SlideShare a Scribd company logo
1 of 229
Download to read offline
กคู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้            ฉบับสมบูรณ์                   โดย             ครรชิต พุทธโกษา   ที่ปรึกษาด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์   สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ             ธันวาคม 2554
ข                                         คานา            คู่มอการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูฉบับสมบูรณ์ ท่ท่านถืออยู่น้ี เป็ นเอกสาร                   ื                             ้            ีต่อเนื่องมาจากคูมอการสร้างต้นแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทีสานักงานคณะกรรมการวิจย                     ่ ื                                    ่                           ัแห่งชาติ (วช.) ได้จดทาและเผยแพร่ไปยังผูทเี่ กียวข้องแล้ว จานวน 6,000 เล่ม โดยได้รบ                           ั                 ้ ่                                      ัความสนใจและมีขอซักถามเกียวกับรายละเอียดเพิมเติมอยูบอยครัง ทาให้พบว่า คู่มอฯ ที่                         ้             ่             ่    ่ ่     ้                ืเผยแพร่ไปนัน เน้นความกระทัดรัด กล่าวถึงเฉพาะหลักสาคัญ ๆ และขันตอนในการสร้าง               ้                                                      ้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนองค์ประกอบสาคัญของชุมชนฯ ยังขาดรายละเอียดของวิธการปฏิบติ ซึงส่งผลให้ผทไม่มพนฐานหรือประสบการณ์ในเรื่องการสร้างและการพัฒนา    ี        ั ่                  ู้ ่ี ี ้ืชุมชนแห่งการเรียนรู้ ไม่เข้าใจเรื่องดังกล่าวได้อย่างชัดเจน ดังนัน จึงได้จดทาคู่มอฯ เล่ม                                                                ้        ั       ืนี้ข้น โดยเพิมเติมเนื้อหาสาระ รายละเอียด ตลอดจนตัวอย่างต่าง ๆ ไว้อย่างครบถ้วน      ึ          ่สมบูรณ์ พร้อมสาหรับผูทสนใจและเกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูทุกระดับ                             ้ ่ี                                              ้ได้ใช้เป็ นแนวทางดาเนินงาน และหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะเกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาชุมชน                                                   ่และประเทศชาติสบต่อไป   ื                                                  ครรชิต พุทธโกษา                                          ทีปรึกษาด้านการวิจยทางวิทยาศาสตร์                                            ่               ั                                          สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ                                                                  ั                                                     ธันวาคม 2554
ค                                         สารบัญ                                                       หน้าคํานํา                                                   ขสารบัญ                                                   คแนวคิดในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้                     1เทคนิคในการพัฒนาชุมชน                                    7       การประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน       (Rapid Rural Appraisal: RRA)                      7       การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม       (Participatory Rural Appraisal: PRA)             12       การวิจยปฏิบตการแบบมีส่วนร่วม              ั      ั ิ       (Partiicipatory Action Research: PAR)            15       การศึกษาวิเคราะห์ระบบชนบท       (Rural System Analysis: RSA)                     17       การวิเคราะห์ระบบชนบทนิเวศเกษตร       (Agro-ecosystem Analysis: AA)                    19       การวิเคราะห์ชุมชนด้วยความละเอียดอ่อน       (Soft System Analysis: SSA)                      21       เทคนิค A-I-C (Appreciation Influence Control)    23       กระบวนการเรียนรูทางสังคม                              ้       (Social Learning Process: SLP)                   25       TERMS MODEL                                      26การศึกษาชุมชน                                           29       ประเภทของการศึกษาชุมชน                           30       การเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชน                       32       การวิเคราะห์ขอมูลทีเก็บรวบรวมได้                        ้       ่                       65การค้นหาหรือคัดเลือกผูนําชุมชนและกรรมการชุมชน                            ้                           69       การค้นหาหรือคัดเลือกผูนําชุมชน                                  ้                     69       การคัดเลือกกรรมการชุมชน                          70       ประเภทของผูนํา ้                                 71       คุณสมบัตของผูนํา                  ิ       ้                             75       การพัฒนาศักยภาพของผูนําชุมชน ้                   80
ง                                             หน้าการกําหนดแผนการพัฒนาชุมชน                     82       ประโยชน์ของการวางแผน                   82       องค์ประกอบของการวางแผน                 83       ประเภทของการวางแผน                     84       กระบวนการกําหนดแผนการพัฒนาของชุมชน     85การประสานงานและการสร้างทีมงาน                106       การประสานงาน                          106       การสร้างทีมงาน                        116การถ่ายทอดเทคโนโลยี                          122       ประเภทของการฝึกอบรม                   123       ขันตอนของการฝึกอบรม         ้                                   124การสร้างแหล่งเรียนรูในชุมชน                    ้                        171       ประเภทของแหล่งการเรียนรูในชุมชน                                 ้           173       ศูนย์การเรียนรูชุมชน                       ้                     175การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชุมชน            201       ประเภทของกลุ่ม                        201       องค์ประกอบทีทาให้กลุ่มมีประสิทธิภาพ                      ่ ํ                    204       ขันตอนในการสร้างกลุ่ม           ้                                 205บรรณานุกรม                                   219
1             แนวคิดในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้        แนวคิดการพัฒนาชุมชนในอดีต มีความเชื่อเบืองต้นว่า ประชาชนส่วนใหญ่ในชนบทของ                                                    ้ประเทศยังล้าหลัง ด้อยการศึกษา ขาดจิตสํานึกในการพัฒนาท้องถิน มีฐานะยากจน และขาดแคลน                                                               ่    ัปจจัยต่าง ๆ ทีจาเป็ นต่อการดํารงชีพ ภาครัฐจึงจําเป็นจะต้องผลักดันนโยบายและทรัพยากร ตังแต่                ่ํ                                                                   ้ทิศทางการพัฒนา วิธการทํางาน ความรู้ การบริหารจัดการ ฯลฯ เข้าไปสู่ชุมชนในลักษณะของการ                       ีพัฒนาจากบนลงล่าง (Top Down) ทังทีในความเป็ นจริงหาได้เป็ นเช่นนันไม่ เพราะประชาชนส่วน                                   ้ ่                             ้ใหญ่ในชนบทเป็นผูมความคิด มีความรู้ มีประสบการณ์ มีจตสํานึกในการพัฒนาชุมชนและสามารถ                   ้ ี                                  ิพึงพาตนเองได้แล้วในระดับหนึ่ง การพัฒนาชุมชนตามแนวทางของรัฐในอดีตจึงมิอาจตอบสนองต่อ  ่ความต้องการและความจําเป็นทีแท้จริงของชุมชนได้ หลายครังหลายคราวทีพบว่าการพัฒนาชุมชนที่                                ่                         ้           ่ภาครัฐเป็นผูคดแทนและกําหนดทิศทางไว้แล้วนันเป็ นไปอย่างสูญเปล่า เนื่องจากหลงลืมไปว่าในการ            ้ ิ                               ้                           ้ ่ี              ี ่ี            ัพัฒนาชุมชนใดชุมชนหนึ่ง ผูทสามารถตอบได้ดทสุดว่าชุมชนมีปญหาหรือมีความต้องการอะไรก็คอ     ืคนในชุมชนนันนันเอง              ้ ่          จากความเป็ นจริงทีมอยู่น้ี จึงทําให้หลาย ๆ หน่วยงานปรับแนวคิดในการพัฒนาชุมชน                             ่ ีเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการทีแท้จริง โดยยึดหลักการพัฒนาจากล่างขึนบน (Bottom Up) ให้                                             ่                                        ้ชุมชนเป็ นผูคดและมีส่วนร่วมในการทํางานตังแต่เริมกําหนดนโยบาย จนสินสุดขันตอนสุดท้ายในการ             ้ ิ                                       ้     ่                    ้     ้ติดตามประเมินผล การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ หรือ การพัฒนาทีเ่ น้ นให้สมาชิ กชุมชนรู้จก         ัคิ ดวิ เคราะห์ด้วยเหตุด้วยผล และใช้ความรู้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาศักยภาพในด้านต่ าง ๆ                              ่ทังด้านเศรษฐกิ จ สังคม สิ งแวดล้อม ก็เช่นเดียวกัน ผลจากการพัฒนาทีเป็นอยูในปจจุบนแสดงให้   ้                                                                                ่     ่ ั ัเห็นแล้วว่า การนําความรูจากภายนอกในเรืองใดเรืองหนึ่งไปยัดเยียดให้กบชุมชน จะเป็นประโยชน์ก็                           ้                         ่     ่                    ัเพียงแค่ชวครังชัวคราวเท่านัน ไม่สามารถสร้างกระบวนการเรียนรูทยงยืน และไม่อาจนําพาประเทศ           ั่ ้ ่                 ้                                    ้ ่ี ั ่ไปสู่สงคมแห่งการเรียนรูในทิศทางทีตองการได้ หากแต่การปรับเปลียนยุทธศาสตร์การทํางานจาก        ั                ้                     ่ ้                        ่เดิมมาเป็ นการประสานความรูทมอยูแล้วภายในชุมชนและความรูหรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ จาก                                      ้ ่ี ี ่                     ้                                    ่              ัภายนอกชุมชนเข้าด้วยกัน เพือแก้ไขปญหาโดยยึดพืนทีและความต้องการของชุมชนเป็นหลัก โดย                                                               ้ ่หน่วยงานภาครัฐหรือองค์การพัฒนาเป็ นเพียงผูมบทบาทในการประสานและผลักดันกระบวนการมี                                                         ้ ีส่วนร่วมน่ าจะเป็ นทางออกทีส่งผลต่อการพัฒนาในระยะยาวและยังยืนมากกว่า                                ่                                    ่        หลักของการประสานความรูจากภายในและภายนอกชุมชนเข้าไปสู่การใช้ประโยชน์และสร้าง                                   ้                                                 ักระบวนการเรียนรูของชุมชน ไม่เพียงแต่เพื่อแก้ไขปญหาและสนองตอบต่อความต้องการของชุมชน                   ้ในเรืองใดเรืองหนึ่งเท่านัน แต่ควรจะเป็ นไปในลักษณะของการบูรณาการทีมการพัฒนาไปพร้อม ๆ    ่       ่            ้                                          ่ ีกัน ทังด้านเศรษฐกิจ สังคม กระบวนการเรียนรู้ และค่านิยมอันดีงาม อาทิเช่น      ้
2           1. การสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชนและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิต/ผลิตภัณฑ์ การเพิมผลิตภาพผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ชุมชน การเพิม                                                  ่                                                    ่ความสามารถในการประกอบอาชีพ และเพิมโอกาส/ทางเลือกในการทําอาชีพเสริม ส่งเสริมการ                                           ่รวมกลุ่มเกษตรกรรายย่อยของชุมชนในรูปแบบกลุ่มองค์กรเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน การพัฒนาและเสริมสร้างทักษะ ขีดความสามารถ รวมทังหลักการบริหารจัดการทีดแก่กลุ่มทีมศกยภาพและ                                              ้                                      ่ ี       ่ ี ัความพร้อมในการผลิตเชิงพาณิชย์เพื่อนําไปสู่การขยายผลในเชิงอุตสาหกรรมระดับสากล ตลอดจนการเชื่อมโยงต่อยอดห่วงโซ่การผลิตถึงขันเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อให้ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ม ี                                         ้มูลค่าเพิมทางเศรษฐกิจ (Valued Added) โดยราคาต่อหน่วยสูงขึน ต้นทุนการผลิตลดลง และหรือ           ่                                                                ้รายได้เพิมขึน รายจ่ายลดลง             ่ ้           2. การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรูแบบมีส่วนร่วม ทีเน้นการเรียนรูนอกห้องเรียน เพื่อ                                                ้                       ่                  ้เพิมทักษะและความสามารถของสมาชิกชุมชน ลดช่องว่างทางความรูระหว่างชุมชนเมืองและชุมชน     ่                                                                             ้ชนบท และให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรูตลอดชีวตทีสอดคล้องกับวิถชุมชน โดยให้ความสําคัญกับ                                       ้            ิ ่                        ีการใช้ชุมชนเป็ นฐานของการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้เข้าถึงความรูในทางตรงได้โดยง่าย ฝึกให้คดเป็น                                                                          ้                              ิทําเป็ น รวมทัง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างเป็นระบบตลอดกระบวนการ ตังแต่การ                 ้                                                                                   ้               ัวิเคราะห์ปญหา การแนะนํา การทดสอบ การสาธิต การตัดสินใจ การยอมรับและการประเมินผลโดยเฉพาะการปฏิบตรวมกันในทุกขันตอน เพื่อให้เกิดจิตสํานึกร่วมในการแก้ไขปญหาและพัฒนา                     ั ิ่            ้                                                       ัท้องถิน  ่           3. การสร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์และการอนุรกษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาที่                                                                  ัยังยืน และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน   ่                                                        ่ท้องถิน โดยให้ความสําคัญกับการสร้างจิตสํานึกและเผยแพร่ความรูความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้       ่                                                                         ้ทรัพยากรเพื่อการผลิตอย่างถูกวิธ ี ประหยัดและมีประสิทธิภาพ สนับสนุ นให้ชุมชนมีทางเลือกทําการผลิตทางการเกษตรทีหลากหลาย โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ                        ่                                                              ิ ั           4. การรักษาและเสริมสร้างศักยภาพของภูมปญญาท้องถินทีมอยูภายในชุมชน เน้นการ                                                                              ่ ่ ี ่                    ิ ัถ่ายทอดและนําภูมปญญาท้องถินมาใช้ประโยชน์ทงต่อการวิจยพัฒนาต่อยอด และการผลิตแปรรูป                                   ่                     ั้         ัเป็นผลิตภัณฑ์ โดยการสืบหา พัฒนาระบบการจัดเก็บเพื่อรวบรวมและจัดทําเป็ นฐานข้อมูลทางความรู้ ตลอดจนสร้างหลักประกันด้านสังคมให้ปราชญ์ชาวบ้าน อาทิ การสนับสนุนเงินทุนในการ                          ิ ั                        ู ิ ัรักษาและถ่ายทอดภูมปญญา สนับสนุ นการใช้ภมปญญาท้องถิน รวมทังความหลากหลายของศิลปะ                                                                      ่               ้และวัฒนธรรมไทยทังทีเป็ นวิถชวต ค่านิยมทีดงาม และความเป็ นไทยเพื่อการศึกษา เรียนรู้ ฟื้นฟู                       ้ ่      ี ีิ         ่ ีพัฒนา ถ่ายทอดและเผยแพร่ส่สงคมโลก                               ู ั           5. การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการเชื่อมโยงองค์ความรู้ และภูมปญญาท้องถิน         ิ ั       ่ตลอดจนพันธมิตรด้านกิจกรรมการพาณิชย์ระหว่างชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ทังภาครัฐและเอกชน         ้       นอกเหนือจากการถ่ายทอดความรูตามความต้องการทีแท้จริงของชุมชนแล้ว การสร้างชุมชน                                        ้               ่แห่งการเรียนรูจะเป็ นไปโดยสมบูรณ์ไม่ได้ หากสมาชิกชุมชนเหล่านันไม่ฝึกฝนตนเองให้มหลักคิด              ้                                              ้                 ี
3โดยใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาการเรียนรูของตนเองอย่างต่อเนื่อง ด้วยการแสวงหา สร้าง                                                                 ้พัฒนา จัดการและนําความรูไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นระบบ ดังนัน ภาครัฐจึงมีบทบาทสําคัญทีจะต้อง                                     ้                                           ้                                        ่กระตุนให้ชุมชนพัฒนากระบวนการเรียนรูอย่างสมํ่าเสมอ ด้วยการชัใ้ ห้เห็นความสําคัญ การสร้าง         ้                                                ้โอกาสในการเข้าถึงความรูทหลากหลาย ภายใต้กจกรรมการเรียนรูแบบมีส่วนร่วมทีเหมาะสม มุงให้                                ้ ่ี                        ิ                        ้                     ่                  ่เรียนรูจากประสบการณ์ตรงทีสมพันธ์กบการดํารงชีวตแบบค่อยเป็นค่อยไป รวมทังสร้างเครือข่าย           ้                           ่ ั              ั            ิ                                   ้การเรียนรูของชุมชนเพื่อเป็ นทางเลือกในการแลกเปลียนเรียนรูและสามารถอยูรวมกันกับสังคมอื่น               ้                                                       ่      ้                       ่่อย่างเข้าใจ             กิจกรรมการเรียนรูทสมพันธ์กบการดํารงชีวตของชุมชนดังกล่าวนัน ต้องคํานึงถึงพืนฐาน                                 ้ ่ี ั             ั              ิ                          ้                         ้ดังเดิม หรือมีการเปลียนแปลงวิถชวตเฉพาะในส่วนที่ตองการจะพัฒนาให้ดขน ไม่ได้เป็นการ   ้                      ่                    ี ีิ                      ้                      ี ้ึเปลียนแปลงอาชีพหรือวิธปฏิบตทงหมดในคราวเดียว หากต้องการจะเปลียนต้องให้แน่ใจว่าจะเป็ น       ่                       ี ั ิ ั้                                                     ่ผลดีต่อชุมชนจริง ๆ ทีสาคัญคือควรต้องเป็นกิจกรรมการเรียนรูทนอกจากจะเพิมพูนสติปญญาให้เท่า                            ่ํ                                                  ้ ่ี                   ่            ัทันกับการเปลียนแปลงต่าง ๆ แล้ว ยังควรต้องส่งผลต่อการพัฒนาโดยรวมทังทีมเี ป้าหมายเป็น                      ่                                                                            ้ ่ผลิตภัณฑ์มวลรวม หรือ การสร้างความกินดี ได้แก่ การสร้างรายได้ การลดรายจ่าย และทีม ี                                    ่เป้าหมายเป็นความพึงพอใจมวลรวม หรือ การสร้างความอยูดี ซึงได้แก่ความสุขทางจิตใจ อาทิ การ                                                                           ่ ่มีครอบครัวทีอบอุ่น พร้อมหน้า ได้รบการยอมรับในสังคม การมีวฒนธรรม ภูมปญญาทีธารงอยูอย่าง                 ่                                ั                                ั                 ิ ั       ่ํ           ่ยังยืน การมีสงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติทมคุณภาพและยังคงความอุดมสมบูรณ์ดวย     ่             ิ่                                       ่ี ี                                                  ้ขณะเดียวกันก็ตองไม่ละเลยกิจกรรมทีสร้างความเข้มแข็งให้กบสังคม เพื่อให้สมาชิกชุมชนมีความ                        ้                             ่                     ัเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน มีความรูสกรักหวงแหนผืนแผ่นดินเกิด และมีจตมุงมันทีจะพัฒนาชุมชนให้ดี                                           ้ ึ                                           ิ ่ ่ ่ยิงขึน การดําเนินการในประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ไม่สามารถทีจะดําเนินการโดยหน่วยงานใด  ่ ้                                                                                  ่หน่วยงานหนึ่งแต่เพียงลําพังหรือต่างคนต่างทําดังเช่นในอดีตได้ เพราะนอกจากจะสินเปลือง                          ้งบประมาณของประเทศโดยใช่เหตุแล้ว ยังทําให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปอย่างล่าช้าและไม่ครอบคลุมในทุกบริบทด้วย        ความจริงใจและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจเป็นสิงทีหน่วยงานต่าง ๆ จะต้องคํานึงถึงเพราะจะ                                                    ่ ่ช่วยกระตุ้นและทําให้ชุมชนเต็มใจทีจะร่วมดําเนินงาน การมีหน่วยงานสนับสนุนทีเข้มแข็งและได้รบ                                     ่                                         ่           ัความไว้วางใจจะทําให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปราบรืน รวดเร็ว การเข้าไปทํางานร่วมกับชุมชนจะต้อง                                                  ่สร้างการยอมรับให้ได้ว่าหน่ วยงานภาครัฐและชุมชนนัน ๆ เป็นพวกพ้วงเป็นพีเป็นน้อง ทีจะมา                                                     ้                       ่      ่ร่วมกันทํางานเพื่อพัฒนาชุมชน ไม่ได้เข้าไปเพื่อหาผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็ นผลประโยชน์ทางการเมือง ผลประโยชน์ทางตําแหน่งหน้าที่ หรือผลประโยชน์ทางวิชาการ การให้ความกันเอง ไม่ม พธ ี ี ิรีรอง หรือยึดพิธการมากนักเป็นเรืองสําคัญทีจะทําให้ชุมชนเกิดการยอมรับ ทังนี้จะต้องเป็นไปโดย                ี                  ่         ่                             ้ธรรมชาติ ไม่เสแสร้ง นอกจากนี้ ความต่อเนื่องของการดําเนินงานเป็ นสิงทีสาคัญ เพราะไม่มชุมชน                                                                   ่ ่ํ                ีใดทีจะเข้มแข็งอย่างยังยืนได้ในระยะเวลาสัน ๆ อย่างไรก็ตามเป็นเรืองยากทีจะดําเนินการในด้าน    ่                ่                     ้                   ่         ่                                         ัต่าง ๆ ให้เป็นไปต่อเนื่องได้ เนื่องจากมีปจจัยและองค์ประกอบหลายอย่างทีหน่ วยงานภาครัฐต่าง                                                                       ่ต้องประสบและรับทราบกันดี เช่น งบประมาณ ฯลฯ หากไม่สามารถส่งต่อการดําเนินงานให้
4หน่วยงานอื่น หรือหน่วยงานท้องถินรับไปดําเนินการได้ ก็จะต้องทําความเข้าใจและสร้างจิตสํานึก                               ่ให้กบชุมชนแต่แรกว่า ชุมชนจะต้องยืนอยูได้ดวยตนเองโดยไม่ตองพึงพาผูอ่น    ั                                ่ ้                  ้ ่      ้ ื        สํานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ หรือ วช. ได้สร้างชุมชนแห่งการเรียนรูตามแนวทาง                                  ั                                         ้ต่าง ๆ ข้างต้น มาตังแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึง พ.ศ. 2553 และพบว่า ชุมชนแห่งการเรียนรูทม ี                   ้                                                            ้ ่ีศักยภาพและมีโอกาสประสบผลสําเร็จ ต้องมีองค์ประกอบสําคัญ 7 ประการ คือ       1. มีผนําทีด:ี จะต้องมีผนําการเปลียนแปลงทีมวสยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถในการ             ู้ ่              ู้        ่       ่ ีิ ับริหารจัดการ การประสานงานและการกระตุนให้สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา                                    ้       2. มีกรรมการชุมชนทีมจริยธรรมและมีการบริหารจัดการชุมชนทีด:ี ต้องมีกรรมการชุมชนที่                         ่ ี                                  ่เข้มแข็ง มีความมุงมัน มีคุณธรรมจริยธรรม บริหารงานโปร่งใส                 ่ ่       3. มีความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชน มีสมาชิกชุมชนทีมคุณภาพและมีจตสํานึกเพื่อ                                                       ่ ี          ิส่วนรวม เข้ามาร่วมคิด ร่วมดําเนินการ ร่วมรับผิดชอบในทุกกระบวนการ                                              ั          4. มีกระบวนการเรียนรูเพื่อการแก้ไขปญหาและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง: จะต้องมีการ                               ้                            ัเรียนรู้ เพื่อใช้ในการแก้ไขปญหาและการพัฒนาอยูตลอดเวลา รวมทังต้องมีการถ่ายทอดความรู้                                                ่            ้ระหว่างชุมชนอย่างสมํ่าเสมอ       5. มีศกยภาพความพร้อมในเรื่องพืนฐานอาชีพ: จะต้องมีความเข้มแข็งในการพึงพาตนเอง             ั                       ้                                    ่และมีความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ จึงต้องได้รบการพัฒนาสมรรถนะและทักษะความ                                                   ัพร้อมในการประกอบอาชีพ โดยใช้ความรูในการปรับปรุง เปลียนแปลงให้เกิดกรรมวิธ ี/สิงใหม่ หรือ                                  ้                  ่                       ่พัฒนาให้ดกว่าเดิม         ี       6. มีการสร้างระบบการจัดเก็บและการนํามาใช้ขององค์ความรูทด : ต้องมีระบบการเก็บ                                                             ้ ่ี ีความรูทงความรูทมอยูภายในชุมชนและความรูภายนอกชุมชน รวมทัง ต้องรูจกสร้างและนําความรูทม ี      ้ ั้     ้ ่ี ี ่                      ้                    ้    ้ั         ้ ่ีอยูมาใช้ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เป็ นระบบ โดยเข้าใจได้ง่าย   ่       7. มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทังในและนอกชุมชน: ต้องมีความร่วมมือในด้านทุน                                          ้กิจกรรม วิชาการองค์ความรู้ การตลาด ฯลฯ มีการจัดการกลุ่มและเครือข่ายทีมประสิทธิภาพให้เกิด                                                                    ่ ีการพัฒนาอย่างเชื่อมโยง ประสานเกียวเนื่อง ครอบคลุมการพัฒนาในทุกบริบท                                ่       ดังแสดงในแผนภาพต่อไปนี้
5                                  มีระบบที่ดีในการจัดเก็บและการนามาใช้                              ของข้อมูลพืนฐาน องค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่ น                                         ้                                    คณะกรรมการชุมชนมีจริยธรรมและ                                      มีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี   มีเครือข่าย                                                                                  มีกระบวนการความร่วมมือทังใน               ้                                    ผูนาที่ดี                                                     ้                                      เรียนรูเพื่อการแก้ไข                                                                                                   ้ และนอกชุมชน                                                                                 ปัญหา และพัฒนา                                                                                            ชุมชนอย่างต่อเนื่ อง                                              สมาชิ กมีส่วนร่วม                                     มีจิตสานึ กและทัศนคติ ที่ดีต่อชุมชน                                 มีศกยภาพความพร้อมในเรืองพืนฐานอาชีพ                                    ั                  ่ ้          สําหรับการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรูของ วช. นัน ประกอบด้วยขันตอนต่าง ๆ คือ                                            ้         ้             ้                       ศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานของพื ้นที่ และค้ นหาผู้นาและแต่งตังกรรมการฯ                                                                              ้                     วิเคราะห์ จัดลาดับความสาคัญของปั ญหาและความต้ องการของพื ้นที่                          คัดเลือกผลงานที่วจยที่สอดคล้ องกับปั ญหา ความต้ องการ                                           ิั                   จัดเวทีชมชนทาความเข้ าใจกับสมาชิกชุมชน + กาหนดแผนการดาเนินงาน                           ุ      ดาเนินกิจกรรมตามแผน - ถ่ายทอดและประยุกต์ใช้ ผลการวิจย รวมทังสร้ างแหล่งเรี ยนรู้ในชุมชน                                                          ั      ้                           - ดาเนินกิจกรรมสาธารณะ                                         ประเมินผลการดาเนินงาน
