SlideShare a Scribd company logo
1 of 199
Download to read offline
BOBBYtutor Social Note                                             สังคมวิทยา                                                  ตองปรับตัวใหเขากับสิงแวดลอมตามธรรมชาติ                                                                         ่         1. มนุษย (สัตวสงคม) และสัตวโลก                          ั                       เพื่อความอยูรอดและดํารงรักษาเผาพันธุมิใหสูญไป                                                  เปนกระบวนการเลือกสรรของธรรมชาติ สัตวโลกที่ปรับตัวดี                              โครงสรางสังคม       เทานั้น จึงจะอยูรอดและดํารงเผาพันธุตอไป         2. สรางสังคม                              การจัดระเบียบทางสังคม         3. สรางวัฒนธรรม (มีเฉพาะสังคมมนุษย)             มนุษย                            สังคม                                 การเปลียนแปลง                                                                                            ่            - สัตวสังคม                     - อยูรวมกัน                       -   หวังวาจะดีขึ้น            - ตองการปจจัย 4                - พึงพาอาศัยกัน                                                 ่                               -   มีการพัฒนา            - มีความแตกตางกัน               - สรางกฎเกณฑ ระเบียบแบบแผน        -   มีวิวัฒนาการ              (ปจเจกชน)                                              เพื่อสาธารณประโยชน               -   ปฏิรูป            - มีความคิด วิจารณญาณ            - สรางบรรทัดฐาน                    -   ปฏิวัติ              ทศนคติ เจตคติ                ั                            - กําเนิดสถาบัน                     -   การแลกเปลียน  ่            - มีความเชื่อ                    - ขัดเกลาสมาชิก                     -   แนวโนมหรือทิศทาง            - มีคานิยม                                                          -   การคาดการณ            - มีวัฒนธรรม            - สรางสัญลักษณ              (ภาษา - อักษร)                                                         2                                       สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note     สิงทีทาใหความเปนมนุษยสมบูรณยงขึน คือ       ่ ่ํ                          ่ิ ้             1. การเรียนรู             2. มีการพัฒนา             3. มีคุณธรรม             4. มีสํานึก             5. รจกคณคา                 ู ั ุ                                                 โครงสรางสังคม                        กลุมคน                                              ลักษณะความสัมพันธ                     - กลุมสังคม                                                                               - ปฐมภูมิ                     - ฝูงชน                                                    - ทุตยภูมิ                                                                                     ิ                                                การจัดระเบียบทางสังคม         บรรทัดฐาน           สถาบัน                คานิยม              ความเชื่อ            การขัดเกลาและการ         หรือปทัสถาน                                                                         ควบคุมทางสังคม     - วิถีชาวบาน       - 7 สถาบัน              - สวนตัว         - ในหลกเหตผล                                                                          ั ุ                - ครอบครัว     - จารีตหรือ         - (การปกครองมี          - ของสังคม        - ในอานาจทมองไมเ หน                                                                        ํ    ่ี       ็      - เพื่อนฝูง       กฎศีลธรรม           อานาจมากทสด)                             ํ       ่ี ุ        - ที่ดีควรปลูกฝง                           - ศาสนา     - กฎหมาย            - สถานภาพ               - ทีตองแกไข                                - ครูอาจารย                                                     ่                         * ติดตัวมา                                                          - สื่อมวลชน                         * สังคมกําหนด                                                       * จูงใจหรือใหรางวัล                         * บทบาทและ                                                          * ลงโทษ                           บทบาทขัดแยง                                            ลวนเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม                                                             3                                     สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note                                                 การจัดระเบียบทางสังคม               การจดระเบยบทางสงคม คือ การทําใหคนมาอยูรวมกันในสังคมอยางมีระเบียบ โดยตองประพฤติปฏิบตภายใต                        ั            ี                        ั                                                                                                                    ัิ     แบบแผน กฎเกณฑอนเดียวกัน ซงจะทําใหสงคมดํารงอยูไดยงยืนและเปนปกติสข                                             ั                          ่ึ                        ั                        ่ั                        ุ               เครืองมือทีใชในการจัดระเบียบทางสังคม ไดแก                     ่             ่               1. คานิยม (Value) คือ สิงซึงเปนทีปรารถนาหรือสิงทีสมาชิกของสังคมอยากจะได เพราะหวังในประโยชนทพง                                                                               ่ ่                  ่                         ่ ่                                                       ่ี ่ึ     ไดรบเมอบคคลประสบกบการเลอกหรอเผชญกบเหตการณ และตองตัดสินใจอยางใดอยางหนึง เขาจะนําคานิยมมา         ั ่ื ุ                                     ั                 ื ื ิ ั ุ                                                                                       ่     ประกอบกับการตัดสินใจ คานยมจงเปนเสมอนแนวทางแหงการประพฤตปฏบตของบคคลโดยทวไป                                                            ิ ึ  ื                                                                         ิ ิัิ ุ              ่ั                       คานิยม หมายถึง สิงทีคนในสังคมเห็นวาดี ถกตอง พงกระทา นากระทํา                                                                    ่ ่                                                  ู  ึ                 ํ                คานยมทมประโยชนตอการจดระเบยบของสงคม เชน                    ิ ่ี ี                                                    ั              ี           ั                       - การเคารพผูอาวุโส                       - ความเอื้อเฟอเผื่อแผ                       - ความเปนระเบยบวนย                         ี ิั               คานิยมทีเปนผลเสียตอการจัดระเบียบของสังคม เชน                             ่                       - การไมมระเบียบวินย        ี                       ั                       - การไมเ คารพเวลา                       - การยกยองคนมีฐานะทางเศรษฐกิจ               ความสําคัญของคานิยม                       1. เปนสิงกําหนดพฤตกรรมของคนในสงคม                                          ่                                  ิ                            ั                       2. เปนสิงทีทาใหสงคมสงบหรอวนวายได                                            ่ ่ํ ั                                            ื ุ                       3. มผลกระทบตอความเจรญและความเสอมของรางกาย                               ี                                                        ิ                        ่ื                            คานยมของสงคมไทย                   ิ                   ั                       1. มีความรัก เคารพ เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย เพราะพระมหากษัตริยทรงเปนมิงขวัญและศูนยรวม                                                        ่     จิตใจของคนทังชาติ ทรงหวงใยและชวยเหลือประชาชนอยางใกลชด                          ้                                                                                                          ิ                       2. ยกยองอานาจ การมีอํานาจทําใหคนอนเกรงกลว และเคารพนับถือ นํามาซึงสิงปรารถนาไดโดยงาย                                        ํ                                                                ่ื                      ั                                  ่ ่     ฉะนันตําแหนงทีมอานาจจงมคนสวนใหญปรารถนา           ้                ่ีํ                         ึ ี                                                        3. ยกยองคนรํารวย เงินเปนปจจัยสําคญในการดํารงชีวต จึงเปนสิงทีทกคนปรารถนา คนรํ่ารวยจึงไดรบ                                                            ่                                                   ั                        ิ              ่ ุ่                                ั     การยกยองวา มีเกียรติ มีหนามีตา แมวาจะมีวธการในการไดเงินดวยวิธการทีไมเหมาะสม                                                                                                   ิี                                     ี ่                       4. ยกยองความมีจตใจนักเลง หมายความถง มีจตใจกลาไดกลาเสีย เขมแข็ง เดดขาด รกพวกพอง รกลกนอง                                                                     ิ                                                ึ ิ                                    ็           ั      ั ู     คนทีมจตใจเชนนีจงมีคนเคารพนับถือกันมาก             ่ีิ               ้ึ                       5. นยมการมยศฐาบรรดาศกด์ิ คือ การไดรบแตงตงใหดารงตาแหนงทีมเี กียรติ เปนเจาคนนายคน มีฐานะ                                 ิ                       ี                                 ั                          ั  ้ั  ํ ํ                       ่     ทางสงคมสง ทํางานทีไมตองใชกําลัง             ั ู                               ่                        6. ยกยองผูมความกตัญูรคณ คือ การใหความเคารพนบถอตอผมพระคณทเ่ี คยชวยเหลอตนมา ไมเ นรคณ                                                       ี                              ู ุ                                               ั ื  ู ี ุ                     ื            ุ     ตอทาน                               7. ยกยองผูมความรู ใครมีการศึกษาสูง หรือไดรบการศึกษามาก กจะเปนทยอมรบนบถอของคนทวไป                                                       ี                                                                      ั                     ็  ่ี ั ั ื                 ่ั                       8. เชื่อถือในเรื่องโชคลาง ไมเชื่อตัวเอง                       9. เคารพผูมีอายุมาก หรอประสบการณมาก ยอมไดรบเกียรติและการยกยองทางสังคม                                                                                   ื                                                  ั                                                                                               4                                                                   สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note            2. บรรทดฐานหรอปทสถาน (Norms) หมายถึง มาตรฐานทีคนสวนมากยึดถือเปนหลักปฏิบติ เปนแบบแผนท่ี                      ั      ื ั                             ่                        ั      ระบุวา ในสถานการณใดควรปฏบตอยางไร ไดแก ระเบียบ กฎเกณฑตางๆ หรอหมายถง เปนพฤติกรรมซึงสมาชิกของ                               ิัิ                             ื       ึ             ่     สงคมนนๆ สามารถคาดการณไดลวงหนาวาทุกคนจะตองปฏิบตตวอยางนันในรูปแบบเดียวกัน หากสมาชิกของสังคม      ั ้ั                                              ัิั      ้     ไมปฏิบตตามหรือฝาฝน ยอมมความผดถกลงโทษ ซึงมาตรการในการลงโทษอาจจะรุนแรงมากนอยตางกันตามประเภท            ัิ               ี        ิ ู         ่     ของบรรทัดฐาน               บรรทดฐานแยกออกไดเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ                    ั                                 1. วิถประชา (Folkways) หรือวิถชาวบาน                          ี                     ี                  2. ศีลธรรมจรรยา หรือจารีตประเพณี (Mores)                  3. กฎหมาย (Laws)                    วิถประชา                       ี                               กฎศลธรรม                                                          ี                               กฎหมาย       - เปนมาตรฐานความประพฤติที่เกี่ยว-     - เปนมาตรฐานความประพฤติ        - เปนมาตรฐานความประพฤติที่รัฐ         ของกับเรืองของความดี ความชั่วแต                   ่                            ทเ่ี กยวของกบเรองของความดี                                                      ่ี  ั ่ื                 บัญญัติขึ้นเพื่อใชควบคุมความ         เปนแนวทางที่สมาชิกของสังคมนยม   ิ     ความชั่ว ความมีคุณธรรมทาง       ประพฤติของสมาชิกในสังคมไว         ปฏบติ ไดแก มารยาทโดยทัวไปตาม             ิั                    ่           จตใจ เชน ความกตัญู ฯลฯ                                                    ิ                           เปนลายลักษณอกษร ั         สมัยนิยม       - สังคมไมเขมงวดหรือไมเครงครัดกับ   - สงคมมกเขมงวดหรอเครงครด                                                  ั ั             ื  ั      - บทบาทโทษจะรุนแรงมากหรือนอย         ผูละเมิดหรือผูไมปฏิบตตามเทาใดนัก                            ัิ                กับผูละเมิดหรือผูไมปฏิบติ                                                                      ั       ตลอดจนผูมหนาทีเ่ กียวของยอม                                                                                          ี        ่         มาตรการในการลงโทษจงไมรนแรง                                 ึ ุ           มาตรการในการลงโทษจึง            เปนไปตามกระบวนการยุตธรรมที่                                                                                                         ิ         อาจเปนเพยงตาหนิ การถกจองมอง                ี ํ              ู            รุนแรงกวาวิถประชาชน เชน                                                             ี                  กําหนดไวชดเจน                                                                                          ั         ฯลฯ                                    การไมคบหาสมาคมดวย           - เปนการลงโทษทางกฎหมายหรือ                                                