน        แผนภาพที่ ๒.๑ แสดงความสัมพันธขององคประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู             ๑. การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู                ผูสอนทําการวัดและประเมินผลการเรียนรูผูเรียนเปนรายวิชาตามตัวชี้วัดในรายวิชาพืนฐาน                                                                                                ้และตามผลการเรียนรูในรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กําหนดในหนวยการเรียนรู ผูสอนใชวิธีการที่หลากหลายจากแหลงขอมูลหลายๆ แหลงเพื่อใหไดผลการประเมินที่สะทอนความรูความสามารถที่แทจริงของผูเรียนโดยทําการวัดและประเมินการเรียนรูอยางตอเนื่องไปพรอมกับการจัดการเรียนการสอน โดยสังเกตพัฒนาการและความประพฤติของผูเรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรม ผูสอนควรเนนการประเมินตามสภาพจริง เชน การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน หรือการประเมินจากแฟมสะสมงาน ฯลฯ ควบคูไปกับการใชการทดสอบแบบตาง ๆ อยางสมดุล ตองใหความสําคัญกับการประเมินระหวางเรียน มากกวาการประเมินปลายป/ปลายภาค และใชเปนขอมูลเพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบการศึกษาระดับตาง ๆ                                                                 ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551

More Related Content

What's hot

รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มรายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มSanchai San
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์Sarod Paichayonrittha
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายPanda Jing
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์Wes Yod
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์Tongsamut vorasan
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์opalz
 
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tongsamut vorasan
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languagedentyomaraj
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยTongsamut vorasan
 
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 

What's hot (20)

รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มรายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
Tri91 30++สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๑
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
ติวOne tsocial
ติวOne tsocialติวOne tsocial
ติวOne tsocial
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
 
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
ดงมรณะ5
ดงมรณะ5ดงมรณะ5
ดงมรณะ5
 

Viewers also liked

แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51krupornpana55
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Kanchit004
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1Artit Promratpan
 
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนaeimzaza aeimzaza
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (17)

แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
คู่มือการใช้โปรแกรม ปพ.1
 
แบบพิมพ์ปพ
แบบพิมพ์ปพแบบพิมพ์ปพ
แบบพิมพ์ปพ
 
ปพ.1
ปพ.1ปพ.1
ปพ.1
 
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
คำอธิบายรายวิชาและวิเคราห็ผลการเรียนรู้ วิชาทฤษฎีความรู้ Tok ครูกอบวิทย์
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทฤษฎีความรู้ (Tok) กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ นายก...
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

More from Chao Chao

สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาChao Chao
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมChao Chao
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะChao Chao
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีChao Chao
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศChao Chao
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมChao Chao
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์Chao Chao
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Chao Chao
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551Chao Chao
 
ปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะChao Chao
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลChao Chao
 
040854Thailand go green
040854Thailand go green040854Thailand go green
040854Thailand go greenChao Chao
 
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก140555เอกสารค่ายโอลิมปิก
140555เอกสารค่ายโอลิมปิกChao Chao
 
140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิก
140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิก140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิก
140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิกChao Chao
 
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1Chao Chao
 
9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศ
9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศ9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศ
9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศChao Chao
 
อบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้น
อบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้นอบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้น
อบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้นChao Chao
 
050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง
050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง
050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงChao Chao
 
170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพ
170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพ170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพ
170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพChao Chao
 

More from Chao Chao (20)

สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน2551
 
ปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะปอเปี๊ยะ
ปอเปี๊ยะ
 
ถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิลถ่านไม้รีไซเคิล
ถ่านไม้รีไซเคิล
 
040854Thailand go green
040854Thailand go green040854Thailand go green
040854Thailand go green
 
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก140555เอกสารค่ายโอลิมปิก
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก
 
140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิก
140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิก140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิก
140555หนังสือคำสั่งค่ายโอลิมปิก
 
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1
140555เอกสารค่ายโอลิมปิก1
 
9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศ
9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศ9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศ
9กพ55ค่ายเยาวชนตะลุยอวกาศ
 
อบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้น
อบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้นอบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้น
อบรมครูดาราศาสตร์เบื้องต้น
 
050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง
050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง
050355ครูผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง
 
170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพ
170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพ170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพ
170654 bio gang บันทึกความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Recently uploaded

FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaranFAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaransekolah233
 
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...Nguyen Thanh Tu Collection
 
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmibookbahareshariat
 
مختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرض
مختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرضمختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرض
مختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرضأنور غني الموسوي
 
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...Nguyen Thanh Tu Collection
 

Recently uploaded (9)

FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaranFAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
FAIL REKOD PENGAJARAN.pptx fail rekod pengajaran
 
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 1 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
Energy drink .
Energy drink                           .Energy drink                           .
Energy drink .
 