6         คู่มอการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรูน้ี ถูกจัดทําขึนเพื่อนําเสนอแนวทางการดําเนินงานต่าง ๆ              ื                                    ้            ้ตามขันตอนข้างต้น สําหรับให้นกพัฒนาและเจ้าหน้าทีจากหน่วยงานทังภาครัฐ เอกชน หรือองค์กร       ้                      ั                            ่            ้การกุศลทีไม่แสวงหากําไร ได้ใช้เป็นแนวปฏิบตในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ โดยเป็นผลมา            ่                                        ั ิจากประสบการณ์ในการผลักดันผลการวิจยและองค์ความรูของประเทศไปใช้ประโยชน์ ควบคู่กบการ                                                 ั                  ้                      ัดําเนินกิจกรรมสาธารณะเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบชุมชน และจากการรวบรวมข้อมูลทีนกวิจย                                                         ั                            ่ ั ัและนักวิชาการหลาย ๆ ท่านได้ดาเนินการศึกษาและให้ความเห็นต่อสังคมไว้แล้ว ทังนี้ เป็นการ                                ํ                                                ้นําเสนอในภาพรวมเพื่อให้เกิดประโยชน์ในวงกว้างโดยทุกหน่วยงานสามารถนําไปประยุกต์ใช้พฒนา         ัชุมชนในด้านอื่น ๆ ได้ไม่เฉพาะแต่การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูเท่านัน ทีสาคัญคือเพื่อให้นกวิจย                                                                      ้   ้ ่ํ            ั ัทีตองเข้าไปทํางานกับชุมชน รวมถึงผูทมบทบาทในการบริหารจัดการหรือสร้างความเข้มแข็งให้กบ  ่ ้                                     ้ ่ี ี                                               ัชุมชน ซึงอาจไม่ได้มพนฐานความรูดานนี้โดยตรง ได้รและเข้าใจหลักการ เทคนิคและวิธการทีจาเป็ น         ่           ี ้ื             ้ ้                    ู้                     ี     ่ํอย่างละเอียดชัดเจน สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงทีการดําเนินงานในทุกขันตอนจําเป็นต้องใช้                                                                  ่            ้ศาสตร์และศิลป์หลายแขนงควบคู่กนไป ดังนี้                                    ั         1. เทคนิคในการพัฒนาชุมชน         2. การศึกษาชุมชน         3. การค้นหาหรือคัดเลือกผูนําชุมชนและกรรมการชุมชน                                        ้         4. การกําหนดแผนการพัฒนาชุมชน         5. การประสานงานและการสร้างทีมงาน         6. การถ่ายทอดเทคโนโลยี         7. การสร้างแหล่งเรียนรูในชุมชน                                  ้         8. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม
7                        เทคนิคในการพัฒนาชุมชน       การเรียนรูเกียวกับเทคนิคในการพัฒนาชุมชน จะทําให้เข้าใจพืนฐานและความเป็ นมา                   ้ ่                                        ้ตลอดจนวิธการ ขันตอนในการพัฒนาชุมชนได้อย่างลึกซึงมากยิงขึน ในทีน้ี ปาริชาติ วลัยเสถียร และ          ี      ้                              ้       ่ ้      ่คณะ (2543) ได้รวบรวมเทคนิคและแนวคิดในการพัฒนาชุมชนทีมการดําเนินการจากอดีตจนถึง                                                         ่ ี ั ัปจจุบนไว้ ดังนี้การประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน (Rapid Rural Appraisal: RRA)           RRA เป็นเทคนิคทีใช้กนอย่างแพร่หลายในหมู่นกวิชาการและผูปฏิบตงานโครงการพัฒนา                           ่ ั                            ั             ้ ั ิชนบทและการเกษตรในช่วงกว่าหนึ่งทศวรรษทีผ่านมา โดยโครงการวิจยการทําฟาร์มของ                                                ่                     ัมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็ นหน่วยงานแรกทีนําเข้ามาใช้และได้เผยแพร่ไปสู่หน่วยงานต่าง ๆ ทัว                                         ่                                              ่ประเทศ RRA เป็นผลของความพยายามในการค้นพบทางสายกลางระหว่างงานวิจยแบบประเพณี      ันิยมทียงยาก ใช้เวลานานกว่าจะรูผล กับการศึกษาอย่างลวก ๆ ซึงแม้จะให้ผลเร็วแต่ยงขาดความ      ่ ุ่                         ้                              ่               ัถูกต้อง RRA จึงเป็ นเทคนิคทีสามารถช่วยให้เรียนรูสภาพชนบทอย่างถูกต้องในระยะเวลาอันสัน มี                             ่                      ้                                 ้การใช้เครืองมือ และวิธการศึกษาหลายๆ อย่างประกอบกัน (สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ,            ่           ี                                     ิ2530) และเพื่อช่วยให้เข้าใจสภาพชนบทดียงขึน โดยใช้ขอมูลมือหนึ่งเป็นสําคัญ เน้นการแลกเปลียน                                           ิ่ ้             ้                             ่ความรูประสบการณ์ระหว่างผูวจยจากสาขาวิชาต่าง ๆ และเรียนรูจากความรูประสบการณ์ของ       ้                       ้ิั                              ้         ้ชาวบ้าน เพื่อพัฒนาวิธการศึกษาแบบกลาง ๆ ซึงสามารถทําการศึกษาในระยะสัน แต่ตอง                      ี                           ่                           ้     ้ทําการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทําให้ได้ขอมูลทีถูกต้องทีจะนําไปใช้ได้ทนเวลา ประหยัดเงินและเวลา มี                                     ้       ่        ่             ัการวางแผนล่วงหน้าเป็นอย่างดี และผูวจยต้องมีความตังใจสูงในการทํางาน และทําการศึกษาด้วย                                     ้ิั                ้ตนเอง (จิตติ มงคลชัยอรัญญา, 2540)       ลักษณะที่สาคัญของเทคนิ ค RRA คือ       1. ใช้การสัมภาษณ์แบบกึงโครงสร้าง (Semi-Structured Interviewing: SSI) เป็นวิธกลาง ๆ                              ่                                                      ีระหว่างการศึกษาทีมรปแบบตายตัว คือการใช้แบบสอบถาม กับการศึกษาทีมอสระเต็มทีแบบ                  ่ ีู                                                ่ ีิ         ่วิธการของผูส่อข่าวในการรวบรวมข้อมูลในสนาม กล่าวคือ ในขณะทีมการสัมภาษณ์นนจะไม่ม ี   ี       ้ ื                                               ่ ี               ั้แบบสอบถาม แต่ใช้ ‚กรอบคําถาม‛ หรือ ‚แนวคําถาม‛ ทีเตรียมไว้ เช่น ประวัตหมู่บาน การประกอบ                                                  ่                     ิ ้อาชีพ การถือครองทีดน การตลาด ระบบการปลูกพืช ฯลฯ ลักษณะการสัมภาษณ์จะพยายามจัดให้                    ่ ิเหมือนกับการพูดคุยตามปกติ เพียงแต่จะควบคุมไม่ให้หลุดจากกรอบทีตงไว้ โดยไม่สนใจว่าจะเริม                                                                 ่ ั้                   ่ประเด็นใดก่อนหลัง ขึนกับบรรยากาศของการสนทนาแต่ละครัง เมือต้องการข้อมูลเรืองใดเป็นพิเศษ                      ้                                ้ ่                   ่
8นักวิจยหรือผูสมภาษณ์กจะถามเจาะลึก (Probing) ไปเรือย ๆ จนเป็ นทีเพียงพอ (สุจนต์ สิมารักษ์        ั             ้ ั             ็                                       ่                          ่                  ิและสุเกสินี สุภธีระ, 2530)              2. เน้นการใช้เทคนิคต่าง ๆ เสริมการสัมภาษณ์แบบ SSI โดยเฉพาะการสังเกต การใช้ตง                                                ับ่งชี้ การวัดต่าง ๆ และการถ่ายภาพ เป็นต้น โดยทีการสัมภาษณ์จะเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมี                                                                        ่บรรยากาศเป็นกันเอง ดังนันนักวิจยจึงจําเป็นต้องมีเครื่องมือช่วยจํา (Conceptual Tools) ทีไม่อยูใน                                          ้           ั                                                                             ่   ่รูปแบบของแบบสอบถาม เครืองมือดังกล่าวนี้ได้แก่ ่                      การเขียนผังกิจกรรม (Activity Chart) กิจกรรมนี้จะทําให้นกวิจยทราบว่าเกษตรกรที่            ั ัให้ขอมูลนัน มีกจกรรมการผลิตอะไรบ้าง มากน้อยเพียงใด ได้ผลดีแค่ไหน เป็นต้น     ้            ้ ิ                      การเขียนพฤกษาครอบครัว (Family Tree) ทําให้ทราบว่ามีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนกีคน อาชีพนอกภาคเกษตร ความรู้ ความสามารถของสมาชิกในครอบครัว                   ่                      การเขียนปฏิทนแรงงาน (Labor Calender) จะช่วยให้นักวิจยทราบถึงการจัดสรร                                                  ิ                                                                ัแรงงาน และการกระจายแรงงานทํากิจกรรมต่าง ๆ ในรอบปี สําหรับการวางแผนทํากิจกรรมเสริมกับชาวบ้าน                      การใช้ภาพอื่น ๆ ทีทาให้ชาวบ้านสามารถบอกข้อมูลเรื่องต่าง ๆ ทีจาเป็ น และ                                                        ่ ํ                                                                ่ํนักวิจยสามารถบันทึกลงไปได้ตามแต่จนตนาการและทักษะทีม ี เช่น การวาดภาพชุมชน การวาด          ั                                                 ิ                       ่ภาพตัดขวางของพืนที่ (Cross Section) เป็นต้น                              ้              3. เน้นการศึกษาทีใช้ผวจยมาจากสาขาวิชาต่าง ๆ หรือทีมลกษณะเป็ นสหวิทยาการ                                            ่ ู้ ิ ั                                           ่ ีั(Interdisciplinary Team) คือแต่ละทีมจะมีนกวิชาการทังทางด้านสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์                                                                    ั       ้ทํางานร่วมกัน สมาชิกในทีมจะต้องมีการประชุมทําความเข้าใจเรืองวัตถุประสงค์ ประเด็นคําถาม    ่เทคนิคการถาม ประเภทและแหล่งข้อมูลทีตองการ เครืองมือทีจะใช้ การแบ่งบทบาทหน้าทีระหว่าง                                                                ่ ้       ่             ่                                         ่กัน ก่อนทีจะลงปฏิบตการในชุมชน นอกจากนี้แล้ว ยังต้องร่วมกันศึกษาชุมชน ช่วยกันบันทึกข้อมูล                ่               ั ิ            ้                     ัรวมทังหาทางแก้ไขปญหาทีเกิดขึนร่วมกัน และร่วมกันทํารายงานผลการศึกษา                                             ่ ้              4. เน้นการเรียนรูของนักวิจยทีรวดเร็วและต่อเนื่อง (Rapid and Progressive Learning)                                        ้                 ั ่กล่าวคือ ทีมนักวิจยจะต้องมาร่วมสรุปผลการศึกษาเป็ นระยะ เช่น ทุกคืน หรือทุกสองคืน เพื่อ                            ัประเมินว่าได้ขอสรุปหรือเรียนรูตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายทีตงไว้แล้วหรือไม่ หากยังได้                          ้                         ้                                               ่ ั้ข้อมูลไม่ครบ หรือเกิดความคิดใหม่ หรือเกิดความสงสัยในข้อมูล หรือการตีความของทีม ก็สามารถไปตรวจสอบความถูกต้องหรือไปเก็บข้อมูลเพิมเติมได้ในวันถัดไป แทนทีจะรอมาทบทวนหลังจากที่                                                                      ่                                     ่ถอนทีมออกจากชุมชนแล้ว กระบวนการดังกล่าวนี้ จะไม่เพียงให้ผวจยได้ขอมูลเท่านัน หากแต่ยง            ู้ ิ ั        ้               ้       ัก่อให้เกิดการเรียนรู้ หรือความเข้าใจในเรืองต่าง ๆ ของชุมชนดีขน่                             ้ึ              5. ใช้แนวคิดเรืองสามมิติ (Triangulation) สําหรับการพิจารณาข้อมูลแต่ละชนิด โดยใช้ทม                                    ่                                                                                                       ีวิจยจากหลายสาขาวิชา รวมทังใช้เป็นหลักในการเลือกพืนทีหรือครัวเรือนทีจะศึกษา เช่น เลือก   ั                                            ้                               ้ ่                              ่ศึกษาระบบการปลูกข้าวในแปลงขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก เลือกผูให้ขอมูลทังจากคนที่                                     ้ ้      ้ฐานะดี ปานกลาง และยากจน เป็นต้น และพยายามเลือกคนทีน่าจะเป็ นผู้ให้ขอมูลได้ดี ได้ถูกต้อง                                                                                      ่                              ้(Key Informant) ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและตามหลักสามมิตทกล่าวมาแล้ว                                 ิ ่ี
9        6. RRA ถูกพัฒนามาเพื่อใช้สารวจความรูในเบืองต้น และมิใช่ทาเสร็จภายในครังเดียว                                     ํ         ้ ้                   ํ            ้(Exploratory and Highly Interactive Reaearch) โดยปกติแล้วการศึกษาในรอบแรกจะไม่ได้ขอมูลที่                                                                                      ้ต้องการทังหมด ต้องมีการทําซํ้ารอบทีสอง สาม หรือสี่ หรือจนกว่าจะได้ขอมูลทีตองการในระดับทีพง          ้                        ่                               ้     ่ ้            ่ ึพอใจ โดยไม่กําหนดปริมาณผูให้ขอมูลล่วงหน้า แต่การศึกษาแต่ละรอบ รวมทังช่วงระยะเวลา                             ้ ้                                           ้ระหว่างการศึกษาแต่ละรอบ จะไม่เสียเวลานานนัก อีกทังนักวิจยยังสามารถใช้วจารณญาณของตน                                                     ้      ั                ิปรับปรุง เพิม ลด เปลียนแปลงสมมติฐานหรือแผนการปฏิบตงานให้สอดคล้องกับความเป็ นจริงได้            ่        ่                                  ั ิตลอดเวลา         สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ (2530) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการศึกษาเทคนิค RRA              ิว่าแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 1. การศึกษาทังระบบ (General RRA) และ 2. การศึกษาข้อมูลเฉพาะ                                                   ้(Specific RRA) และหลักการสําคัญของเทคนิค RRA ว่าอาจจะมีขนตอนและวิธการปฏิบตไม่                                                                   ั้         ี      ั ิเหมือนกัน แต่ต่างต้องยึดหลักการทีสําคัญ คือ                                     ่         1. การพิจารณาแบบสามมิติ (Triangulation) วิธ ี RRA เน้นการพิจารณาข้อมูลจากหลายมิติเพื่อให้ได้ขอมูลทีแม่นยํามากขึน หลักการพิจารณาแบบสามมิติ ได้แก่            ้      ่           ้                1) การกําหนดทีมนักวิจย ทีมาจากหลายสาขาทีเกียวข้องและเหมาะสมกับเรืองทีจะ                                         ั ่                  ่ ่                      ่ ่ศึกษา                2) การกําหนดตัวอย่างทีหลากหลาย                                           ่                3) การกําหนดวิธการ เครืองมือ และเทคนิคทีใช้ในการศึกษาเพื่อเพิมคุณภาพของ                                 ี             ่           ่                    ่ข้อมูล         2. การวิจยแบบสํารวจหาความรูในเบืองต้น และทําซํ้าอย่างต่อเนื่อง (Exploratory and                     ั                           ้ ้Highly Iterative Research)         3. การเรียนรูอย่างรวดเร็วและก้าวหน้า (Rapid and Progressive Learning)                         ้                                       ิ ั         4. การใช้ประโยชน์จากภูมปญญาของชาวบ้าน (Substantial Use of IndigenousKnowledge)         5. การใช้แนวทางการศึกษา และทํางานเป็ นทีมแบบสหวิทยาการ (InterdisciplinaryApproach and Teamwork)         6. ความคล่องตัวและการใช้วจารณญาณ (Flexibility and Use of Conscious Judgment)                                             ิ        หลักการดังกล่าว เป็ นพืนฐานสําคัญของกระบวนการวิจยศึกษาชุมชน RRA จึงช่วยให้ผู้                               ้                        ั                  ัศึกษาวิจยเข้าใจปญหาการพัฒนาได้ดขนและมีทศนะเกี่ยวกับการพัฒนาทีสอดคล้องกับแนวคิดใน        ั                          ี ้ึ     ั                     ่การพัฒนาแนวใหม่ทเี่ น้นความสัมพันธ์เกียวโยงกันและมีผลกระทบต่อกัน และมีการเปลียนแปลง                                        ่                                    ่ตลอดเวลา ดังนัน การติดต่อสื่อสารและความร่วมมือระหว่างนักวิจย นักพัฒนา และชาวชนบท จึง                ้                                          ั     ั     ่             ่                ัเป็นปจจัยทีสําคัญในการเพิมความเข้าใจในปญหาของชุมชนและความเปลียนแปลงของสังคม                                                                    ่