การนินทา หรือการประจาน          การลงโทษอยางเปนทางการ                                                หรือการขับไลออกจากกลุม                                                   ฯลฯ            ทังวิถประชาและกฎศีลธรรมไมมบทลงโทษทีตราไวเปนลายลักษณอกษร เรียกไดวาเปนการลงโทษทางสังคม               ้ ี                        ี          ่                 ั                     หรอการลงโทษอยางไมเ ปนทางการกได         ื                          ็            ขอควรสงเกตเกยวกบบรรทดฐาน                   ั     ่ี ั      ั            1. สังคมหนึงๆ ยอมมีบรรทัดฐานทีเ่ ปนลักษณะเฉพาะของสังคมของตน ดังนันแตละสังคมจึงมีลกษณะบรรทัดฐาน                        ่                                                      ้                ั     ทีแตกตางกันไปได       ่            2. แตละสังคมอาจมีการรับรูปแบบบรรทัดฐานของสังคมอืนมาเปนบรรทัดฐานของสังคมตนได                                                                 ่            3. บรรทัดฐานยอมมีการเปลียนแปลงไดเสมอ                                        ่                                                            5                                      สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note               3. การขัดเกลาทางสังคม เปนกระบวนการทางสงคมกบจตวทยา ซึงผลทํ าใหบุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทาง                                                                ั ั ิ ิ         ่     ท่ีสงคมตองการจะเรมตนตงแตบคคลเกดมาเปนกระบวนการทจะตองประสบตงแตเ กดจนตาย ทังโดยทางตรงและทางออม         ั                   ่ิ  ้ั  ุ       ิ                 ่ี        ้ั ิ        ้     จะไดรบรบรรทดฐานและขนบธรรมเนยมประเพณทใชอยในสงคมพรอมทจะใชชวตในแนวทางทสงคมตองการ             ั ู ั                          ี        ี ่ี  ู ั       ่ี  ี ิ          ่ี ั                กระบวนการขัดเกลาทางสังคมจึงเปนสิงทีมนุษยจะตองประสบตลอดชีวต เพราะมนษยเ ปนสตวสงคมเพอความเปน                                                   ่ ่                      ิ       ุ  ั ั        ่ื          มนษยอยางแทจรง          ุ    ิ               จุดมุงหมายของการขัดเกลาทางสังคม               1. เพือปลูกฝงระเบียบวินย                      ่                   ั               2. เพอปลกฝงความมงหวง                        ่ื ู         ุ ั               3. สอนใหรจกบทบาทและทศนคตตางๆ                             ู ั          ั     ิ               4. สอนใหรูจักเกิดความชํานาญหรือทักษะ                                                คานยม                                                  ิ               1. เปนสิงทีตวเรากําหนดเองดวยความพอใจ โดยการ                        ่ ่ั                                     - ใชความคิด พิจารณา ประเมินคา ตดสนใจ ดูวาถูกตองเหมาะสม ดีหรือไม                                                          ั ิ                          - และเลอกในทสด                             ื       ่ี ุ               2. เมอประสบภาวะทตองเลอก คนเราจะใชคานิยมเสมอ                     ่ื                ่ี  ื               3. เปนรูปแบบของความคิด ทีใชในการประเมินคาสิงตางๆ ทงรปธรรม (ธรรมชาติ โบราณสถาน) และนามธรรม                                                 ่               ่          ั้ ู     (ความซอสตย ตรงเวลา เคารพอาวุโส) และมีผลตอการแสดงออก หรอแสดงพฤตกรรมของบคคลตามความคดนน             ่ื ั                                                             ื        ิ      ุ     ิ ้ั               4. คานิยมจึงมีทงสิงทีดี และทควรแกไข (ไมดี)                               ้ั ่ ่              ่ี                  5. เปนพืนฐานสําคัญทีกอใหเกิดบรรทัดฐาน เชน ความกตัญูรคณคน                         ้                ่                                     ู ุ               6. ในขณะทเ่ี ราตองยอมรบบรรทดฐานของสงคม แตขณะเดยวกนกตองสมพนธกบคนจานวนมากในสังคม                                            ั        ั    ั                      ี ั ็ ั ั ั ํ     จึงทําใหเกิดคานิยมตามมา               7. เรียงลําดบความสมพนธระหวาง                           ั        ั ั                                                                คานิยม (ของสังคม)                                                                 ↑                                                              สมัยนิยม                                                                 ↑                                                              รสนยม (สวนตว)                                                                   ิ       ั                                                       6                                     สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note                                            บรรทัดฐาน              1. เปนสงทสงคมกําหนด สมาชกตองปฏบตตามโดยไมมสทธโตแยง                     ่ิ ่ี ั                 ิ  ิัิ        ีิ ิ                2. เปนสวนหนึงของวัฒนธรรม                              ่              3. มีลกษณะเปนกฎเกณฑ เปนแบบแผน เปนมาตรฐานในการประพฤติปฏิบตของสมาชิกในทุกสถานการณ                     ั                                                          ัิ     เชน เปนลูกตองเลียงดูพอแม (วิถชาวบานและจารีต)                         ้           ี              4. เปนแบบอยางของการปฏิบตระหวางบุคคลตางๆ เชน พอแม-ลูก, นาย-บาว, หญง-ชาย, ครู-ศิษย พอ                                          ัิ                                        ิ     คา-ลกคา           ู               5. - วถชาวบาน ไมมการลงโทษเปนลายลกษณ                        ิี  ี                       ั                 - จารีต ไมมการลงโทษเปนลายลกษณ แตมการลงโทษทางสังคมทีชดเจน ไดแก การมอง ตําหนิ นินทาวาราย                                ี                ั       ี            ่ั                       ไมพอใจ และการขบไลออกจากสงคม                                        ั           ั                 - กฎหมาย มีบทลงโทษเปนลายลักษณอกษร เปนบรรทัดฐานทีเ่ ปลียนแปลงงายทีสด                                                         ั                 ่          ุ่                                                 สถาบัน             1. เปนแบบแผนพฤติกรรมทีปฏิบตสบตอกันมา และเปนทียอมรับในสังคม (เหมือนบรรทัดฐาน)                                        ่ ัิื                   ่             2. เปนสวนหนึงของวัฒนธรรม                               ่             3. มีลกษณะเปนรูปแบบของความสัมพันธแบบเปนทางการ หรือเปนกิจกรรม องคกร เพือใหสมาชิกของสังคม                      ั                                                               ่     ไดมอะไรทํารวมกันเพือชวยพัฒนาสังคมในหลายๆ ดาน         ี                  ่                 - เปนกระบวนการทีจดไวเปนหมวดหมูตามประเภทของความตองการ มีการจัดระเบียบอยางดี                                     ่ั                               - กําหนดสถานภาพ และบทบาทของผเู กยวของ่ี                  - มีความชัดเจน เปนรูปธรรมแนนอน และเปลียนแปลงยาก                                                            ่             4. เปนระบบของความสมพนธทางสงคม ซงประกอบดวย กระบวนการ วัตถุ อปกรณ บางอยางมีลกษณะเปน                                   ั ั  ั       ่ึ                          ุ                 ั     นามธรรม             5. บคคลหนงคนอาจจะมหลายสถานภาพ และหลายบทบาทก็ได และเมือนําไปปฏบตบางครงกเ็ กดบทบาท                  ุ      ่ึ          ี                                       ่      ิัิ      ้ั ิ     ขัดแยงได (สถานภาพขดแยงไมมี)                              ั                                                          7                                     สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note     สถาบันทางสังคม            สถาบันสังคมเปนสงทสงคมกอตงใหมขนเพอการดารงอยของสงคมนน การทีสถาบันใดสถาบันหนึงจะดํารงอยได                           ิ่ ี่ ั  ั้  ี ึ้ ื่     ํ  ู ั ้ั    ่                ่         ู     หรือสูญสินจึงขึนอยูกบการทีคนในสังคมเห็นวามีคณคามากนอยเพียงใด              ้ ้ ั           ่                   ุ         สถาบัน      ตําแหนงทางสังคม                         หนาที่                 แบบแผนการปฏิบติ    ั         ศาสนา      - ศาสนา                 - สรางความศรทธาและความเชอทาง                                                           ั          ่ื       - เสยสละ                                                                                       ี                    - ผูสบทอดศาสนา                        ื                    ศีลธรรมจรรยา                      - ซอสตยสจรต                                                                                    ่ื ั  ุ ิ                                            - อบรมสงสอนและความประพฤตของ                                                      ่ั                  ิ     - ปฏบตศาสนาไดอยาง                                                                                          ิัิ                                                       บุคคล                               ถูกตอง        การศกษา            ึ       - ครู อาจารย           - ใหความรเู กยวกบกฎเกณฑทางสงคม                                                         ่ี ั         ั       - การถายทอดวิทยาการ                    - นักเรียน              - รจกใชแหลงคนควา                                               ู ั                         - ฝกทักษะความชํานาญ                                                                                - นกเรยนตองขยนใฝหา                                                                                      ั ี  ั                                                                                   ความรูเพิ่มเติม        เศรษฐกิจ  - ผูผลิต              - ผลตสนคาและใหบรการ                                              ิ ิ          ิ                  - ชวยเหลือเกือกูลกันใน                                                                                                 ้                  - ผูบริโภค                                                     สังคมขนาดเล็ก      สือสารมวลชน - เจาหนาทีฝายขาวสาร - แพรขาวสารความรู        ่                     ่                                              - เสนอขาวที่เปนจริง       นนทนาการ - บุคคลทุกคนใน          ั                              - สรางเสริมสุขภาพรางกายและจิตใจ      - ใหรจกหลักเกณฑการ                                                                                          ู ั                     สงคม                       ั                   ของสมาชกในสงคม                                                     ิ ั                          เลนกฬา  ี                                                                                - มีนํ้าใจเปนนกกฬา                                                                                                ั ี        ครอบครัว    - พอ แม ลูก พี่ ปา   - ใหกําเนิดสมาชิกใหม                                                                               - ความผูกพันลึกซึงทาง ้                      นา อา                - อบรมเลียงดู                                                      ้                           การสมรสและสายโลหต        ิ                                            - สังสอนกฎเกณฑและคุณคาทางสังคม                                                ่       การปกครอง - คณะรฐบาล                       ั                    - รักษาความสงบเรียบรอยในสังคม   - ความรวมมือกันระหวาง                 - คณะกรรมการ               - ออกกฎหมาย                        ประชาชนและเจาหนาทีรัฐ                                                                                                    ่                   ตลาการ                    ุ                       - ควบคุมใหมการปฏิบติ                                                         ี        ั          - ประชาชนตองเคารพ                                                                               กฎหมาย                                                                             - เจาหนาทีตองปฏิบตหนาที่                                                                                         ่     ัิ                                                                               ดวยความยตธรรม                                                                                           ุิ                                                       8                                      สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note                                                   วฒนธรรม                                                    ั                 ตลอดระยะทีผานมา ไมวาจะเปนชาวบาน, ขาราชการ, พอคานักธุรกิจหรือแมแตในหมูปญญาชนนักวิชาการ                                           ่                                                                       ดวยกนเอง ตางมความเขาใจตอความหมายแหงคาวา "วฒนธรรม" กันอยางชนิดผลิแผกแตกตางกันออกไป แตกตางกัน              ั         ี                                        ํ           ั     จนแทบจะไมสามารถหลอมใหอยูบนพืนฐานแหงความเขาใจไปในแนวทางเดียวกันไดกมี                                                         ้                                              ็                 ซึงจุดนีถอวาไมเปนคุณตอ "การสานตอวัฒนธรรมไทย/ทามกลางกระแสโลกานุวตร" ในเวลานเ้ี ลย ฉะนนเพอเปน                    ่ ้ื                                                                               ั              ้ั ่ื      การหาบรรทัดฐานกลาง ในการทําความเขาใจ ความหมายแหง "วัฒนธรรม" รวมกัน จึงขอรวบรวมคํานิยามความหมาย                                                                                           ทีนกคิด นักทฤษฎีดานสังคมวิทยาและมนุษยวิทยาไดใหคําจํากัดความไวอยางหลากหลายมาเปน "หลักคิด" ไวดงน้ี             ่ั                                                                                                        ั                 คําวา "วัฒนธรรม" (Culture) เกิดจากการรวมคํา 2 คํา เขาดวยกันคือ "วัฒนะ" เปนภาษาบาลี หมายถึง     ความเจริญความงอกงาม คําวา "ธรรม" เปนภาษาสันสกฤต หมายถึง คุณความด,ี ความจริง                                                                   ความหมายคําวา "วัฒนธรรม" เอ็ดเวิรด บี ทายเลอร นกมนษยวทยาทมชอเสยง ใหคาจํากดความไววา