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
 
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 4 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
 
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali AzmiBahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
Bahare Shariat Jild 2 By SadurshSharia Mufti Amjad Ali Azmi
 
مختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرض
مختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرضمختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرض
مختصر علم احكام القرآن فقه القرآن وفق منهج العرض
 
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
 

แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551

  • 1. เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑แนวปฏิบัตการวัดและประเมินผลการเรียนรู ิ ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารอง การใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดมีคําสั่งใหใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ ในโรงเรียนตนแบบและโรงเรียนที่มีความพรอมการใชหลักสูตร ในปการศึกษา ๒๕๕๒ และใช ใ นโรงเรี ย นทั่ ว ประเทศในป ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๓ หลั ก สู ต รนี้ เ ป น หลั ก สู ต รที่ ใ ช แ นวคิ ด หลั ก สู ต รอิงมาตรฐาน (Standard-based Curriculum) กลาวคือ เปนหลักสูตรที่กําหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยในมาตรฐานการเรียนรูไดระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติไดเมื่อสําเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของในการจัดการศึกษาไดยึดเปนแนวทางในการดําเนินการพัฒนาและสงเสริมใหผูเรียนไดบรรลุคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูดังกลาว ดวยการดําเนินการบริหารจัดการอิงมาตรฐาน (Standard-based Administration) การจัดการเรียนรูที่มีมาตรฐานเปนเปาหมาย (Standard-based Instruction) การวัดและประเมินผลที่สะทอนมาตรฐาน (Standard-basedAssessment) เพื่อใหกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้ นฐานจึง ไดจัด ทําเอกสารประกอบหลัก สูตรเพื่ออธิ บายขยายความใหผูเกี่ยวของทุกฝายทั้งระดับชาติ ทองถิ่น และสถานศึกษา มีความเขาใจที่ชัดเจน ตรงกัน รวมทั้งรวมกันรับผิดชอบและทํางานรวมกันอยางเปนระบบ เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่จัดทําขึ้นประกอบเอกสารจํานวน ๓ เลม คือ เลมที่ ๑ แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ใหขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาและใชหลักสูตรตลอดแนว ทั้งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรอบหลักสูตรระดับทองถิ่น และหลักสูตรสถานศึกษา ตลอดจนแนวคิดสําคัญของการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผลในชั้นเรียนนอกจากนั้นยังสื่อสารกับหนวยงานที่เกี่ยวของใหเขาใจถึงบทบาทหนาที่ในการสงเสริมสนับสนุน และกํากับดูแลการจัดการศึกษา เลมที่ ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู ใหขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดการจัดการเรียนรูที่มีมาตรฐานเปนเปาหมาย สื่อการจัดการเรียนรู การจัดทําคําอธิบายรายวิชา การจัดทําหนวยการเรียนรู ตลอดจนแนวทางการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู เลมที่ ๓ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู ใหขอมูลเกี่ยวกับขอแนะนําในการจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีในการวัดและประเมินผลการเรียนรูที่ถูกตองตามหลักวิชา แนวทางวัดและประเมินผลการเรียนรูในระดับชั้นเรียนที่นําไปสูการพัฒนาผูเรียนใหเต็มศักยภาพบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคล
  • 3. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญแตละสาขาคณาจารย ศึ ก ษานิ เ ทศก ผู บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ครู ผู ส อน และผู เ กี่ ย วข อ ง ตลอดจนนั ก วิ ช าการของสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา และหนวยงานตางๆ ที่มีสวนเกี่ยวของในการจัดทําเอกสารฉบับนี้ใหสําเร็จลุลว งดวยดี หวังวาเอกสารประกอบการใชหลักสูตรทั้ง ๓ เลมนี้ จะเปนประโยชน สําหรั บผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหสามารถพัฒนาหลักสูตร จัดการเรียนรู และดําเนินการวัดและประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาเยาวชนไทยใหมีความรู ความสามารถมีทักษะกระบวนการคิด เปนคนดี มีคุณธรรม และดํารงชีวิตในสังคมไดอยางเปนสุข หากทานมีขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไข อันจะชวยใหเอกสารมีความสมบูรณ สามารถ นําไปปฏิบัติไดอยางแทจริง โปรดสงขอคิดเห็นมาที่ กลุมพัฒนาหลักสูตร สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา อาคาร สพฐ.๓ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ้ ถนนราชดําเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๗๔-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๗๗ ๕๗๗๒ e-mail : curriculum2551@gmail.com website : www.curriculum51.net สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน ้