10      ขันตอนในการศึกษา โดยเทคนิควิธ ี RRA มีขนตอนทีสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมใน        ้                                     ั้    ่สถานการณ์ต่าง ๆ แต่กมขนตอนต่าง ๆ ทีควรยึดเป็ นหลักปฏิบติ ดังนี้                    ็ ี ั้         ่                  ั                                                 หัวข้อ                                               กําหนดทีม                                      วัตถุประสงค์ วิเคราะห์ ประชุม                                 แนวคําตอบ (Subtopics) สัมภาษณ์                              กําหนดวิธการ เลือกพืนที่ และผูให้สมภาษณ์                                       ี         ้          ้ ั                                     (ให้หลักการ Triangulation)                         การจัดการ                                    แบ่งกลุ่มผูสมภาษณ์                                                                                 ้ ั                                                                      และกําหนดข้อตกลง (Protocols)                                               สัมภาษณ์                                     ประชุมกลุ่มย่อย ประชุมกลุ่มใหญ่                                       ประชุมวิเคราะห์ครังสุดท้าย                                                         ้                                                รายงาน       ทีมา: ขันตอนในการศึกษาโดยวิธ ี RRA (สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ, 2530)        ่      ้                              ิ        การใช้ประโยชน์ ของเทคนิ ค RRA        การประชุมนานาชาติว่าด้วยเรือง RRA ทีจดขึน ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี พ.ศ. 2528                                   ่        ่ั ้สรุปถึงลักษณะการใช้ประโยชน์จากเทคนิค RRA ดังนี้                                                     ั         เพื่อค้นหา ระบุ และวิเคราะห์สถานการณ์ และปญหา         เพื่อวางแผนดําเนินการ ติดตามและประเมินผลโครงการ         เพื่อพัฒนา ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี         เพื่อช่วยในการตัดสินใจและกําหนดนโยบาย         เพื่อช่วยให้ผทเกียวข้องสามารถกําหนดความช่วยเหลือได้เหมาะสม ในกรณีทเกิด                       ู้ ่ ี ่                                              ่ีเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือมีภยพิบติ                         ั ั
11              เพื่อใช้เสริมหรือปรับปรุงวิธการวิจยอื่น ๆ                                           ี     ั         ข้อดีของเทคนิ ค RRA         สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ (2530) ได้สรุปข้อดีของเทคนิค RRA ว่า            ิ         1. เป็นเทคนิคทีประหยัดเวลา สามารถสรุปผลการศึกษาได้เร็ว ทันเหตุการณ์                               ่         2. ช่วยให้ผวจยมีความเข้าใจในเรืองทีศกษาลึกซึงมากขึน มากกว่าวิธการวิจยแบบสํารวจ                        ู้ ิ ั                     ่ ่ ึ      ้    ้         ี     ัหรือวิจยแบบประเพณีนิยม เพราะเป็นผูทําการศึกษาเอง และรูวตถุประสงค์ของการศึกษาเป็นอย่างดี       ั                                     ้                  ้ัมีโอกาสซักถามเพิมเติมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง                      ่         3. ช่วยเสริมสร้างการทํางาน และเรียนรูรวมกันของนักวิชาการสาขาต่าง ๆ ทําให้ค้นหา                                                         ้่ข้อเท็จจริงได้ดกว่า ถูกต้องกว่า และลึกซึงกว่า เพราะสิงต่าง ๆ ในโลกย่อมมีความสัมพันธ์เกียวข้อง                  ี                             ้           ่                             ่กัน และไม่มศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่งทีจะสามารถเข้าใจสภาพการณ์ทเี่ กิดขึนในสังคมได้ทุกด้าน                ี                        ่                                 ้         4. เป็นเทคนิคทีมความคล่องตัวสูง สามารถปรับปรุงหัวข้อ รายละเอียด และคําถาม รวม                                 ่ ีตลอดถึงวิธการ ตารางเวลา ในการปฏิบตงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับเงือนไขทีเป็นจริงทีเกิดขึน              ี                                ั ิ                       ่     ่         ่ ้ในขณะนัน  ้         5. เสียค่าใช้จ่ายตํ่า เพราะเครืองมือทีสาคัญในการศึกษา คือ ตัวของนักวิจยเอง และใช้                                           ่         ่ํ                          ัเพียงงอุปกรณ์เครืองเขียนสําหรับบันทึกเนื้อหาจากการสัมภาษณ์ เท่านัน ข้อมูลมือสองทีตองการ                    ่                                                 ้              ่ ้มักจะหาได้ หรือขอยืมจากหน่วยงานต่าง ๆ ในระดับอําเภอ หรือตําบล        ข้อจากัดของเทคนิ ค RRA        ประโยชน์ของเทคนิค RRA มีมากมาย แต่กยงมีจุดอ่อนในตัวเอง กล่าวคือ                                                 ็ ั        1. แม้เทคนิคนี้จะทําให้ผศกษาเข้าใจเรืองราวได้ลกซึงกว่าการใช้แบบสอบถาม แต่กไม่                                   ู้ ึ        ่         ึ ้                          ็ลึกซึงเท่ากับการศึกษาแบบมานุษยวิทยา และข้อมูลทีได้จาก RRA มักจะเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพเป็น      ้                                                ่ส่วนใหญ่จะขาดข้อมูลเชิงปริมาณไปบ้าง        2. โดยเหตุท่ี RRA ไม่ใช้วธการสุ่มตัวอย่างแบบงานวิจยอื่น ๆ แต่ใช้การเลือก Key                                        ิี                   ัInformant ตามหลักการพิจารณาแบบสามมิติ (Triangulation) ซึงมักจะมีจานวนผูให้ขอมูลไม่มากนัก                                                               ่       ํ        ้ ้จึงไม่สามารถใช้วธการทางสถิตได้                    ิี           ิ        3. ผูศกษาต้องมีความเข้าใจและมีประสบการณ์ในการทํา RRA ดีพอ และต้องมีความตังใจ              ้ ึ                                                                           ้อย่างแน่วแน่ทจะเรียนรูเรืองของชุมชน มิฉะนันแล้วอาจเกิดข้อผิดพลาดได้งาย เพราะใช้เวลาลง                 ่ี      ้ ่                 ้                           ่ชุมชนไม่นาน สามารถเลือกพืนที่ กลุ่มตัวอย่าง รวมทังประเด็นศึกษาได้ดวยตนเอง เทคนิคนี้เปิดช่อง                             ้                       ้               ้ให้มการยืดหยุนได้มาก หากผูศกษายังไม่มความชํานาญควรหานักวิจยทีเชียวชาญการใช้ RRA เข้า    ี          ่               ้ ึ         ี                     ั ่ ่ร่วมทีมด้วย        กล่าวโดยสรุป เทคนิค RRA เป็นทางเลือกทีดอกทางหนึ่งสําหรับผู้ทตองการจะเรียนรูเรือง                                                  ่ ีี                     ่ี ้         ้ ่ของชุมชนในเวลาทีไม่นานจนเกินไป และเสียค่าใช้จ่ายตํ่า เทคนิคนี้ได้มการนําไปประยุกต์ใช้ใน                       ่                                           ี
12งานวิจยพัฒนาด้านต่าง ๆ และมีความพยายามในการพัฒนา ปรับปรุงเทคนิคนี้ให้มประสิทธิภาพ       ั                                                              ีมากขึนอย่างต่อเนื่อง     ้การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม(Participatory Rural Appraisal: PRA)           PRA เป็นเทคนิคทีพฒนาต่อมาจาก RRA โดยมีหลักคิดว่า แม้เทคนิค RRA จะช่วยให้เกิด                           ่ ัความเข้าใจเรืองราวต่าง ๆ ในชุมชนดีขนกว่าเทคนิคอื่น ๆ ทีใช้กนมา แต่กยงคงเป็ นคนภายนอกที่              ่                      ้ึ                  ่ ั          ็ ัได้ความรู้ คนในชุมชนมีบทบาทเป็ นเพียงผูให้ขอมูล ผลการศึกษาจะเป็ นมุมมองและการวิเคราะห์                                          ้ ้ด้วยสายตาของคนนอก ซึงอาจจะประเมินถูกหรือผิดก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิงการประเมินคุณค่าเรือง                         ่                                             ่                ่ของชีวต ความเชื่อ คุณธรรม ความสําคัญของระบบอุปถัมภ์ ระบบอื่น ๆ ทียดถือในชุมชนอิทธิพล         ิ                                                          ่ ึ      ัของปจจัยต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการขัดขวางหรือสนับสนุนงานพัฒนา ซึงเรืองต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นสิงที่                    ่ ่                                           ่ ่                     ่ยากต่อการทําความเข้าใจในระยะเวลาสัน ๆ และทีสําคัญคือการคิดแบบแยกส่วนว่าคนในชุมชน                                        ้         ่น่าจะรูเรืองราวในชุมชนเป็นอย่างดีแล้ว ดังนันเขาจึงไม่ตองมาศึกษาชุมชนอีก มีเพียงคนภายนอก        ้ ่                                ้          ้                   ้ ่ ้                       ู้            ั(นักพัฒนา) เท่านัน ทีตองศึกษาชุมชน เพราะไม่รสถานการณ์ ปญหาและศักยภาพของชุมชน         PRA กําเนิดจากแนวคิดทีว่า การศึกษาชุมชนเป็ นสิงทีชุมชนควรกระทําเพราะยังมีเรืองราว                                ่                       ่ ่                             ่อีกหลายอย่างทีในชุมชนเดียวกันไม่รู้ ไม่ได้นึกคิด หรือมองข้าม หรือยังมีความเข้าใจทีไม่ถูกต้อง               ่                                                                  ่                      ั     ่ ํ           ้                 ัเช่น ไม่ได้ตระหนักถึงปญหาทีกาลังจะเกิดขึนในอนาตอันใกล้ ปญหาบางอย่างทีเผชิญอยู่ หรือ                                                                           ่บางครังอาจจะสัมผัสรับรูปญหาแต่ไม่รว่ามีสาเหตุมาจากอะไร ทําให้ไม่สามารถหาช่องทางป้องกัน       ้                ้ ั         ู้            ัหรือแก้ไขปญหานัน ๆ ได้                  ้         ลักษณะสาคัญของเทคนิ ค PRA         1. เป็นการศึกษาชุมชนทีคนภายในชุมชนเป็ นผูศกษาวิเคราะห์เอง โดยผ่านกระบวนการ                                     ่                   ้ ึเสวนากลุ่ม         2. นักพัฒนาจะมีบทบาทเป็นเพียงผูอํานวยความสะดวกในกระบวนการเสวนา เรียนรู้                                              ้(Facilitator) มากกว่าเป็นประธาน หรือผูนํา และต้องอยูรวมในกระบวนการตังแต่ตนจนจบ                                          ้           ่่               ้   ้         3. วัตถุประสงค์ของการศึกษาจะเน้นทีผลประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิน และตัวคนทีเข้าร่วมใน                                                  ่                  ่            ่กระบวนการให้มความสามารถในการวิเคราะห์ การตัดสินใจ และศักยภาพในการแก้ไขปญหาของ                 ี                                                              ัชุมชนได้มากยิงขึน               ่ ้         4. การทําเทคนิค PRA จะไม่ตงต้นทีความรูสาขาใดสาขาหนึ่ง หากแต่จะเริมจากสิงที่                                       ั้       ่   ้                        ่      ่ชาวบ้านรู้ ชาวบ้านคิด รูสก และเชื่อเช่นนัน แล้วค่อย ๆ จัดกระบวนการแลกเปลียนข่าวสาร ข้อมูล                        ้ ึ                 ้                            ่ระหว่างกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรูดวยตนเอง                                 ้ ้
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community
Community

More Related Content

What's hot

การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58Supaporn Khiewwan
 
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบKeerati Santisak
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าMuna Bap
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียjantara
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันพัน พัน
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนPalasut
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่Sand Jutarmart
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานaragamammy
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาAo Krubz
 
เลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...chaiwat vichianchai
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงcodexstudio
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58การลงทะเบียนหนังสือ58
การลงทะเบียนหนังสือ58
 
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อน
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่สื่อเก่ากับสื่อใหม่
สื่อเก่ากับสื่อใหม่
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
เลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เลขเรียกหนังสือ
 
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
ขออนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ...