คือ                                                                                           ั ุ ิ ่ี ี ่ื ี   ํ ั                สงรวมทงหมด ทีซบซอน ประกอบดวยความรู ความเชื่อ ศิลปะ กฎหมาย ศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี          ่ิ     ้ั                 ่ั                            ความสามารถอืนๆ และรวมถึงนิสยมนุษยในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึงของสังคม ศาสตราจารยเฮอรสโควิซส นักสังคมวิทยา                           ่                             ั                              ่     ชอดงใหความหมายไววา คือ ทกสงทกอยางทมนษยสรางขน ซึงกินความหมายกวางขวางเกินจริยศาสตร, สนทรยศาสตร      ื่ ั                                          ุ ่ิ ุ  ่ี ุ   ้ึ ่                                      ุ ี     และขนบธรรมเนยมประเพณี   ี                 นอกจากนนนกมนษยวทยาอกกลมหนงยงใหคําจํากัดความอันหลากหลายดังนี้ คือ                                  ้ั ั ุ ิ ี ุ ่ึ ั                  - เปนรปแบบของความประพฤตทงหมดทไดมา อันไดแก แนวความคด คานิยมหรือคุณธรรม และสิงทังหลาย                          ู                                   ิ ั้        ี่                   ิ                   ่ ้     ซงเปนมรดกทางสงคมทบรรพบรษของเราไดสะสมไวและตกทอดมาถงคนรนตอมาได โดยการเรียนรูจากสัญลักษณนนๆ        ึ่                    ั ี่                 ุุ                                  ึ ุ                        ้ั                 - เปนทกสงทกอยางทเี่ ปนผลงานของกลมคน เชน ภาษา การทําเครองมออตสาหกรรม ศิลปะวิทยาศาสตร,                           ุ ิ่ ุ                                    ุ                         ่ื ื ุ     กฎหมาย, รฐบาล, ศีลธรรม และศาสนา เปนตน                      ั                 - เปนทุกสิงทุกอยางทีเ่ กิดจากการเรียนรูดวยการสือสารตอกัน ขนบธรรมเนียม จารีต และสถาบันตางๆ                                         ่                                        ่                 - เปนทีรวมของบรรทัดฐาน (Norms), คานิยม (Value), ความเชื่อ (Belief)                                ่            ความหมายจากนกวชาการไทย                        ั ิ            - ศาสตราจารย ดร. สาโรช บัวศรี ใหความหมายไว คือ ความดี ความงาม และความจริงในชีวตมนุษย                                                                                                ิ     ซึงปรากฏในรูปแบบตางๆ และไดตกทอดมาถงเราในสมยปจจบน       ่                                  ึ         ั  ุั            - พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ใหความหมายไว คือ เปนการสังสมประสบการณ ความรู ความสามารถ                                                                      ่     ภูมิธรรม ภูมปญญาทังหมดทีไดชวยมนุษยในสมัยนันๆ อยรอดและเจรญสบตอมาไดและเปนอยอยางทเ่ี ปนในบดน้ี                 ิ    ้     ่                    ้    ู      ิ ื            ู   ั                                                                9                                           สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note                         ประเภทของวัฒนธรรม                                  อทธพลของวฒนธรรม                                                                             ิ ิ       ั      1. คติธรรม วัฒนธรรมเกียวกับคานิยมในการดําเนินชีวิต                                ่                              1. ไทยเปนวัฒนธรรมผสมผสาน         เชน ความซอสตย การตรงตอเวลา ความขยันขันแข็ง                    ่ื ั                                       2. ความขัดแยงทางวัฒนธรรม      2. เนตธรรม วฒนธรรมเกยวกบกฎระเบยบปฏบตในทาง-              ิ       ั           ่ี ั        ี ิัิ            3. ความลาหลังหรือความลาชาทางวัฒนธรรม         กฎหมาย ประเพณตางๆ เชน การบวช แตงงาน                           ี                                  4. วัฒนธรรมใหญ และวัฒนธรรมรองหรือวัฒน-      3. วตถธรรม วัฒนธรรมทีเ่ กียวกับวัตถุสงของเครืองใชหรือ          ั ุ                       ่      ่ิ      ่               ธรรมยอย         ความสะดวกสบายตางๆ      4. สหธรรม วัฒนธรรมเกียวกับมารยาทของสังคม เชน                              ่         การเขาสังคม การรับประทานอาหาร การปรับตัวในสถาน-         การณตางๆ                                         ความหมายของวัฒนธรรม                                  ความสาคัญของวัฒนธรรม                                                                                     ํ      1. หมายถึง ทกสงทกอยางทมนษยสรางสรรคขนเพอใชใน                      ุ ่ิ ุ  ่ี ุ            ้ึ ่ื       1. เปนแบบแผนหรือเปนวิถทางในการดําเนินชีวิต                                                                                              ี         การพัฒนาและแกปญหาของชีวต เพือตอบสนองความ                                     ิ ่                         ของแตละสังคมทุกสังคมมนุษยจะลาหลังหรือ         ตองการและจดเปนสงทสลบซบซอน ไมเ คยปรากฏวามี                       ั  ่ิ ่ี ั ั                           ทันสมัยลวนมีวฒนธรรม                                                                                   ั         มนษยกลมไหนไรวฒนธรรม               ุ  ุ        ั                                2. สามารถพฒนาและเปลยนแปลงได (ทงเพมเตม                                                                               ั           ่ี         ้ั ่ิ ิ      2. หมายถึง ผลงานทีมนุษยไดสรางสรรคขนระหวางความรู                             ่              ้ึ                    และสูญสลาย)         ความคิด ความเชื่อ ศิลปะ คุณธรรม กฎหมาย ขนบ-           3. เปนมรดกตกทอดและเปนเอกลักษณของแตละ         ธรรมเนียม พฤตกรรม วาจาทาที และกิจกรรมทีมการ                           ิ                         ่ี           สงคม                                                                   ั         สือสารระหวางวัฒนธรรม จงมลกษณะทเ่ี ดนชด และเปน           ่                        ึ ีั        ั             4. มิใชภาวะธรรมชาติ         สากลสําหรับมนุษยทกสังคม ุ                            5. นํามาเปรียบเทียบกันไมได (วาวัฒนธรรมใดดี                                                                  กวากัน)                                                               6. มใชสงทดงามเหมอนศลธรรมเสมอไป                                                                     ิ  ่ิ ่ี ี       ื ี                                                         10                                      สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note                                                 สังคมไทย     โครงสรางของสงคมไทย                ั              1. มีประชากรประมาณ 63 ลานคน (ธันวาคม 2544) มีจํานวนทีเ่ ปนเพศหญิงมากกวาเพศชายเล็กนอย              2. มีดนแดนทีอยูอาศัยบริเวณใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ภูมภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีเนือทีประมาณ                     ิ        ่                                            ิ                               ้ ่     5 แสนตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 321 ลานไร              3. ประชากรสวนใหญ (ประมาณรอยละ 80) ประกอบอาชพอยตามชนบท                                                                  