  • 4. สารบัญ หนาคํานํา๑. บทนํา ๑ จุดมุงหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๒ การกํากับดูแลคุณภาพการศึกษา ๒ การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา ๔ การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู ๖ การขอรับการสนับสนุนดานการวัดและประเมินผลการเรียนรูจากสํานักงานเขตพืนที่้ การศึกษา หรือหนวยงานตนสังกัด ๑๑๒. แนวปฏิบติการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ั พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๒ หลักการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน ้ พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๓ องคประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๔ เกณฑการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๑๗ • ระดับประถมศึกษา ๑๗ การตัดสินผลการเรียน ๑๗ การใหระดับผลการเรียน ๑๘ การเลื่อนชั้น ๒๐ การเรียนซ้ําชัน ้ ๒๑ การสอนซอมเสริม ๒๑ เกณฑการจบระดับประถมศึกษา ๒๒ • ระดับมัธยมศึกษา ๒๓ การตัดสินผลการเรียน ๒๓ การใหระดับผลการเรียน ๒๔ การเปลี่ยนผลการเรียน ๒๖ - การเปลี่ยนผลการเรียน “ ๐ ” ๒๖ - การเปลี่ยนผลการเรียน “ ร ” ๒๗
  • 5. สารบัญ (ตอ) หนา - การเปลี่ยนผลการเรียน “ มส ” ๒๗ - การเปลี่ยนผลการเรียน “ มผ ” ๒๘ การเลื่อนชั้น ๒๙ การเรียนซ้ํา ๒๘ การสอนซอมเสริม ๒๙ เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน ๓๐ เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๓๐ การเทียบโอนผลการเรียน. ๓๒ การรายงานผลการเรียน ๓๗๓. ภารกิจของสถานศึกษาดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๔๒ กรอบการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ๔๔ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๔๔ • การประเมินผลการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู ๔๕ • การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ๔๕ • การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ๕๖ • การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๘๐๔. ภารกิจของผูสอนดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๘๗ ความหมายและความสําคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรูในชั้นเรียน ๘๙ ประเภทของการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๙๐ วิธีการและเครื่องมือวัดประเมินผลการเรียนรู ๙๑ หลักฐานการเรียนรูประเภทตาง ๆ ๙๗ เกณฑการประเมิน (Rubrics) และตัวอยางชิ้นงาน (Examplars) ๙๘ สมรรถนะสําคัญของผูเรียน : ประเมินอยางไร ๑๐๐ กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตร ๑๐๐
  • 6. สารบัญ (ตอ) หนา๕. เอกสารหลักฐานการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๐๗ เอกสารหลักฐานการศึกษาทีกระทรวงศึกษาธิการกําหนด ่ ๑๐๘ • ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ๑๐๘ • ประกาศนียบัตร (ปพ.๒) ๑๐๘ • แบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา (ปพ.๓) ๑๐๙ เอกสารหลักฐานการศึกษาทีสถานศึกษากําหนด ่ ๑๐๙ • แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา ๑๐๙ • แบบรายงานประจําตัวนักเรียน ๑๑๐ • ใบรับรองผลการเรียน ๑๑๐ • ระเบียนสะสม ๑๑๐ แนวปฏิบัตในการจัดทําระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ิ ๑๑๒ แนวปฏิบัตในการจัดทําประกาศนียบัตร (ปพ.๒) ิ ๑๔๒ แนวปฏิบัตในการจัดทําแบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา (ปพ.๓) ิ ๑๕๓ การสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษา ปพ.๑ ปพ.๒ และ ปพ.๓ ๑๖๙เอกสารอางอิง ๑๗๗ภาคผนวก ก ตัวอยางการกรอก ปพ.๑ : ป ปพ.๑ : บ และ ปพ.๑ : พ. ๑๗๙ ข นิยาม ตัวชี้วด และเกณฑการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ั ๑๘๕คณะทํางาน ๒๓๕
  • 7. สารบัญแผนภาพแผนภาพที่ หนา ๑.๑ แสดงระบบการบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๗ ๒.๑ แสดงความสัมพันธองคประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๑๔ ๒.๒ แสดงการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามรายกลุมสาระการเรียนรู ๑๕ ๒.๓ แสดงการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ๑๕ ๒.๔ แสดงการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ๑๖ ๒.๕ แสดงการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑๖ ๒.๖ แสดงกระบวนการตัดสินและแกไขผลการเรียนระดับมัธยมศึกษา ๓๑ ๓.๑ แสดงกรอบการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ๔๓ ๓.๒ แสดงกระบวนการดําเนินการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ๔๗ ๓.๓ แสดงขั้นตอนการดําเนินการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ของสถานศึกษา ๕๗ ๓.๔ แสดงขั้นตอนการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๘๓ ๔.๑ กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๑๐๒ ๕.๑ แสดงขั้นตอนการสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษาระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ๑๗๐ ๕.๒ แสดงขั้นตอนการสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษาประกาศนียบัตร (ปพ.๒) ๑๗๓