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 

Community

  • 1. กคู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ฉบับสมบูรณ์ โดย ครรชิต พุทธโกษา ที่ปรึกษาด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ธันวาคม 2554
  • 2. คานา คู่มอการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูฉบับสมบูรณ์ ท่ท่านถืออยู่น้ี เป็ นเอกสาร ื ้ ีต่อเนื่องมาจากคูมอการสร้างต้นแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทีสานักงานคณะกรรมการวิจย ่ ื ่ ัแห่งชาติ (วช.) ได้จดทาและเผยแพร่ไปยังผูทเี่ กียวข้องแล้ว จานวน 6,000 เล่ม โดยได้รบ ั ้ ่ ัความสนใจและมีขอซักถามเกียวกับรายละเอียดเพิมเติมอยูบอยครัง ทาให้พบว่า คู่มอฯ ที่ ้ ่ ่ ่ ่ ้ ืเผยแพร่ไปนัน เน้นความกระทัดรัด กล่าวถึงเฉพาะหลักสาคัญ ๆ และขันตอนในการสร้าง ้ ้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนองค์ประกอบสาคัญของชุมชนฯ ยังขาดรายละเอียดของวิธการปฏิบติ ซึงส่งผลให้ผทไม่มพนฐานหรือประสบการณ์ในเรื่องการสร้างและการพัฒนา ี ั ่ ู้ ่ี ี ้ืชุมชนแห่งการเรียนรู้ ไม่เข้าใจเรื่องดังกล่าวได้อย่างชัดเจน ดังนัน จึงได้จดทาคู่มอฯ เล่ม ้ ั ืนี้ข้น โดยเพิมเติมเนื้อหาสาระ รายละเอียด ตลอดจนตัวอย่างต่าง ๆ ไว้อย่างครบถ้วน ึ ่สมบูรณ์ พร้อมสาหรับผูทสนใจและเกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูทุกระดับ ้ ่ี ้ได้ใช้เป็ นแนวทางดาเนินงาน และหวังเป็ นอย่างยิงว่าจะเกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาชุมชน ่และประเทศชาติสบต่อไป ื ครรชิต พุทธโกษา ทีปรึกษาด้านการวิจยทางวิทยาศาสตร์ ่ ั สานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ ั ธันวาคม 2554
  • 3. สารบัญ หน้าคํานํา ขสารบัญ คแนวคิดในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ 1เทคนิคในการพัฒนาชุมชน 7 การประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน (Rapid Rural Appraisal: RRA) 7 การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม (Participatory Rural Appraisal: PRA) 12 การวิจยปฏิบตการแบบมีส่วนร่วม ั ั ิ (Partiicipatory Action Research: PAR) 15 การศึกษาวิเคราะห์ระบบชนบท (Rural System Analysis: RSA) 17 การวิเคราะห์ระบบชนบทนิเวศเกษตร (Agro-ecosystem Analysis: AA) 19 การวิเคราะห์ชุมชนด้วยความละเอียดอ่อน (Soft System Analysis: SSA) 21 เทคนิค A-I-C (Appreciation Influence Control) 23 กระบวนการเรียนรูทางสังคม ้ (Social Learning Process: SLP) 25 TERMS MODEL 26การศึกษาชุมชน 29 ประเภทของการศึกษาชุมชน 30 การเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชน 32 การวิเคราะห์ขอมูลทีเก็บรวบรวมได้ ้ ่ 65การค้นหาหรือคัดเลือกผูนําชุมชนและกรรมการชุมชน ้ 69 การค้นหาหรือคัดเลือกผูนําชุมชน ้ 69 การคัดเลือกกรรมการชุมชน 70 ประเภทของผูนํา ้ 71 คุณสมบัตของผูนํา ิ ้ 75 การพัฒนาศักยภาพของผูนําชุมชน ้ 80
  • 4. หน้าการกําหนดแผนการพัฒนาชุมชน 82 ประโยชน์ของการวางแผน 82 องค์ประกอบของการวางแผน 83 ประเภทของการวางแผน 84 กระบวนการกําหนดแผนการพัฒนาของชุมชน 85การประสานงานและการสร้างทีมงาน 106 การประสานงาน 106 การสร้างทีมงาน 116การถ่ายทอดเทคโนโลยี 122 ประเภทของการฝึกอบรม 123 ขันตอนของการฝึกอบรม ้ 124การสร้างแหล่งเรียนรูในชุมชน ้ 171 ประเภทของแหล่งการเรียนรูในชุมชน ้ 173 ศูนย์การเรียนรูชุมชน ้ 175การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มชุมชน 201 ประเภทของกลุ่ม 201 องค์ประกอบทีทาให้กลุ่มมีประสิทธิภาพ ่ ํ 204 ขันตอนในการสร้างกลุ่ม ้ 205บรรณานุกรม 219
  • 5. 1 แนวคิดในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ แนวคิดการพัฒนาชุมชนในอดีต มีความเชื่อเบืองต้นว่า ประชาชนส่วนใหญ่ในชนบทของ ้ประเทศยังล้าหลัง ด้อยการศึกษา ขาดจิตสํานึกในการพัฒนาท้องถิน มีฐานะยากจน และขาดแคลน ่ ัปจจัยต่าง ๆ ทีจาเป็ นต่อการดํารงชีพ ภาครัฐจึงจําเป็นจะต้องผลักดันนโยบายและทรัพยากร ตังแต่ ่ํ ้ทิศทางการพัฒนา วิธการทํางาน ความรู้ การบริหารจัดการ ฯลฯ เข้าไปสู่ชุมชนในลักษณะของการ ีพัฒนาจากบนลงล่าง (Top Down) ทังทีในความเป็ นจริงหาได้เป็ นเช่นนันไม่ เพราะประชาชนส่วน ้ ่ ้ใหญ่ในชนบทเป็นผูมความคิด มีความรู้ มีประสบการณ์ มีจตสํานึกในการพัฒนาชุมชนและสามารถ ้ ี ิพึงพาตนเองได้แล้วในระดับหนึ่ง การพัฒนาชุมชนตามแนวทางของรัฐในอดีตจึงมิอาจตอบสนองต่อ ่ความต้องการและความจําเป็นทีแท้จริงของชุมชนได้ หลายครังหลายคราวทีพบว่าการพัฒนาชุมชนที่ ่ ้ ่ภาครัฐเป็นผูคดแทนและกําหนดทิศทางไว้แล้วนันเป็ นไปอย่างสูญเปล่า เนื่องจากหลงลืมไปว่าในการ ้ ิ ้ ้ ่ี ี ่ี ัพัฒนาชุมชนใดชุมชนหนึ่ง ผูทสามารถตอบได้ดทสุดว่าชุมชนมีปญหาหรือมีความต้องการอะไรก็คอ ืคนในชุมชนนันนันเอง ้ ่ จากความเป็ นจริงทีมอยู่น้ี จึงทําให้หลาย ๆ หน่วยงานปรับแนวคิดในการพัฒนาชุมชน ่ ีเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการทีแท้จริง โดยยึดหลักการพัฒนาจากล่างขึนบน (Bottom Up) ให้ ่ ้ชุมชนเป็ นผูคดและมีส่วนร่วมในการทํางานตังแต่เริมกําหนดนโยบาย จนสินสุดขันตอนสุดท้ายในการ ้ ิ ้ ่ ้ ้ติดตามประเมินผล การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ หรือ การพัฒนาทีเ่ น้ นให้สมาชิ กชุมชนรู้จก ัคิ ดวิ เคราะห์ด้วยเหตุด้วยผล และใช้ความรู้ในการแก้ไขปัญหา พัฒนาศักยภาพในด้านต่ าง ๆ ่ทังด้านเศรษฐกิ จ สังคม สิ งแวดล้อม ก็เช่นเดียวกัน ผลจากการพัฒนาทีเป็นอยูในปจจุบนแสดงให้ ้ ่ ่ ั ัเห็นแล้วว่า การนําความรูจากภายนอกในเรืองใดเรืองหนึ่งไปยัดเยียดให้กบชุมชน จะเป็นประโยชน์ก็ ้ ่ ่ ัเพียงแค่ชวครังชัวคราวเท่านัน ไม่สามารถสร้างกระบวนการเรียนรูทยงยืน และไม่อาจนําพาประเทศ ั่ ้ ่ ้ ้ ่ี ั ่ไปสู่สงคมแห่งการเรียนรูในทิศทางทีตองการได้ หากแต่การปรับเปลียนยุทธศาสตร์การทํางานจาก ั ้ ่ ้ ่เดิมมาเป็ นการประสานความรูทมอยูแล้วภายในชุมชนและความรูหรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ จาก ้ ่ี ี ่ ้ ่ ัภายนอกชุมชนเข้าด้วยกัน เพือแก้ไขปญหาโดยยึดพืนทีและความต้องการของชุมชนเป็นหลัก โดย ้ ่หน่วยงานภาครัฐหรือองค์การพัฒนาเป็ นเพียงผูมบทบาทในการประสานและผลักดันกระบวนการมี ้ ีส่วนร่วมน่ าจะเป็ นทางออกทีส่งผลต่อการพัฒนาในระยะยาวและยังยืนมากกว่า ่ ่ หลักของการประสานความรูจากภายในและภายนอกชุมชนเข้าไปสู่การใช้ประโยชน์และสร้าง ้ ักระบวนการเรียนรูของชุมชน ไม่เพียงแต่เพื่อแก้ไขปญหาและสนองตอบต่อความต้องการของชุมชน ้ในเรืองใดเรืองหนึ่งเท่านัน แต่ควรจะเป็ นไปในลักษณะของการบูรณาการทีมการพัฒนาไปพร้อม ๆ ่ ่ ้ ่ ีกัน ทังด้านเศรษฐกิจ สังคม กระบวนการเรียนรู้ และค่านิยมอันดีงาม อาทิเช่น ้
  • 6. 2 1. การสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจชุมชนและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การยกระดับคุณภาพมาตรฐานการผลิต/ผลิตภัณฑ์ การเพิมผลิตภาพผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ชุมชน การเพิม ่ ่ความสามารถในการประกอบอาชีพ และเพิมโอกาส/ทางเลือกในการทําอาชีพเสริม ส่งเสริมการ ่รวมกลุ่มเกษตรกรรายย่อยของชุมชนในรูปแบบกลุ่มองค์กรเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน การพัฒนาและเสริมสร้างทักษะ ขีดความสามารถ รวมทังหลักการบริหารจัดการทีดแก่กลุ่มทีมศกยภาพและ ้ ่ ี ่ ี ัความพร้อมในการผลิตเชิงพาณิชย์เพื่อนําไปสู่การขยายผลในเชิงอุตสาหกรรมระดับสากล ตลอดจนการเชื่อมโยงต่อยอดห่วงโซ่การผลิตถึงขันเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อให้ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ม ี ้มูลค่าเพิมทางเศรษฐกิจ (Valued Added) โดยราคาต่อหน่วยสูงขึน ต้นทุนการผลิตลดลง และหรือ ่ ้รายได้เพิมขึน รายจ่ายลดลง ่ ้ 2. การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรูแบบมีส่วนร่วม ทีเน้นการเรียนรูนอกห้องเรียน เพื่อ ้ ่ ้เพิมทักษะและความสามารถของสมาชิกชุมชน ลดช่องว่างทางความรูระหว่างชุมชนเมืองและชุมชน ่ ้ชนบท และให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรูตลอดชีวตทีสอดคล้องกับวิถชุมชน โดยให้ความสําคัญกับ ้ ิ ่ ีการใช้ชุมชนเป็ นฐานของการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้เข้าถึงความรูในทางตรงได้โดยง่าย ฝึกให้คดเป็น ้ ิทําเป็ น รวมทัง ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างเป็นระบบตลอดกระบวนการ ตังแต่การ ้ ้ ัวิเคราะห์ปญหา การแนะนํา การทดสอบ การสาธิต การตัดสินใจ การยอมรับและการประเมินผลโดยเฉพาะการปฏิบตรวมกันในทุกขันตอน เพื่อให้เกิดจิตสํานึกร่วมในการแก้ไขปญหาและพัฒนา ั ิ่ ้ ัท้องถิน ่ 3. การสร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์และการอนุรกษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาที่ ัยังยืน และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน ่ ่ท้องถิน โดยให้ความสําคัญกับการสร้างจิตสํานึกและเผยแพร่ความรูความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ ่ ้ทรัพยากรเพื่อการผลิตอย่างถูกวิธ ี ประหยัดและมีประสิทธิภาพ สนับสนุ นให้ชุมชนมีทางเลือกทําการผลิตทางการเกษตรทีหลากหลาย โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ่ ิ ั 4. การรักษาและเสริมสร้างศักยภาพของภูมปญญาท้องถินทีมอยูภายในชุมชน เน้นการ ่ ่ ี ่ ิ ัถ่ายทอดและนําภูมปญญาท้องถินมาใช้ประโยชน์ทงต่อการวิจยพัฒนาต่อยอด และการผลิตแปรรูป ่ ั้ ัเป็นผลิตภัณฑ์ โดยการสืบหา พัฒนาระบบการจัดเก็บเพื่อรวบรวมและจัดทําเป็ นฐานข้อมูลทางความรู้ ตลอดจนสร้างหลักประกันด้านสังคมให้ปราชญ์ชาวบ้าน อาทิ การสนับสนุนเงินทุนในการ ิ ั ู ิ ัรักษาและถ่ายทอดภูมปญญา สนับสนุ นการใช้ภมปญญาท้องถิน รวมทังความหลากหลายของศิลปะ ่ ้และวัฒนธรรมไทยทังทีเป็ นวิถชวต ค่านิยมทีดงาม และความเป็ นไทยเพื่อการศึกษา เรียนรู้ ฟื้นฟู ้ ่ ี ีิ ่ ีพัฒนา ถ่ายทอดและเผยแพร่ส่สงคมโลก ู ั 5. การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการเชื่อมโยงองค์ความรู้ และภูมปญญาท้องถิน ิ ั ่ตลอดจนพันธมิตรด้านกิจกรรมการพาณิชย์ระหว่างชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ทังภาครัฐและเอกชน ้ นอกเหนือจากการถ่ายทอดความรูตามความต้องการทีแท้จริงของชุมชนแล้ว การสร้างชุมชน ้ ่แห่งการเรียนรูจะเป็ นไปโดยสมบูรณ์ไม่ได้ หากสมาชิกชุมชนเหล่านันไม่ฝึกฝนตนเองให้มหลักคิด ้ ้ ี
  • 7. 3โดยใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาการเรียนรูของตนเองอย่างต่อเนื่อง ด้วยการแสวงหา สร้าง ้พัฒนา จัดการและนําความรูไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นระบบ ดังนัน ภาครัฐจึงมีบทบาทสําคัญทีจะต้อง ้ ้ ่กระตุนให้ชุมชนพัฒนากระบวนการเรียนรูอย่างสมํ่าเสมอ ด้วยการชัใ้ ห้เห็นความสําคัญ การสร้าง ้ ้โอกาสในการเข้าถึงความรูทหลากหลาย ภายใต้กจกรรมการเรียนรูแบบมีส่วนร่วมทีเหมาะสม มุงให้ ้ ่ี ิ ้ ่ ่เรียนรูจากประสบการณ์ตรงทีสมพันธ์กบการดํารงชีวตแบบค่อยเป็นค่อยไป รวมทังสร้างเครือข่าย ้ ่ ั ั ิ ้การเรียนรูของชุมชนเพื่อเป็ นทางเลือกในการแลกเปลียนเรียนรูและสามารถอยูรวมกันกับสังคมอื่น ้ ่ ้ ่่อย่างเข้าใจ กิจกรรมการเรียนรูทสมพันธ์กบการดํารงชีวตของชุมชนดังกล่าวนัน ต้องคํานึงถึงพืนฐาน ้ ่ี ั ั ิ ้ ้ดังเดิม หรือมีการเปลียนแปลงวิถชวตเฉพาะในส่วนที่ตองการจะพัฒนาให้ดขน ไม่ได้เป็นการ ้ ่ ี ีิ ้ ี ้ึเปลียนแปลงอาชีพหรือวิธปฏิบตทงหมดในคราวเดียว หากต้องการจะเปลียนต้องให้แน่ใจว่าจะเป็ น ่ ี ั ิ ั้ ่ผลดีต่อชุมชนจริง ๆ ทีสาคัญคือควรต้องเป็นกิจกรรมการเรียนรูทนอกจากจะเพิมพูนสติปญญาให้เท่า ่ํ ้ ่ี ่ ัทันกับการเปลียนแปลงต่าง ๆ แล้ว ยังควรต้องส่งผลต่อการพัฒนาโดยรวมทังทีมเี ป้าหมายเป็น ่ ้ ่ผลิตภัณฑ์มวลรวม หรือ การสร้างความกินดี ได้แก่ การสร้างรายได้ การลดรายจ่าย และทีม ี ่เป้าหมายเป็นความพึงพอใจมวลรวม หรือ การสร้างความอยูดี ซึงได้แก่ความสุขทางจิตใจ อาทิ การ ่ ่มีครอบครัวทีอบอุ่น พร้อมหน้า ได้รบการยอมรับในสังคม การมีวฒนธรรม ภูมปญญาทีธารงอยูอย่าง ่ ั ั ิ ั ่ํ ่ยังยืน การมีสงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติทมคุณภาพและยังคงความอุดมสมบูรณ์ดวย ่ ิ่ ่ี ี ้ขณะเดียวกันก็ตองไม่ละเลยกิจกรรมทีสร้างความเข้มแข็งให้กบสังคม เพื่อให้สมาชิกชุมชนมีความ ้ ่ ัเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน มีความรูสกรักหวงแหนผืนแผ่นดินเกิด และมีจตมุงมันทีจะพัฒนาชุมชนให้ดี ้ ึ ิ ่ ่ ่ยิงขึน การดําเนินการในประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ไม่สามารถทีจะดําเนินการโดยหน่วยงานใด ่ ้ ่หน่วยงานหนึ่งแต่เพียงลําพังหรือต่างคนต่างทําดังเช่นในอดีตได้ เพราะนอกจากจะสินเปลือง ้งบประมาณของประเทศโดยใช่เหตุแล้ว ยังทําให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปอย่างล่าช้าและไม่ครอบคลุมในทุกบริบทด้วย ความจริงใจและสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจเป็นสิงทีหน่วยงานต่าง ๆ จะต้องคํานึงถึงเพราะจะ ่ ่ช่วยกระตุ้นและทําให้ชุมชนเต็มใจทีจะร่วมดําเนินงาน การมีหน่วยงานสนับสนุนทีเข้มแข็งและได้รบ ่ ่ ัความไว้วางใจจะทําให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปราบรืน รวดเร็ว การเข้าไปทํางานร่วมกับชุมชนจะต้อง ่สร้างการยอมรับให้ได้ว่าหน่ วยงานภาครัฐและชุมชนนัน ๆ เป็นพวกพ้วงเป็นพีเป็นน้อง ทีจะมา ้ ่ ่ร่วมกันทํางานเพื่อพัฒนาชุมชน ไม่ได้เข้าไปเพื่อหาผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็ นผลประโยชน์ทางการเมือง ผลประโยชน์ทางตําแหน่งหน้าที่ หรือผลประโยชน์ทางวิชาการ การให้ความกันเอง ไม่ม พธ ี ี ิรีรอง หรือยึดพิธการมากนักเป็นเรืองสําคัญทีจะทําให้ชุมชนเกิดการยอมรับ ทังนี้จะต้องเป็นไปโดย ี ่ ่ ้ธรรมชาติ ไม่เสแสร้ง นอกจากนี้ ความต่อเนื่องของการดําเนินงานเป็ นสิงทีสาคัญ เพราะไม่มชุมชน ่ ่ํ ีใดทีจะเข้มแข็งอย่างยังยืนได้ในระยะเวลาสัน ๆ อย่างไรก็ตามเป็นเรืองยากทีจะดําเนินการในด้าน ่ ่ ้ ่ ่ ัต่าง ๆ ให้เป็นไปต่อเนื่องได้ เนื่องจากมีปจจัยและองค์ประกอบหลายอย่างทีหน่ วยงานภาครัฐต่าง ่ต้องประสบและรับทราบกันดี เช่น งบประมาณ ฯลฯ หากไม่สามารถส่งต่อการดําเนินงานให้
  • 8. 4หน่วยงานอื่น หรือหน่วยงานท้องถินรับไปดําเนินการได้ ก็จะต้องทําความเข้าใจและสร้างจิตสํานึก ่ให้กบชุมชนแต่แรกว่า ชุมชนจะต้องยืนอยูได้ดวยตนเองโดยไม่ตองพึงพาผูอ่น ั ่ ้ ้ ่ ้ ื สํานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติ หรือ วช. ได้สร้างชุมชนแห่งการเรียนรูตามแนวทาง ั ้ต่าง ๆ ข้างต้น มาตังแต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึง พ.ศ. 2553 และพบว่า ชุมชนแห่งการเรียนรูทม ี ้ ้ ่ีศักยภาพและมีโอกาสประสบผลสําเร็จ ต้องมีองค์ประกอบสําคัญ 7 ประการ คือ 1. มีผนําทีด:ี จะต้องมีผนําการเปลียนแปลงทีมวสยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถในการ ู้ ่ ู้ ่ ่ ีิ ับริหารจัดการ การประสานงานและการกระตุนให้สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ้ 2. มีกรรมการชุมชนทีมจริยธรรมและมีการบริหารจัดการชุมชนทีด:ี ต้องมีกรรมการชุมชนที่ ่ ี ่เข้มแข็ง มีความมุงมัน มีคุณธรรมจริยธรรม บริหารงานโปร่งใส ่ ่ 3. มีความร่วมมือจากสมาชิกในชุมชน มีสมาชิกชุมชนทีมคุณภาพและมีจตสํานึกเพื่อ ่ ี ิส่วนรวม เข้ามาร่วมคิด ร่วมดําเนินการ ร่วมรับผิดชอบในทุกกระบวนการ ั 4. มีกระบวนการเรียนรูเพื่อการแก้ไขปญหาและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง: จะต้องมีการ ้ ัเรียนรู้ เพื่อใช้ในการแก้ไขปญหาและการพัฒนาอยูตลอดเวลา รวมทังต้องมีการถ่ายทอดความรู้ ่ ้ระหว่างชุมชนอย่างสมํ่าเสมอ 5. มีศกยภาพความพร้อมในเรื่องพืนฐานอาชีพ: จะต้องมีความเข้มแข็งในการพึงพาตนเอง ั ้ ่และมีความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ จึงต้องได้รบการพัฒนาสมรรถนะและทักษะความ ัพร้อมในการประกอบอาชีพ โดยใช้ความรูในการปรับปรุง เปลียนแปลงให้เกิดกรรมวิธ ี/สิงใหม่ หรือ ้ ่ ่พัฒนาให้ดกว่าเดิม ี 6. มีการสร้างระบบการจัดเก็บและการนํามาใช้ขององค์ความรูทด : ต้องมีระบบการเก็บ ้ ่ี ีความรูทงความรูทมอยูภายในชุมชนและความรูภายนอกชุมชน รวมทัง ต้องรูจกสร้างและนําความรูทม ี ้ ั้ ้ ่ี ี ่ ้ ้ ้ั ้ ่ีอยูมาใช้ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เป็ นระบบ โดยเข้าใจได้ง่าย ่ 7. มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทังในและนอกชุมชน: ต้องมีความร่วมมือในด้านทุน ้กิจกรรม วิชาการองค์ความรู้ การตลาด ฯลฯ มีการจัดการกลุ่มและเครือข่ายทีมประสิทธิภาพให้เกิด ่ ีการพัฒนาอย่างเชื่อมโยง ประสานเกียวเนื่อง ครอบคลุมการพัฒนาในทุกบริบท ่ ดังแสดงในแผนภาพต่อไปนี้
  • 9. 5 มีระบบที่ดีในการจัดเก็บและการนามาใช้ ของข้อมูลพืนฐาน องค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่ น ้ คณะกรรมการชุมชนมีจริยธรรมและ มีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี มีเครือข่าย มีกระบวนการความร่วมมือทังใน ้ ผูนาที่ดี ้ เรียนรูเพื่อการแก้ไข ้ และนอกชุมชน ปัญหา และพัฒนา ชุมชนอย่างต่อเนื่ อง สมาชิ กมีส่วนร่วม มีจิตสานึ กและทัศนคติ ที่ดีต่อชุมชน มีศกยภาพความพร้อมในเรืองพืนฐานอาชีพ ั ่ ้ สําหรับการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรูของ วช. นัน ประกอบด้วยขันตอนต่าง ๆ คือ ้ ้ ้ ศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานของพื ้นที่ และค้ นหาผู้นาและแต่งตังกรรมการฯ ้ วิเคราะห์ จัดลาดับความสาคัญของปั ญหาและความต้ องการของพื ้นที่ คัดเลือกผลงานที่วจยที่สอดคล้ องกับปั ญหา ความต้ องการ ิั จัดเวทีชมชนทาความเข้ าใจกับสมาชิกชุมชน + กาหนดแผนการดาเนินงาน ุ ดาเนินกิจกรรมตามแผน - ถ่ายทอดและประยุกต์ใช้ ผลการวิจย รวมทังสร้ างแหล่งเรี ยนรู้ในชุมชน ั ้ - ดาเนินกิจกรรมสาธารณะ ประเมินผลการดาเนินงาน