ี ู              4. ประชากรสวนใหญ (ประมาณรอยละ 70) ประกอบอาชีพทางการเกษตร ทเ่ี หลอนอกนนประกอบอาชพทาง                                                                                             ื        ้ั          ี     ดานธุรกิจการคา อุตสาหกรรมและบริการ ซึงสวนใหญของผูประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรเหลานีจะอาศัยอยูในตัวเมือง                                                   ่                                             ้               (รอยละ 20) โครงสรางของสงคมไทยจงประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สงคมชนบท และสงคมเมอง                                   ั    ึ                               ั                 ั       ื              5. ประชาชนกวารอยละ 80 นับถือศาสนาพุทธ              6. มพระมหากษตรยเ ปนประมขของชาตสบตอกนมาหลายรอยป และในปจจบนสถาบนพระมหากษตรยเ ปน                   ี             ั ิ      ุ         ิื  ั                          ุั       ั               ั ิ      ศูนยรวมจิตใจและพลังความสามัคคีของปวงชนชาวไทยทังชาติ   ้              7. เปนสังคมทีกําลังพัฒนาอยางรวดเร็วทังดานเศรษฐกิจ สงคม และการเมืองการปกครอง                               ่                      ้             ั              8. คานิยมทีปรากฏใหพบเห็นโดยทัวไป คือ การเคารพผอาวโุ ส การเชือถือโชคลาง รกความเปนอสระ ใจบญสนทาน                          ่                  ่                  ู            ่         ั              ิ      ุ ุ     และไมอาฆาตพยาบาทนาน                          9. เอกลกษณและภาพพจนของสงคมไทย คือ ปรับตัวเกงมีน้าใจอธยาศยไมตรี รกครอบครว                       ั                ั                             ํ ั ั             ั               ั     ลกษณะเดนของระบบสงคมไทย      ั             ั            ตามทศนะของ ดร. ไพบลย ชางเรียน สรุปลักษณะสังคมไทยทีสําคญเปนดงน้ี                    ั              ู                                ่ ั  ั            1. เปนระบบชนชั้น ทังนีสบเนืองมาจากระบบศักดินาโดยถือเอาเกียรติ หรือฐานะทางสังคม หรือฐานะทางการ                                 ้ ้ื ่     ศึกษาเปนเครืองวัด                  ่            2. เปนสังคมชนบท กลาวคอ ครอบครัวมีขนาดใหญ ความสัมพันธระหวางครอบครัวเปนไปตามความรูสกหรือ                                   ื                                                               ึ     ขนบธรรมเนียมประเพณี รักถินทีอยูไมชอบการโยกยาย อาศัยอยูตามชนบท มีการศึกษานอย สภาพชีวตความเปนอยูมี                                ่ ่                                                        ิ                ลักษณะงาย            3. เปนสังคมทีสมาชิกโดยทัวไปมีจตใจโอบออมอารี เออเฟอเผอแผซงกนและกนเสมอ                          ่          ่     ิ                ้ื  ่ื  ่ึ ั     ั            4. เปนสงคมเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทางการเกษตร                       ั            5. คานิยม (Social value) ยังนิยมยกยองเงิน ยกยองอานาจ ยกยองความเปนผูอาวุโส และนิยมยกยอง                                                               ํ                          การเปนเจาคนนายคน                                                           11                                        สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note     โครงสรางเดนของสังคมไทย          ประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สงคมชนบท และสงคมเมอง                                       ั               ั     ื          สังคมชนบท หมายถึง กลุมคนทีอาศัยอยูในเขตนอกตัวเมืองออกไป ตามสวน ไร นา และปาเขา                                    ่                 สงคมเมอง หมายถึง กลุมคนทีอาศัยรวมกันอยูอยางหนาแนน มีความเจริญและศูนยกลางตางๆ ทีเ่ กียวกับเศรษฐกิจ            ั    ื             ่                                                                ่     สงคมและการเมอง การปกครอง      ั            ื              เกณฑตางๆ                                            สังคมชนบท                                สังคมเมือง     1. ลกษณะครอบครว         ั            ั             - สวนใหญเปนครอบครัวขยาย        - สวนใหญเปนครอบครัวเดียว่     2. อาชีพ                       - กสิกรรมเปนอาชีพหลัก            - หลายประเภท เชน อุตสาหกรรม การคา                                                                         งานบริการ ราชการ พนักงาน ธุรกิจเอกชน      3. ระบบการติดตอสัมพันธ - เปนแบบอรปนย                                              ู ั                    - เปนแบบรูปนัย      4. ขนาดของชุมชน          - มีขนาดเล็ก                           - มีขนาดใหญ      5. ความหนาแนนของประชากร - ความหนาแนนนอย พลเมือง              - ความหนาแนนมาก พลเมองอยใกลชดกน                                                                                              ื ู  ิ ั                                 แยกกันอยูเ ปนกลุมเล็กๆ                                                                       เปนกลุมใหญ                                                                                     6. ความแตกและความเหมือน - มี Homogeneity (ความเหมือน            - Heterogeneity (ความแตกตางกน) ั         ของประชากร              กน) ทางดานเชือชาติ วฒนธรรม                                    ั              ้     ั               ทางดานอาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจของ                                 และลักษณะทางจิตวิทยาสังคม               ชาติ ศาสนา แนวความคิดทางการเมือง      7. ความแตกตางของชันทาง                          ้    - มีนอยกวาเมือง                      - มีความแตกตางกันมา         สังคมและเศรษฐกิจ      8. ชีวตความเปนอยู              ิ                - โดยทัวไปยึดมันในคานิยมและ                                          ่      ่                    - สวนใหญคลอยไปตามวฒนธรรมตะวนตก                                                                                         ั       ั                                 วัฒนธรรมดั้งเดิมและดํารงชีวต    ิ      การดํารงชวตประจาวนคอนขางสบสน                                                                                    ีิ   ํ ั   ั                                 อยูอยางงายๆ                                                                       ซับซอน      9. การเคลือนยาย                ่              - การเคลือนยายภายในมีนอย                                            ่                        - การเคลือนยายภายในมีมาก                                                                                ่     10. สงแวดลอม           ่ิ                 - มสงแวดลอมเปนธรรมชาตเิ ปน                                   ี ่ิ                            - มสงแวดลอมเปนอาคารบานเรอนทมอยู                                                                           ี ่ิ              ื ่ี ี                                 สวนใหญและมีอทธิพลตอชีวต                                                     ิ       ิ          อยางหนาแนนและเตมไปดวยสถานเรงรมย                                                                                        ็          ิ                                 