  • 8. สารบัญตารางตารางที่ หนา ๑.๑ แสดงการมอบหมายภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหบุคลากรฝายตาง ๆ ของสถานศึกษารับผิดชอบ ๘ ๓.๑ แสดงตัวอยางการออกแบบการวัดและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค ๖๔ ๔.๑ แสดงตัวอยางการประเมินแบบแยกประเด็น ๙๘ ๔.๒ แสดงตัวอยางเกณฑการประเมินแบบภาพรวมสําหรับประเมินการเขียนเรียงความ ๙๙
  • 10. จุดมุงหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู การวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นต อ งอยู บ นจุ ด มุ ง หมายพื้ น ฐานสองประการประการแรก คือ การวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียน โดยเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผลการเรียน และการเรียนรูของผูเรียนในระหวางการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง บันทึก วิเคราะห แปลความหมายขอมูลแลวนํามาใชในการสงเสริมหรือปรับปรุงแกไขการเรียนรูของผูเรียนและการสอนของครู การวัดและประเมิ น ผลกั บ การสอนจึ ง เป น เรื่ อ งที่ สั ม พั น ธ กั น หากขาดสิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใดการเรี ย นการสอนก็ ข าดประสิทธิภาพ การประเมินระหวางการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรูเชนนี้เปนการวัดและประเมินผลยอย (Formative assessment) ที่เกิดขึ้นในหองเรียนทุกวัน เปนการประเมินเพื่อใหรูจุดเดน จุดที่ตองปรับปรุง จึงเปนขอมูลเพื่อใชในการพัฒนา ในการเก็บขอมูลผูสอนตองใชวิธีการและเครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย เชน การสังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็นเพื่อใหไดมติขอสรุปของประเด็นที่กําหนด การใชแฟมสะสมงาน การใชภาระงานที่เนนการปฏิบัติ การประเมินความรูเดิม การใหผูเรียนประเมินตนเอง การใหเพื่อนประเมินเพื่อน และการใชเกณฑการใหคะแนน (Rubrics) สิ่งสําคัญที่สุดในการประเมินเพื่อพัฒนา คือ การใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนในลักษณะคําแนะนําที่เชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหมทําใหการเรียนรูพอกพูน แกไขความคิด ความเขาใจเดิมที่ไมถูกตอง ตลอดจนการใหผูเรียนสามารถตั้งเปาหมายและพัฒนาตนได จุดมุงหมายประการที่สอง คือ การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เปนการประเมินสรุปผลการเรียนรู (Summative assessment) ซึ่งมีหลายระดับ ไดแก เมื่อเรียนจบหนวยการเรียนจบรายวิชาเพื่อตัดสินใหคะแนนหรือใหระดับผลการเรียน ใหการรับรองความรูความสามารถของผูเรียนวาผานรายวิชาหรือไม ควรไดรับการเลื่อนชั้นหรือไม หรือสามารถจบหลักสูตรหรือไม ในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่ดีตองใหโอกาสผูเรียนแสดงออกซึ่งความรูความสามารถดวยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเกณฑผลการปฏิบัติมากกวาใชเปรียบเทียบระหวางนักเรียน การกํากับดูแลคุณภาพการศึกษา การจัดการศึกษาในปจจุบันนอกจากใหทั่วถึงแลวยังมุงเนนคุณภาพดวย ผูปกครอง สังคมและรัฐตองการเห็นหลักฐานอันเปนผลมาจากการจัดการศึกษา นั่นคือ คุณภาพของผูเรียนที่เปนไปตามมาตรฐานของหลักสูตร หนวยงานที่รับผิดชอบนับตั้งแตสถานศึกษา ตนสังกัด หนวยงานระดับชาติ ที่ไดรับมอบหมายจึงมีบทบาทหนาที่ในการตรวจสอบคุณภาพผูเรียนตามความคาดหวังของหลักสูตร ดังนั้นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงกําหนดใหมีการวัดและประเมินผลการเรียนรูใน ๔ ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติ ทุกระดับมีเจตนารมณเชนเดียวกันคือ ตรวจสอบความกาวหนาในการเรียนรูของผูเรียน เพื่อนําผลการประเมินมาใชเปนขอมูลในการพัฒนาอยางตอเนื่องตอไป ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 11. ♦ การประเมินระดับชั้นเรียน เปนการวัดและประเมินผลที่อยูในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอนดําเนินการเพื่อพัฒนาผูเรียนและตัดสินผลการเรียนในรายวิชา/กิจกรรมที่ตนสอน ในการประเมินเพื่อพัฒนา ผูสอนประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัดที่กําหนดเปนเปาหมายในแตละหนวยการเรียนรูดวยวิธีการตางๆ เชน การซักถามการสังเกต การตรวจการบาน การแสดงออกในการปฏิบัติ ผลงาน การแสดงกริยาอาการตางๆ ของผูเรียนตลอดเวลาที่จัดกิจกรรม เพื่อดูวาบรรลุตัว ชี้วัดหรือมีแนวโนมวาจะบรรลุตัวชี้วัดเพียงใด แลวแกไ ขขอบกพรองเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง การประเมินเพื่อตัดสินเปนการตรวจสอบ ณ จุดที่กําหนดตัดสินวา ผูเรียนมีผลอันเกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไมและมากนอยเพียงใด ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเก็บคะแนนของหนวยการเรียนรู หรือของการประเมินผลกลางภาคหรือปลายภาคตามรูปแบบการประเมินที่สถานศึกษากําหนด ผลการประเมินนอกจากจะใหเปนคะแนนหรือระดับผลการเรียนแกผูเรียนแลว ตองนํามาเปนขอมูลใชปรับปรุงการเรียนการสอนตอไปอีกดวย ♦ การประเมินระดับสถานศึกษา เปนการตรวจสอบผลการเรียนของผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และเปนการประเมินเพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาวาสงผลตอการเรียนรูของผูเรียนตามเปาหมายหรือไม ผูเรียนมีสิ่งที่ตองไดรับการพัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนําผลการเรียนของผูเรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติและระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูปกครองและชุมชน ♦ การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดําเนินการโดยประเมินคุณภาพของผูเรียนดวยวิธีการและเครื่ อ งมื อ ที่ เ ป น มาตรฐานที่ จั ด ทํ า และดํ า เนิ น การโดยเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา หรื อ ด ว ยความร ว มมื อ กั บหน ว ยงานต น สังกั ดและ / หรือ หน ว ยงานที่เกี่ย วของ นอกจากนี้ ยังสามารถดํา เนินการไดด ว ยการตรวจสอบขอมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 12. ♦ การประเมินระดับชาติ เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติ ตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เขารับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตางๆ เพื่อนําไปใชในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปนขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ ขอมูลการประเมินในระดับตางๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือปรับปรุงแกไข สงเสริมสนับสนุน เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลที่จําแนกตามสภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัยและพฤติกรรมกลุมผูเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุมผูเรียนที่มีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมินจึงเปนหัวใจของสถานศึกษาในการดําเนินการชวยเหลือผูเรียนไดทันทวงที อันเปนโอกาสใหผูเรียนไดรับการพัฒนาและประสบความสําเร็จในการเรียน การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรีย นรูตามหลัก สูตรสถานศึกษาใหสอดคลอง และเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เ ปนขอกําหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อใหบุคลากรที่เกี่ยวของทุกฝายถือปฏิบัติรวมกัน ระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาเปนกรอบภาระงานและแนวปฏิบัติดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ซึ่งจะตองเชื่อมโยงกับการเรียนรูเปนกระบวนการเดียวกัน สาระของระเบียบดังกลาวกําหนดบนพื้นฐานของนโยบายดานการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักวิชาหลักเกณฑการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ กฎระเบียบที่เกี่ยวของและแนวปฏิบัติที่สถานศึกษากําหนดเพิ่มเติม อันจะสะทอนคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษาที่จะชวยสรางความมั่นใจในกระบวนการดําเนินงานและสรางความเชื่อมั่นแกสังคม ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดวาการวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนกระบวนการพัฒนาปรับปรุงการเรียนรูของผูเรียนและตัดสินวาผูเรียนมีความรู ทักษะความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค อันเปนผลมาจากการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู/ ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 13. ๕ตัวชี้วัดในระดับใด สามารถที่จะไดรับการเลื่อนชั้นเรียน หรือจบการศึกษาไดหรือไม สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษาจะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เปนขอกําหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยควรมีสาระตอไปนี้เปนอยางนอย ๑. การตัดสินผลการเรียน ๒. การใหระดับผลการเรียน ๓. การรายงานผลการเรียน ๔. เกณฑการจบการศึกษา ๕. เอกสารหลักฐานการศึกษา ๖. การเทียบโอนผลการเรียน ๗. การประเมินคุณภาพผูเรียน การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรู การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา ครอบคลุมงาน ๒ สวนไดแก งานวัดและประเมินผลการเรียนรู และงานทะเบียน สถานศึกษาควรกําหนดใหมีผูรบผิดชอบในแตละ ังาน สําหรับสถานศึกษาขนาดเล็กอาจรวมงานทั้งสองและมอบหมายผูรับผิดชอบคนเดียว งานวัดและประเมินผลการเรียนรู มีหนาที่รับผิดชอบการดําเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล การเรียนรูกับผูสอนและผูเรียนตลอดจนดําเนินการเกี่ยวกับการสรางเสริมความเขมแข็งในเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหบุคลากรของสถานศึกษา งานทะเบียน รับผิดชอบดานเอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารการประเมินผลการจัดทําจัดเก็บและการออกเอกสารหลักฐานการศึกษาอยางเปนระบบ เปนตน ภาระงานวัดและประเมินผลการเรียนรูมีความเกี่ยวของกับฝายตางๆ ในสถานศึกษานับตั้งแตระดับนโยบายในการกําหนดนโยบายการวัดผล การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อใหบุคลากรทุกฝายที่เกี่ยวของถือปฏิบัติ และยังเกี่ยวของกับผูเรียนทุกคนตั้งแตเขาเรียนจนจบการศึกษาและออกจากสถานศึกษา จึงจําเปนที่สถานศึกษาตองวิเคราะหภาระงานกําหนดกระบวนการทํางานและผูรับผิดชอบแตละขั้นตอนอยางชัดเจนเหมาะสม แผนภาพที่ ๑.๑ นําเสนอการบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษาที่กําหนดขึ้นโดยนํานโยบายการจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตลอดจนหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมาวิเคราะหภาระงาน และตารางที่ ๑.