  • 10. 6 คู่มอการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรูน้ี ถูกจัดทําขึนเพื่อนําเสนอแนวทางการดําเนินงานต่าง ๆ ื ้ ้ตามขันตอนข้างต้น สําหรับให้นกพัฒนาและเจ้าหน้าทีจากหน่วยงานทังภาครัฐ เอกชน หรือองค์กร ้ ั ่ ้การกุศลทีไม่แสวงหากําไร ได้ใช้เป็นแนวปฏิบตในการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ โดยเป็นผลมา ่ ั ิจากประสบการณ์ในการผลักดันผลการวิจยและองค์ความรูของประเทศไปใช้ประโยชน์ ควบคู่กบการ ั ้ ัดําเนินกิจกรรมสาธารณะเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบชุมชน และจากการรวบรวมข้อมูลทีนกวิจย ั ่ ั ัและนักวิชาการหลาย ๆ ท่านได้ดาเนินการศึกษาและให้ความเห็นต่อสังคมไว้แล้ว ทังนี้ เป็นการ ํ ้นําเสนอในภาพรวมเพื่อให้เกิดประโยชน์ในวงกว้างโดยทุกหน่วยงานสามารถนําไปประยุกต์ใช้พฒนา ัชุมชนในด้านอื่น ๆ ได้ไม่เฉพาะแต่การพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรูเท่านัน ทีสาคัญคือเพื่อให้นกวิจย ้ ้ ่ํ ั ัทีตองเข้าไปทํางานกับชุมชน รวมถึงผูทมบทบาทในการบริหารจัดการหรือสร้างความเข้มแข็งให้กบ ่ ้ ้ ่ี ี ัชุมชน ซึงอาจไม่ได้มพนฐานความรูดานนี้โดยตรง ได้รและเข้าใจหลักการ เทคนิคและวิธการทีจาเป็ น ่ ี ้ื ้ ้ ู้ ี ่ํอย่างละเอียดชัดเจน สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงทีการดําเนินงานในทุกขันตอนจําเป็นต้องใช้ ่ ้ศาสตร์และศิลป์หลายแขนงควบคู่กนไป ดังนี้ ั 1. เทคนิคในการพัฒนาชุมชน 2. การศึกษาชุมชน 3. การค้นหาหรือคัดเลือกผูนําชุมชนและกรรมการชุมชน ้ 4. การกําหนดแผนการพัฒนาชุมชน 5. การประสานงานและการสร้างทีมงาน 6. การถ่ายทอดเทคโนโลยี 7. การสร้างแหล่งเรียนรูในชุมชน ้ 8. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม
  • 11. 7 เทคนิคในการพัฒนาชุมชน การเรียนรูเกียวกับเทคนิคในการพัฒนาชุมชน จะทําให้เข้าใจพืนฐานและความเป็ นมา ้ ่ ้ตลอดจนวิธการ ขันตอนในการพัฒนาชุมชนได้อย่างลึกซึงมากยิงขึน ในทีน้ี ปาริชาติ วลัยเสถียร และ ี ้ ้ ่ ้ ่คณะ (2543) ได้รวบรวมเทคนิคและแนวคิดในการพัฒนาชุมชนทีมการดําเนินการจากอดีตจนถึง ่ ี ั ัปจจุบนไว้ ดังนี้การประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน (Rapid Rural Appraisal: RRA) RRA เป็นเทคนิคทีใช้กนอย่างแพร่หลายในหมู่นกวิชาการและผูปฏิบตงานโครงการพัฒนา ่ ั ั ้ ั ิชนบทและการเกษตรในช่วงกว่าหนึ่งทศวรรษทีผ่านมา โดยโครงการวิจยการทําฟาร์มของ ่ ัมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็ นหน่วยงานแรกทีนําเข้ามาใช้และได้เผยแพร่ไปสู่หน่วยงานต่าง ๆ ทัว ่ ่ประเทศ RRA เป็นผลของความพยายามในการค้นพบทางสายกลางระหว่างงานวิจยแบบประเพณี ันิยมทียงยาก ใช้เวลานานกว่าจะรูผล กับการศึกษาอย่างลวก ๆ ซึงแม้จะให้ผลเร็วแต่ยงขาดความ ่ ุ่ ้ ่ ัถูกต้อง RRA จึงเป็ นเทคนิคทีสามารถช่วยให้เรียนรูสภาพชนบทอย่างถูกต้องในระยะเวลาอันสัน มี ่ ้ ้การใช้เครืองมือ และวิธการศึกษาหลายๆ อย่างประกอบกัน (สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ, ่ ี ิ2530) และเพื่อช่วยให้เข้าใจสภาพชนบทดียงขึน โดยใช้ขอมูลมือหนึ่งเป็นสําคัญ เน้นการแลกเปลียน ิ่ ้ ้ ่ความรูประสบการณ์ระหว่างผูวจยจากสาขาวิชาต่าง ๆ และเรียนรูจากความรูประสบการณ์ของ ้ ้ิั ้ ้ชาวบ้าน เพื่อพัฒนาวิธการศึกษาแบบกลาง ๆ ซึงสามารถทําการศึกษาในระยะสัน แต่ตอง ี ่ ้ ้ทําการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทําให้ได้ขอมูลทีถูกต้องทีจะนําไปใช้ได้ทนเวลา ประหยัดเงินและเวลา มี ้ ่ ่ ัการวางแผนล่วงหน้าเป็นอย่างดี และผูวจยต้องมีความตังใจสูงในการทํางาน และทําการศึกษาด้วย ้ิั ้ตนเอง (จิตติ มงคลชัยอรัญญา, 2540) ลักษณะที่สาคัญของเทคนิ ค RRA คือ 1. ใช้การสัมภาษณ์แบบกึงโครงสร้าง (Semi-Structured Interviewing: SSI) เป็นวิธกลาง ๆ ่ ีระหว่างการศึกษาทีมรปแบบตายตัว คือการใช้แบบสอบถาม กับการศึกษาทีมอสระเต็มทีแบบ ่ ีู ่ ีิ ่วิธการของผูส่อข่าวในการรวบรวมข้อมูลในสนาม กล่าวคือ ในขณะทีมการสัมภาษณ์นนจะไม่ม ี ี ้ ื ่ ี ั้แบบสอบถาม แต่ใช้ ‚กรอบคําถาม‛ หรือ ‚แนวคําถาม‛ ทีเตรียมไว้ เช่น ประวัตหมู่บาน การประกอบ ่ ิ ้อาชีพ การถือครองทีดน การตลาด ระบบการปลูกพืช ฯลฯ ลักษณะการสัมภาษณ์จะพยายามจัดให้ ่ ิเหมือนกับการพูดคุยตามปกติ เพียงแต่จะควบคุมไม่ให้หลุดจากกรอบทีตงไว้ โดยไม่สนใจว่าจะเริม ่ ั้ ่ประเด็นใดก่อนหลัง ขึนกับบรรยากาศของการสนทนาแต่ละครัง เมือต้องการข้อมูลเรืองใดเป็นพิเศษ ้ ้ ่ ่
  • 12. 8นักวิจยหรือผูสมภาษณ์กจะถามเจาะลึก (Probing) ไปเรือย ๆ จนเป็ นทีเพียงพอ (สุจนต์ สิมารักษ์ ั ้ ั ็ ่ ่ ิและสุเกสินี สุภธีระ, 2530) 2. เน้นการใช้เทคนิคต่าง ๆ เสริมการสัมภาษณ์แบบ SSI โดยเฉพาะการสังเกต การใช้ตง ับ่งชี้ การวัดต่าง ๆ และการถ่ายภาพ เป็นต้น โดยทีการสัมภาษณ์จะเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมี ่บรรยากาศเป็นกันเอง ดังนันนักวิจยจึงจําเป็นต้องมีเครื่องมือช่วยจํา (Conceptual Tools) ทีไม่อยูใน ้ ั ่ ่รูปแบบของแบบสอบถาม เครืองมือดังกล่าวนี้ได้แก่ ่  การเขียนผังกิจกรรม (Activity Chart) กิจกรรมนี้จะทําให้นกวิจยทราบว่าเกษตรกรที่ ั ัให้ขอมูลนัน มีกจกรรมการผลิตอะไรบ้าง มากน้อยเพียงใด ได้ผลดีแค่ไหน เป็นต้น ้ ้ ิ  การเขียนพฤกษาครอบครัว (Family Tree) ทําให้ทราบว่ามีสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนกีคน อาชีพนอกภาคเกษตร ความรู้ ความสามารถของสมาชิกในครอบครัว ่  การเขียนปฏิทนแรงงาน (Labor Calender) จะช่วยให้นักวิจยทราบถึงการจัดสรร ิ ัแรงงาน และการกระจายแรงงานทํากิจกรรมต่าง ๆ ในรอบปี สําหรับการวางแผนทํากิจกรรมเสริมกับชาวบ้าน  การใช้ภาพอื่น ๆ ทีทาให้ชาวบ้านสามารถบอกข้อมูลเรื่องต่าง ๆ ทีจาเป็ น และ ่ ํ ่ํนักวิจยสามารถบันทึกลงไปได้ตามแต่จนตนาการและทักษะทีม ี เช่น การวาดภาพชุมชน การวาด ั ิ ่ภาพตัดขวางของพืนที่ (Cross Section) เป็นต้น ้ 3. เน้นการศึกษาทีใช้ผวจยมาจากสาขาวิชาต่าง ๆ หรือทีมลกษณะเป็ นสหวิทยาการ ่ ู้ ิ ั ่ ีั(Interdisciplinary Team) คือแต่ละทีมจะมีนกวิชาการทังทางด้านสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ั ้ทํางานร่วมกัน สมาชิกในทีมจะต้องมีการประชุมทําความเข้าใจเรืองวัตถุประสงค์ ประเด็นคําถาม ่เทคนิคการถาม ประเภทและแหล่งข้อมูลทีตองการ เครืองมือทีจะใช้ การแบ่งบทบาทหน้าทีระหว่าง ่ ้ ่ ่ ่กัน ก่อนทีจะลงปฏิบตการในชุมชน นอกจากนี้แล้ว ยังต้องร่วมกันศึกษาชุมชน ช่วยกันบันทึกข้อมูล ่ ั ิ ้ ัรวมทังหาทางแก้ไขปญหาทีเกิดขึนร่วมกัน และร่วมกันทํารายงานผลการศึกษา ่ ้ 4. เน้นการเรียนรูของนักวิจยทีรวดเร็วและต่อเนื่อง (Rapid and Progressive Learning) ้ ั ่กล่าวคือ ทีมนักวิจยจะต้องมาร่วมสรุปผลการศึกษาเป็ นระยะ เช่น ทุกคืน หรือทุกสองคืน เพื่อ ัประเมินว่าได้ขอสรุปหรือเรียนรูตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายทีตงไว้แล้วหรือไม่ หากยังได้ ้ ้ ่ ั้ข้อมูลไม่ครบ หรือเกิดความคิดใหม่ หรือเกิดความสงสัยในข้อมูล หรือการตีความของทีม ก็สามารถไปตรวจสอบความถูกต้องหรือไปเก็บข้อมูลเพิมเติมได้ในวันถัดไป แทนทีจะรอมาทบทวนหลังจากที่ ่ ่ถอนทีมออกจากชุมชนแล้ว กระบวนการดังกล่าวนี้ จะไม่เพียงให้ผวจยได้ขอมูลเท่านัน หากแต่ยง ู้ ิ ั ้ ้ ัก่อให้เกิดการเรียนรู้ หรือความเข้าใจในเรืองต่าง ๆ ของชุมชนดีขน่ ้ึ 5. ใช้แนวคิดเรืองสามมิติ (Triangulation) สําหรับการพิจารณาข้อมูลแต่ละชนิด โดยใช้ทม ่ ีวิจยจากหลายสาขาวิชา รวมทังใช้เป็นหลักในการเลือกพืนทีหรือครัวเรือนทีจะศึกษา เช่น เลือก ั ้ ้ ่ ่ศึกษาระบบการปลูกข้าวในแปลงขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก เลือกผูให้ขอมูลทังจากคนที่ ้ ้ ้ฐานะดี ปานกลาง และยากจน เป็นต้น และพยายามเลือกคนทีน่าจะเป็ นผู้ให้ขอมูลได้ดี ได้ถูกต้อง ่ ้(Key Informant) ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและตามหลักสามมิตทกล่าวมาแล้ว ิ ่ี
  • 13. 9 6. RRA ถูกพัฒนามาเพื่อใช้สารวจความรูในเบืองต้น และมิใช่ทาเสร็จภายในครังเดียว ํ ้ ้ ํ ้(Exploratory and Highly Interactive Reaearch) โดยปกติแล้วการศึกษาในรอบแรกจะไม่ได้ขอมูลที่ ้ต้องการทังหมด ต้องมีการทําซํ้ารอบทีสอง สาม หรือสี่ หรือจนกว่าจะได้ขอมูลทีตองการในระดับทีพง ้ ่ ้ ่ ้ ่ ึพอใจ โดยไม่กําหนดปริมาณผูให้ขอมูลล่วงหน้า แต่การศึกษาแต่ละรอบ รวมทังช่วงระยะเวลา ้ ้ ้ระหว่างการศึกษาแต่ละรอบ จะไม่เสียเวลานานนัก อีกทังนักวิจยยังสามารถใช้วจารณญาณของตน ้ ั ิปรับปรุง เพิม ลด เปลียนแปลงสมมติฐานหรือแผนการปฏิบตงานให้สอดคล้องกับความเป็ นจริงได้ ่ ่ ั ิตลอดเวลา สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ (2530) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการศึกษาเทคนิค RRA ิว่าแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 1. การศึกษาทังระบบ (General RRA) และ 2. การศึกษาข้อมูลเฉพาะ ้(Specific RRA) และหลักการสําคัญของเทคนิค RRA ว่าอาจจะมีขนตอนและวิธการปฏิบตไม่ ั้ ี ั ิเหมือนกัน แต่ต่างต้องยึดหลักการทีสําคัญ คือ ่ 1. การพิจารณาแบบสามมิติ (Triangulation) วิธ ี RRA เน้นการพิจารณาข้อมูลจากหลายมิติเพื่อให้ได้ขอมูลทีแม่นยํามากขึน หลักการพิจารณาแบบสามมิติ ได้แก่ ้ ่ ้ 1) การกําหนดทีมนักวิจย ทีมาจากหลายสาขาทีเกียวข้องและเหมาะสมกับเรืองทีจะ ั ่ ่ ่ ่ ่ศึกษา 2) การกําหนดตัวอย่างทีหลากหลาย ่ 3) การกําหนดวิธการ เครืองมือ และเทคนิคทีใช้ในการศึกษาเพื่อเพิมคุณภาพของ ี ่ ่ ่ข้อมูล 2. การวิจยแบบสํารวจหาความรูในเบืองต้น และทําซํ้าอย่างต่อเนื่อง (Exploratory and ั ้ ้Highly Iterative Research) 3. การเรียนรูอย่างรวดเร็วและก้าวหน้า (Rapid and Progressive Learning) ้ ิ ั 4. การใช้ประโยชน์จากภูมปญญาของชาวบ้าน (Substantial Use of IndigenousKnowledge) 5. การใช้แนวทางการศึกษา และทํางานเป็ นทีมแบบสหวิทยาการ (InterdisciplinaryApproach and Teamwork) 6. ความคล่องตัวและการใช้วจารณญาณ (Flexibility and Use of Conscious Judgment) ิ หลักการดังกล่าว เป็ นพืนฐานสําคัญของกระบวนการวิจยศึกษาชุมชน RRA จึงช่วยให้ผู้ ้ ั ัศึกษาวิจยเข้าใจปญหาการพัฒนาได้ดขนและมีทศนะเกี่ยวกับการพัฒนาทีสอดคล้องกับแนวคิดใน ั ี ้ึ ั ่การพัฒนาแนวใหม่ทเี่ น้นความสัมพันธ์เกียวโยงกันและมีผลกระทบต่อกัน และมีการเปลียนแปลง ่ ่ตลอดเวลา ดังนัน การติดต่อสื่อสารและความร่วมมือระหว่างนักวิจย นักพัฒนา และชาวชนบท จึง ้ ั ั ่ ่ ัเป็นปจจัยทีสําคัญในการเพิมความเข้าใจในปญหาของชุมชนและความเปลียนแปลงของสังคม ่
  • 14. 10 ขันตอนในการศึกษา โดยเทคนิควิธ ี RRA มีขนตอนทีสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมใน ้ ั้ ่สถานการณ์ต่าง ๆ แต่กมขนตอนต่าง ๆ ทีควรยึดเป็ นหลักปฏิบติ ดังนี้ ็ ี ั้ ่ ั หัวข้อ กําหนดทีม วัตถุประสงค์ วิเคราะห์ ประชุม แนวคําตอบ (Subtopics) สัมภาษณ์ กําหนดวิธการ เลือกพืนที่ และผูให้สมภาษณ์ ี ้ ้ ั (ให้หลักการ Triangulation) การจัดการ แบ่งกลุ่มผูสมภาษณ์ ้ ั และกําหนดข้อตกลง (Protocols) สัมภาษณ์ ประชุมกลุ่มย่อย ประชุมกลุ่มใหญ่ ประชุมวิเคราะห์ครังสุดท้าย ้ รายงาน ทีมา: ขันตอนในการศึกษาโดยวิธ ี RRA (สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ, 2530) ่ ้ ิ การใช้ประโยชน์ ของเทคนิ ค RRA การประชุมนานาชาติว่าด้วยเรือง RRA ทีจดขึน ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี พ.ศ. 2528 ่ ่ั ้สรุปถึงลักษณะการใช้ประโยชน์จากเทคนิค RRA ดังนี้ ั  เพื่อค้นหา ระบุ และวิเคราะห์สถานการณ์ และปญหา  เพื่อวางแผนดําเนินการ ติดตามและประเมินผลโครงการ  เพื่อพัฒนา ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี  เพื่อช่วยในการตัดสินใจและกําหนดนโยบาย  เพื่อช่วยให้ผทเกียวข้องสามารถกําหนดความช่วยเหลือได้เหมาะสม ในกรณีทเกิด ู้ ่ ี ่ ่ีเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือมีภยพิบติ ั ั
  • 15. 11  เพื่อใช้เสริมหรือปรับปรุงวิธการวิจยอื่น ๆ ี ั ข้อดีของเทคนิ ค RRA สุจนต์ สิมารักษ์ และสุเกสินี สุภธีระ (2530) ได้สรุปข้อดีของเทคนิค RRA ว่า ิ 1. เป็นเทคนิคทีประหยัดเวลา สามารถสรุปผลการศึกษาได้เร็ว ทันเหตุการณ์ ่ 2. ช่วยให้ผวจยมีความเข้าใจในเรืองทีศกษาลึกซึงมากขึน มากกว่าวิธการวิจยแบบสํารวจ ู้ ิ ั ่ ่ ึ ้ ้ ี ัหรือวิจยแบบประเพณีนิยม เพราะเป็นผูทําการศึกษาเอง และรูวตถุประสงค์ของการศึกษาเป็นอย่างดี ั ้ ้ัมีโอกาสซักถามเพิมเติมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ่ 3. ช่วยเสริมสร้างการทํางาน และเรียนรูรวมกันของนักวิชาการสาขาต่าง ๆ ทําให้ค้นหา ้่ข้อเท็จจริงได้ดกว่า ถูกต้องกว่า และลึกซึงกว่า เพราะสิงต่าง ๆ ในโลกย่อมมีความสัมพันธ์เกียวข้อง ี ้ ่ ่กัน และไม่มศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่งทีจะสามารถเข้าใจสภาพการณ์ทเี่ กิดขึนในสังคมได้ทุกด้าน ี ่ ้ 4. เป็นเทคนิคทีมความคล่องตัวสูง สามารถปรับปรุงหัวข้อ รายละเอียด และคําถาม รวม ่ ีตลอดถึงวิธการ ตารางเวลา ในการปฏิบตงานให้เหมาะสม สอดคล้องกับเงือนไขทีเป็นจริงทีเกิดขึน ี ั ิ ่ ่ ่ ้ในขณะนัน ้ 5. เสียค่าใช้จ่ายตํ่า เพราะเครืองมือทีสาคัญในการศึกษา คือ ตัวของนักวิจยเอง และใช้ ่ ่ํ ัเพียงงอุปกรณ์เครืองเขียนสําหรับบันทึกเนื้อหาจากการสัมภาษณ์ เท่านัน ข้อมูลมือสองทีตองการ ่ ้ ่ ้มักจะหาได้ หรือขอยืมจากหน่วยงานต่าง ๆ ในระดับอําเภอ หรือตําบล ข้อจากัดของเทคนิ ค RRA ประโยชน์ของเทคนิค RRA มีมากมาย แต่กยงมีจุดอ่อนในตัวเอง กล่าวคือ ็ ั 1. แม้เทคนิคนี้จะทําให้ผศกษาเข้าใจเรืองราวได้ลกซึงกว่าการใช้แบบสอบถาม แต่กไม่ ู้ ึ ่ ึ ้ ็ลึกซึงเท่ากับการศึกษาแบบมานุษยวิทยา และข้อมูลทีได้จาก RRA มักจะเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพเป็น ้ ่ส่วนใหญ่จะขาดข้อมูลเชิงปริมาณไปบ้าง 2. โดยเหตุท่ี RRA ไม่ใช้วธการสุ่มตัวอย่างแบบงานวิจยอื่น ๆ แต่ใช้การเลือก Key ิี ัInformant ตามหลักการพิจารณาแบบสามมิติ (Triangulation) ซึงมักจะมีจานวนผูให้ขอมูลไม่มากนัก ่ ํ ้ ้จึงไม่สามารถใช้วธการทางสถิตได้ ิี ิ 3. ผูศกษาต้องมีความเข้าใจและมีประสบการณ์ในการทํา RRA ดีพอ และต้องมีความตังใจ ้ ึ ้อย่างแน่วแน่ทจะเรียนรูเรืองของชุมชน มิฉะนันแล้วอาจเกิดข้อผิดพลาดได้งาย เพราะใช้เวลาลง ่ี ้ ่ ้ ่ชุมชนไม่นาน สามารถเลือกพืนที่ กลุ่มตัวอย่าง รวมทังประเด็นศึกษาได้ดวยตนเอง เทคนิคนี้เปิดช่อง ้ ้ ้ให้มการยืดหยุนได้มาก หากผูศกษายังไม่มความชํานาญควรหานักวิจยทีเชียวชาญการใช้ RRA เข้า ี ่ ้ ึ ี ั ่ ่ร่วมทีมด้วย กล่าวโดยสรุป เทคนิค RRA เป็นทางเลือกทีดอกทางหนึ่งสําหรับผู้ทตองการจะเรียนรูเรือง ่ ีี ่ี ้ ้ ่ของชุมชนในเวลาทีไม่นานจนเกินไป และเสียค่าใช้จ่ายตํ่า เทคนิคนี้ได้มการนําไปประยุกต์ใช้ใน ่ ี
  • 16. 12งานวิจยพัฒนาด้านต่าง ๆ และมีความพยายามในการพัฒนา ปรับปรุงเทคนิคนี้ให้มประสิทธิภาพ ั ีมากขึนอย่างต่อเนื่อง ้การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม(Participatory Rural Appraisal: PRA) PRA เป็นเทคนิคทีพฒนาต่อมาจาก RRA โดยมีหลักคิดว่า แม้เทคนิค RRA จะช่วยให้เกิด ่ ัความเข้าใจเรืองราวต่าง ๆ ในชุมชนดีขนกว่าเทคนิคอื่น ๆ ทีใช้กนมา แต่กยงคงเป็ นคนภายนอกที่ ่ ้ึ ่ ั ็ ัได้ความรู้ คนในชุมชนมีบทบาทเป็ นเพียงผูให้ขอมูล ผลการศึกษาจะเป็ นมุมมองและการวิเคราะห์ ้ ้ด้วยสายตาของคนนอก ซึงอาจจะประเมินถูกหรือผิดก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิงการประเมินคุณค่าเรือง ่ ่ ่ของชีวต ความเชื่อ คุณธรรม ความสําคัญของระบบอุปถัมภ์ ระบบอื่น ๆ ทียดถือในชุมชนอิทธิพล ิ ่ ึ ัของปจจัยต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการขัดขวางหรือสนับสนุนงานพัฒนา ซึงเรืองต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นสิงที่ ่ ่ ่ ่ ่ยากต่อการทําความเข้าใจในระยะเวลาสัน ๆ และทีสําคัญคือการคิดแบบแยกส่วนว่าคนในชุมชน ้ ่น่าจะรูเรืองราวในชุมชนเป็นอย่างดีแล้ว ดังนันเขาจึงไม่ตองมาศึกษาชุมชนอีก มีเพียงคนภายนอก ้ ่ ้ ้ ้ ่ ้ ู้ ั(นักพัฒนา) เท่านัน ทีตองศึกษาชุมชน เพราะไม่รสถานการณ์ ปญหาและศักยภาพของชุมชน PRA กําเนิดจากแนวคิดทีว่า การศึกษาชุมชนเป็ นสิงทีชุมชนควรกระทําเพราะยังมีเรืองราว ่ ่ ่ ่อีกหลายอย่างทีในชุมชนเดียวกันไม่รู้ ไม่ได้นึกคิด หรือมองข้าม หรือยังมีความเข้าใจทีไม่ถูกต้อง ่ ่ ั ่ ํ ้ ัเช่น ไม่ได้ตระหนักถึงปญหาทีกาลังจะเกิดขึนในอนาตอันใกล้ ปญหาบางอย่างทีเผชิญอยู่ หรือ ่บางครังอาจจะสัมผัสรับรูปญหาแต่ไม่รว่ามีสาเหตุมาจากอะไร ทําให้ไม่สามารถหาช่องทางป้องกัน ้ ้ ั ู้ ัหรือแก้ไขปญหานัน ๆ ได้ ้ ลักษณะสาคัญของเทคนิ ค PRA 1. เป็นการศึกษาชุมชนทีคนภายในชุมชนเป็ นผูศกษาวิเคราะห์เอง โดยผ่านกระบวนการ ่ ้ ึเสวนากลุ่ม 2. นักพัฒนาจะมีบทบาทเป็นเพียงผูอํานวยความสะดวกในกระบวนการเสวนา เรียนรู้ ้(Facilitator) มากกว่าเป็นประธาน หรือผูนํา และต้องอยูรวมในกระบวนการตังแต่ตนจนจบ ้ ่่ ้ ้ 3. วัตถุประสงค์ของการศึกษาจะเน้นทีผลประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิน และตัวคนทีเข้าร่วมใน ่ ่ ่กระบวนการให้มความสามารถในการวิเคราะห์ การตัดสินใจ และศักยภาพในการแก้ไขปญหาของ ี ัชุมชนได้มากยิงขึน ่ ้ 4. การทําเทคนิค PRA จะไม่ตงต้นทีความรูสาขาใดสาขาหนึ่ง หากแต่จะเริมจากสิงที่ ั้ ่ ้ ่ ่ชาวบ้านรู้ ชาวบ้านคิด รูสก และเชื่อเช่นนัน แล้วค่อย ๆ จัดกระบวนการแลกเปลียนข่าวสาร ข้อมูล ้ ึ ้ ่ระหว่างกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรูดวยตนเอง ้ ้