ความเปนอยูมาก                                                        12                                      สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note          ลกษณะความแตกตาง           ั                                       สังคมชนบท                            สังคมเมือง     1. ประชากรและครอบครว                        ั             มประชากรจานวนมาก แตอยูกน                                          ี         ํ           ั         มีประชากรจํานวนมาก แตอยูกน  ั                                      อยางกระจดกระจายและเปน                                                 ั                       อยางหนาแนนจนกลายเปนชมชนแออด                                                                                                   ุ        ั                                      ครอบครวขนาดใหญ                                                ั                          และเปนครอบครวเดยว                                                                                           ั ่ี     2. การตังถินฐานของประชากร             ้ ่                      ตังบานเรือนตามริมถนน แมน้า                                        ้                        ํ         มีการแบงเขตเมือง เชน เขตทีอยูอาศัย                                                                                                        ่                                       หนองบงและทางรถไฟ                                              ึ                            เขตธุรกิจ เขตอุตสาหกรรม ฯลฯ     3. การศกษา            ึ                         มการศกษาคอนขางตาและขาดแคลน                                          ี ึ   ่ํ                       เปนศนยกลางการศกษาทกระดบ                                                                              ู           ึ ุ ั                                      ในเรองของสถาบนการศกษา รวมทัง                                            ่ื       ั        ึ        ้   มีคณภาพสูง อุปกรณการเรียน                                                                               ุ                                      อปกรณการเรยนการสอน                                        ุ         ี                       การสอนสมบูรณ     4. เศรษฐกิจ                      เปนสังคมเกษตรกรรม และมี             เปนศูนยรวมการคา พาณิชยกรรม                                      ผลผลตทางการเกษตรต่า                                               ิ            ํ              อุตสาหกรรม และบริการตางๆ     5. การเมืองการปกครอง             แบงเปนองคการบริหารสวนจังหวัด     เปนศูนยรวมของอํานาจการปกครอง                                      เขตสุขาภิบาล และเทศบาล     6. ศาสนา, ขนบธรรมเนียมประเพณี มีความเครงครัด และเชือถือ                                                         ่                 มีความเชื่อถือในศาสนา และเครงครัด                                   ในระเบยบประเพณี และศาสนาสูง                                         ี                                 ในขนบธรรมเนียมดั้งเดิมไมมากนัก                                                                           เพราะรับวัฒนธรรมตะวันตกไดรวดเร็ว     7. ความสัมพันธทางสังคม          มความสมพนธแบบปฐมภมิ                                        ี    ั ั          ู               มีความสัมพันธแบบทุตยภูมิ                                                                                               ิ                                      มีความผูกพันกันแบบเครือญาติ          ตดตอสมพนธกน                                                                             ิ  ั ั ั                                      ปญหาสังคมไทย     ปญหาสงคมในชนบทและเมองมความแตกตางกน ดังนี้         ั             ื ี         ั                                 ตารางเปรียบเทียบปญหาในสังคมชนบทและสังคมเมือง                       ปญหาสังคมชนบท                                          ปญหาสงคมเมอง                                                                                     ั   ื     1. ปญหาความยากจนและรายไดตา                                  ่ํ                       1. ปญหาการจราจร     2. ปญหาสุขภาพอนามัยไมแข็งแรง ปญหาทุพโภชนาการ         2. ปญหาชุมชนแออัดอันนาไปสูปญหาดานอืนตามมา                                                                                     ํ          ่     3. ปญหาการดอยการศึกษา                                 3. ปญหาสิงแวดลอมเปนพิษ                                                                         ่     4. ปญหาดานการคมนาคมขนสง                              4. ปญหาสิงเสพติด                                                                       ่     5. ปญหาการเพิมจํานวนประชากรในอตราสง ฯลฯ                   ่                   ั ู                   5. ปญหาการวางงาน                                                                                                                                       6. ปญหาการฉอราษฎรบงหลวงในระบบราชการ ฯลฯ                                                                                ั                                                        13                                        สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note           ในปจจบนสงคมไทยมปญหาโดยทวไป ไดแก               ุั ั                   ี   ่ั               - ปญหาประชากร              - ปญหาสงแวดลอม                               ่ิ                   - ปญหาสิงเสพติด่              - ปญหาอาชญากรรม                                      - ปญหาความยากจน                                    - ปญหาโรคเอดส              - ปญหาโสเภณี              - ปญหาความมันคงของชาติ่              - ปญหาการฉอราษฎรบงหลวง   ั              - ปญหาการวางงาน                                                - ปญหาขาราชการและระบบการบริหารงาน                        ลกษณะเดนของสงคมไทย                           ั             ั                                       ลักษณะครอบครัวไทย      1. เปนระบบชนชั้น ถือเกียรติ ฐานะทางสังคม และการศึกษา         1. สวนใหญเปนครอบครัวเดียว มีครอบครัวขยาย                                                                                                ่         เปนเครืองวัด                 ่                                                     บางในสังคมชนบท      2. เปนสังคมชนบท ครอบครวขนาดใหญ รกทอยไมชอบ                                      ั        ั ่ี ู             2. มีความผูกพันทางสายเลือดคอนขางแนนแฟน         โยกยายความเปนอยงายๆ                          ู                                     3. ชายเปนใหญกวาหญิง      3. เปนสงคมเกษตรกรรมถง 70%             ั                   ึ                                 4. ชอบนับญาติ ทังทางสายบิดา-มารดา                                                                                      ้      4. เปนสังคมเปด (ขอดี) และเปนสังคมหลวมหรือออน (ขอเสีย)   5. เคารพเชือฟงตามลําดับอาวุโส                                                                                ่      5. คานยมทวไป เคารพอาวโุ ส ยกยองเงิน อํานาจ ใจบญสนทาน            ิ ่ั                                      