๑ แสดงถึงการมอบหมายภารกิจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหแกบุคลากรฝายตางๆ ของสถานศึกษารับผิดชอบ การดําเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรูที่ไมเปนระบบ จะสงผลกระทบตอความเชื่อมั่นในคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา นอกจากนี้ การดําเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 14. ๖เปนงานที่ตองอยูบนพื้นฐานหลักการวิชาการและหลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาตองเปดโอกาสใหทุกฝายมีสวนรวมในรูปของคณะกรรมการฝายตางๆ อยางกวางขวาง รวมทั้งกําหนดใหคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษามีสวนรับผิดชอบ สําหรับสถานศึกษาขนาดเล็กคณะกรรมการตางๆ อาจแตงตั้งตามความเหมาะสม ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 15. ผูเกี่ยวของ ภารกิจ จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และระเบียบ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ วาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรู วิชาการของสถานศึกษา ตามหลักสูตรสถานศึกษา ใหความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผล การเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา คณะกรรมการ การเทียบโอน เทียบโอนผลการเรียน ผลการเรียน- ผูสอน/ ผูไดรับมอบหมาย- คณะอนุกรรมการกลุมสาระการเรียนรู - จัดการเรียนรูและดําเนินการวัดและ ระบบ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ประเมินผลตามระเบียบวาดวยการวัดและ การประกันคุณภาพ- คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน ประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตร ของสถานศึกษา การอาน คิดวิเคราะหและเขียน สถานศึกษา- คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน - ใหความเห็นชอบ/ตัดสินผลการ คุณลักษณะอันพึงประสงค ประเมินรายป/รายภาคตามแตกรณี (ร.ร.ขนาดเล็กอาจเปนคณะกรรมการ ชุดเดียวกัน) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและ วิชาการของสถานศึกษา ใหความเห็นชอบผลการประเมิน - อนุมัติผลการประเมินรายป/รายภาค ผูบริหารสถานศึกษา - ตัดสินและอนุมัติการเลื่อนชั้น ซ้ํารายวิชา/ซ้ําชั้น การจบการศึกษา- งานวัดผล จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา- งานทะเบียน- ครูที่ปรึกษา - รายงานผลตอผูเกี่ยวของ- ครูแนะแนว - นําขอมูลไปใชวางแผน/พัฒนา- คณะกรรมการที่ไดรบมอบหมาย ั แผนภาพที่ ๑.๑ แสดงการบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 16. ๘ตารางที่ ๑.๑ แสดงภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรูของบุคลากรฝายตางๆ ผูปฏิบัติ บทบาทหนาที่ในการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๑. คณะกรรมการ ๑.๑ ใหความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา และระเบียบการวัดและ สถานศึกษา ประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑.๒ ใหความเห็นชอบตอเกณฑและแนวปฏิบัติในการวัดและประเมิน - การเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง ๘ กลุม  - ความสามารถในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน - คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา - กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๓ ใหความเห็นชอบกระบวนการและวิธการสอนซอมเสริมการแกไข ี ผลการเรียนและอื่นๆ ๑.๔ กํากับ ติดตามการดําเนินการจัดการเรียนการสอนตามกลุมสาระ การเรียนรู การพัฒนาความสามารถดานการอาน คิดวิเคราะหและเขียน การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคและการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๑.๕ กํากับ ติดตาม การวัดและประเมินผล และการตัดสินผลการเรียน ๒. คณะกรรมการ ๒.๑ กําหนดระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตาม บริหารหลักสูตร หลักสูตรสถานศึกษา และวิชาการของ ๒.๒ กําหนดแผนการประเมินผลการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลาง สถานศึกษา และสาระเพิ่มเติมของรายวิชาตางๆ ในแตละกลุมสาระการเรียนรู โดยวิเคราะหจากมาตรฐานการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูและจัดทํา รายวิชาพรอมเกณฑการประเมิน ๒.๓ กําหนดสิงที่ตองการประเมินในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ่ คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ของสถานศึกษาพรอมเกณฑการประเมินและแนวทางการปรับปรุงแกไข ผูเรียน ๒.๔ กําหนดการทบทวนการพัฒนาสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๒.๕ ใหขอเสนอแนะ ขอหารือเกี่ยวกับวิธการเทียบโอนผลการเรียน ี ใหเปนไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนของ กระทรวงศึกษาธิการ.. ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 17. ผูปฏิบัติ บทบาทหนาทีในการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ่๓. คณะอนุกรรมการ ๓.๑ กําหนดแนวทางการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูตางๆ  กลุมสาระการเรียนรู การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนพรอมแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู และกิจกรรมพัฒนา ๓.๒ สนับสนุนการจัดการเรียนรู การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน การวัด ผูเรียน และประเมินผลการเรียนรูและตัดสินผลการเรียนตามแนวทางที่กาหนดไว ํ ๓.๓ พิจารณาใหความเห็นชอบผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู สาระการเรียนรูรายป/รายภาคและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน๔. คณะกรรมการพัฒนา ๔.๑ กําหนดแนวทางในการพัฒนาและการประเมินความสามารถ และประเมินการอาน การอาน คิดวิเคราะหและเขียนของผูเรียน คิดวิเคราะหและเขียน ๔.๒ ดําเนินการประเมินความสามารถการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ๔.๓ ตัดสินผลการพัฒนาความสามารถการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ของผูเรียนรายป/รายภาคและการจบการศึกษาแตละระดับ๕. คณะกรรมการพัฒนา ๕.๑ กําหนดแนวทางการพัฒนา แนวทางการประเมินเกณฑการประเมิน และประเมิน และแนวทางการปรับปรุงแกไขคุณลักษณะอันพึงประสงค คุณลักษณะ ๕.๒ พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค รายป/ อันพึงประสงค รายภาคและการจบการศึกษาแตละระดับ ของสถานศึกษา ๕.๓ จัดระบบการปรับปรุงแกไขคุณลักษณะอันพึงประสงคดวยวิธีการ อันเหมาะสมและสงตอขอมูลเพื่อการพัฒนาอยางตอเนือง ่๖. คณะกรรมการ ๖.๑ จัดทําสาระ เครื่องมือ และวิธีการเทียบโอนใหเปนไปตามแนว เทียบโอนผลการเรียน ปฏิบัติเกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียนเขาสูการศึกษาในระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สิงหาคม ๒๕๔๙) ๖.๒ ดําเนินการเทียบโอนผลการเรียนใหกบผูเรียนที่รองขอ ั ๖.๓ ประมวลผลและตัดสินผลการเทียบโอน ๖.๔ เสนอผลการเทียบโอนตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ของสถานศึกษาใหความเห็นชอบและเสนอผูบริหารสถานศึกษาตัดสิน อนุมติการเทียบโอน ั๗. ผูบริหารสถานศึกษา ๗.๑ เปนเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืนฐาน ้ ๗.๒ เปนประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของ สถานศึกษา ๗.๓ อนุมัติผลการประเมินผลการเรียนรายป/รายภาค และตัดสินอนุมัติ การเลื่อนชั้นเรียน การซ้ําชั้น การจบการศึกษา ๗.๔ ใหคําแนะนําขอปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดําเนินงานแกบุคลากร ในสถานศึกษา ๗.๕ กํากับ ติดตามใหการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียน บรรลุเปาหมาย ๗.๖ นําผลการประเมินไปจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน กําหนด นโยบายและวางแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 18. ๑๐ ผูปฏิบัติ บทบาทหนาทีในการดําเนินงานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ่ ๘. ผูสอน ๘.๑ จัดทําหนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู แผนการประเมินผล การเรียนรูในรายวิชาที่รับผิดชอบ ๘.๒ ทําการวัดและประเมินผลระหวางเรียนควบคูกบการจัดกิจกรรม ั การเรียนรูตามแผนที่กําหนดพรอมกับปรับปรุงแกไขผูเรียนที่มขอบกพรอง ี ๘.๓ ประเมินตัดสินผลการเรียนรูของผูเรียนในรายวิชาที่สอน หรือกิจกรรม ที่รับผิดชอบเมื่อสิ้นสุดการเรียนรายป/รายภาค สงหัวหนากลุมสาระการเรียนรู หรือกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๘.๔ นําผลการประเมินไปวิเคราะหเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ๘.๕ ตรวจสอบสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๙. งานวัดผล ๙.๑ สงเสริมพัฒนาระบบและเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู ดานตางๆ แกครูและบุคลากรของสถานศึกษา ๙.๒ ใหคําปรึกษา ติดตาม กํากับการวัดและประเมินผลการเรียนรูของ สถานศึกษาใหเปนไปตามหลักวิชาการและแนวทางที่สถานศึกษากําหนดไว ๙.๓ ตรวจสอบ กลั่นกรอง ปรับปรุงคุณภาพของวิธการ เครื่องมือวัด ี และประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา ๙.๔ ปฏิบัติงานรวมกับนายทะเบียนในการรวบรวม ตรวจสอบและ ประมวลผลการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน ๑๐. งานทะเบียน ๑๐.๑ ปฏิบัติงานรวมกับครูวดผลในการรวบรวม ตรวจสอบและบันทึก ั ผลการประมวลขอมูลผลการเรียนของผูเรียนแตละคน ๑๐.๒ ตรวจสอบและสรุปขอมูลผลการเรียนของผูเรียนรายบุคคล แตละชั้นปและเมื่อจบการศึกษา เพื่อเสนอรายชื่อผูมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ ใหคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาใหความเห็นชอบ และเสนอใหผูบริหารสถานศึกษาตัดสินและอนุมัติผลการเลื่อนชั้นเรียน และจบการศึกษาแตละระดับ ๑๐.๓ จัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา หมายเหตุ ๑. กรณีโรงเรียนขนาดเล็กทีแตงตั้งคณะกรรมการเพียงชุดเดียว คณะกรรมการนั้น ่ตองปฏิบัติตามบทบาทและภารกิจขอ ๒-๖ ใหครบถวน ๒. ใหคณะกรรมการประกันคุ ณภาพของสถานศึกษา มีหนาที่กํากับ ติดตามสนับสนุน ใหเปนไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 19. ๑๑ การสนับสนุนดานการวัดและประเมินผลการเรียนรูจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือหนวยงานตนสังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดมีบทบาทหนาที่สนับสนุนการดําเนินงานของสถานศึกษาในดานตางๆ รวมทั้งการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรสนับสนุนการดําเนินการของสถานศึกษาดังนี้ ๑. การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ๒. การสรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรในสถานศึกษาที่เกี่ยวกับการวัดและ ประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และการเทียบโอนผลการเรียน ๓. การสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูตางๆ การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๔. การสงเสริมใหครู บุคลากรในสถานศึกษามีความรูความเขาใจในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตลอดจนความเขาใจในเทคนิควิธีการวัดและประเมินผลรูปแบบตางๆ โดยเนนการประเมินตามสภาพจริง เชน การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินดวยแฟมสะสมงาน หรือการประเมินดวยการสื่อสารสวนบุคคล เชน การซักถาม การสัมภาษณ เปนตน ๕. การสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาพัฒนาเครื่องมือ บริหารจัดการการวัดและประเมินผลการเรียนรูและการจัดเก็บเอกสารหลักฐานการศึกษาอยางเปนระบบ ๖. การใหคําปรึกษา แนะนําเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู การจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา ๗. การประเมินคุณภาพผูเรียนที่ดําเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดและระดับชาติ ๘. อื่นๆ ตามความเหมาะสม ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 21. ๑๓ หลักการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ การวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ เปนกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู และพัฒนาการดานตาง ๆ ของผูเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นําผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูและใชเปนขอมูลสําหรับการตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาตองมีกระบวนการจัดการที่เปนระบบ เพื่อใหการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนไปอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ และใหผลการประเมินตรงตามความรู ความสามารถที่แทจริงของผูเรียนถูกตองตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูรวมทั้งสามารถรองรับการประเมินภายในและการประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาไดสถานศึกษาจึงควรกําหนดหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูเพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้ ๑. สถานศึกษาเปนผูรับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน โดยเปดโอกาสใหผูที่เกี่ยวของมีสวนรวม ๒. การวั ด และการประเมิ น ผลการเรี ย นรู มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ พั ฒ นาผู เ รี ย น และตั ด สิ นผลการเรียน ๓. การวัดและประเมินผลการเรียนรูตองสอดคลองและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดตามกลุมสาระการเรียนรูที่กําหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดใหมีการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๔. การวั ดและประเมิ นผลการเรียนรูเปนส วนหนึ่งของกระบวนการจั ดการเรียนการสอนตองดําเนินการดวยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อใหสามารถวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางรอบดานทั้งดานความรู ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ตองการวัด ธรรมชาติวิชาและระดับชั้นของผูเรียน โดยตั้งอยูบนพื้นฐานความเที่ยงตรง ยุติธรรม และเชื่อถือได ๕. การประเมินผูเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา ๖. เปดโอกาสใหผูเรียนและผูมีสวนเกี่ยวของตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู ๗. ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนระหวางสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาตาง ๆ ๘. ใหสถานศึกษาจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเปนหลักฐานการประเมินผลการเรียนรูรายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของผูเรียน ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ
  • 22. ๑๔ องคประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดจุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแขงขันในเวทีระดับโลก กําหนดใหผูเรียนไดเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดที่กําหนดในสาระการเรียนรู ๘ กลุมสาระมีความสามารถดานการอาน คิดวิเคราะห และเขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค และเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน องคประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรูมีความสัมพันธ ดังแผนภาพที่ ๒.๑ การเรียนรู การอาน ๘ กลุมสาระ คิดวิเคราะห และเขียน คุณภาพผูเรียน คุณลักษณะ กิจกรรม อันพึงประสงค พัฒนาผูเรียน แผนภาพที่ ๒.๑ แสดงความสัมพันธขององคประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๑. การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู ผูสอนทําการวัดและประเมินผลการเรียนรูผูเรียนเปนรายวิชาตามตัวชี้วัดในรายวิชาพืนฐาน ้และตามผลการเรียนรูในรายวิชาเพิ่มเติมตามที่กําหนดในหนวยการเรียนรู ผูสอนใชวิธีการที่หลากหลายจากแหลงขอมูลหลายๆ แหลงเพื่อใหไดผลการประเมินที่สะทอนความรูความสามารถที่แทจริงของผูเรียนโดยทําการวัดและประเมินการเรียนรูอยางตอเนื่องไปพรอมกับการจัดการเรียนการสอน โดยสังเกตพัฒนาการและความประพฤติของผูเรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรม ผูสอนควรเนนการประเมินตามสภาพจริง เชน การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน หรือการประเมินจากแฟมสะสมงาน ฯลฯ ควบคูไปกับการใชการทดสอบแบบตาง ๆ อยางสมดุล ตองใหความสําคัญกับการประเมินระหวางเรียน มากกวาการประเมินปลายป/ปลายภาค และใชเปนขอมูลเพื่อประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและการจบการศึกษาระดับตาง ๆ ฉบับใชในโรงเรียนโครงการนํารองการใชหลักสูตรฯ