ุ ุ             (สวนใหญเปนอิทธิพลทีรบมาจากจีน)                                                                                             ่ั                                        การเปรยบเทยบสงคมไทย - สังคมตะวันตก                                              ี ี ั                        สังคมไทย                                             สังคมตะวันตก      - ความสมพนธแบบปฐมภมิ               ั ั             ู                    - ความสัมพันธแบบทุตยภูมิ                                                                           ิ      - เนนคานิยมดูดี                              - เนนคานิยมอยูดี      - ยึดตัวบุคคลมากกวา หลักการ (ความถูกใจ        - ยดหลกการ, กฎหมายมากกวาตัวบุคคล (ความถูกตองมากกวา                                                        ึ ั        มากกวาความถกตอง)                       ู                             ความถูกใจ)      - สถาบันครอบครัวอบอุนใกลชิด                                                    - สถาบนครอบครวโดดเดยวเงยบเหงา                                                             ั           ั    ่ี ี      - อาศัยธรรมชาติมากกวา                         - อาศัยเทคโนโลยีมากกวา      - ปญหาสงคม เครียด และรุนแรงนอยกวา                 ั                                  - ปญหาสงคม เครียด ซับซอน และรุนแรงมากกวา                                                              ั                                                            14                                    สังคมศึกษา
BOBBYtutor Social Note     คานิยมใหมๆ ของสังคมไทยทีไดจากทรรศนะของนักวิชาการไทยและชาวตางประเทศ คือ                                 ่             - การนิยมบุคคลมากกวาหลักการ จงมกละเมดกฎเกณฑ                                               ึ ั      ิ             - การเล็งผลเชิงปฏิบติ ไมยดมันในสิงทีไมเห็นผลหรือไมสอดคลองกับผลประโยชน ทําใหไมยดหลักการ                                   ั      ึ ่ ่ ่                                                    ึ     มกยดผลประโยชนตน และตัวบุคคลเปนสําคัญ รักพวกพองคํานึงถึงความสัมพันธกนเปนสวนตัว (ภาครุนสีสถาบัน)        ั ึ                                                                    ั                       ทําใหลดความสําคญของหลกการลง                       ั      ั             - มีความเปนปจเจกชนนิยมสูง แตรกอิสระ ไมชอบใครบังคับ ชอบความสะดวกสบาย และขาดระเบียบวินย                                                ั                                                           ั     ไมชอบระเบียบแบบแผน กฎเกณฑตางๆ                - นิยมคนใจบุญ ใจกวาง นิยมทําบญสรางกศล สังคมไทยไมพยาบาทนาน ทังใหอภัยงายและลืมงายไมวา                                                  ุ  ุ                              ้                               ความดีหรือความเลว             - นิยมแกปญหาเฉพาะหนา วางแผนระยะยาวไมเ ปน ขาดความคิดสรางสรรคแบบเปนระบบ และการเปนผนํา                                                                                                      ู             - การไมชอบขัดใจผูอื่น เกรงใจคน ไมไดแยง ผลทาใหสงคมไทยไมชอบพูดจาความจริง ไมยอมรบความจรง                                                             ํ ั                              ั              ิ     รบความจรงไมได      ั          ิ              - เชื่อถือในโชคลางเครื่องรางของขลัง และสงเหนอธรรมชาติ แมพระพุทธรูปก็ยดถือในดานขลังและศักดิสทธิ์                                                      ่ิ ื                         ึ                     ์ิ     มากกวาเนือหาสาระของคําสอน               ้     สังคมไทยสมัยสุโขทัย            -   สังคมมีขนาดเล็ก แคบ การเคลอนไหวทางสงคมมนอย การพัฒนาทางสังคมชา สังคมอยูกบที่                                               ่ื         ั ี                          ั            -   บานเมืองสงบ คนมีอิสระเสรี ไมมศกสงครามใหญ จึงไมจาเปนตองใชกําลังคน                                                  ีึ                 ํ            -   พึงกอสรางชาติรวมกัน ผูนําและสมาชิกในสังคมจึงมีความรูผกพันกันแนนแฟน                  ่                                                   ู            -   สังคมพึงตนเองเปนสวนใหญ การตดตอสมพนธกบสงคมอนยงมนอย                        ่                          ิ  ั ั  ั ั ่ื ั ี      สงคมไทยสมยอยธยา      ั       ั ุ             - สงคมเรมขยายตวกวางขน ติดตอสัมพันธกบสังคมอืนมากขึน เชน ชาติตะวันตก โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ                 ั       ่ิ   ั  ้ึ                     ั  ่     ้     มากกวาทางการเมอง                    ื             - การคาขายเจริญรุงเรือง เพราะมีทตงทีเ่ หมาะสม                                             ่ี ้ั             - ทําศึกสงครามมาก เทคโนโลยีมีนอยมาก กําลังคนจึงเปนเรืองสําคัญทีสดของสังคม การควบคุมกําลังคน                                                                    ่          ุ่     จงเปนเรองใหญ ทังในการศึก และทางเศรษฐกิจเพือเปนแรงงานเกษตร      ึ  ่ื           ้                             ่             - เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมเปนครังแรก ทําใหเกิดลัทธิเทวสิทธิ์ ระบบศักดินา ระบบจตุสดมภ                                                       ้     สงคมไทยสมยรตนโกสนทร      ั       ั ั    ิ           - การเคลือนไหวทางสังคมเกิดขึนอยางมากมาย เพราะอิทธิพลของการลาอาณานิคมของชาติตะวันตก ทําให                    ่                  ้     ไทยเราตองปรบตวใหทนสมย ยดหยนรบสถานการณ เพือแลกเปลียนกับการรักษาเอกราช             ั ั  ั ั ื ุ ั                      ่       ่           - สังคมพัฒนาอยางรวดเร็วเพราะอิทธิพลการรับเทคโนโลยี และความเจริญจากตะวันตกในทุกดาน           - ศึกสงครามนอยลง เปลียนเปนการเสียดินแดนและสิทธิสภาพนอกอาณาเขต                                 ่                                                         15                                      สังคมศึกษา
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial
ติวOne tsocial

More Related Content

What's hot

Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมTongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์Wes Yod
 
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tongsamut vorasan
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายPanda Jing
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languagedentyomaraj
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) Chor Chang
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์Tongsamut vorasan
 

What's hot (20)

Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
อนุสรณ์ ประวัตินายเลิศ ยงยันต์
 
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 

ติวOne tsocial

  • 1. BOBBYtutor Social Note สังคมวิทยา ตองปรับตัวใหเขากับสิงแวดลอมตามธรรมชาติ ่ 1. มนุษย (สัตวสงคม) และสัตวโลก ั เพื่อความอยูรอดและดํารงรักษาเผาพันธุมิใหสูญไป เปนกระบวนการเลือกสรรของธรรมชาติ สัตวโลกที่ปรับตัวดี โครงสรางสังคม เทานั้น จึงจะอยูรอดและดํารงเผาพันธุตอไป 2. สรางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม 3. สรางวัฒนธรรม (มีเฉพาะสังคมมนุษย) มนุษย สังคม การเปลียนแปลง ่ - สัตวสังคม - อยูรวมกัน - หวังวาจะดีขึ้น - ตองการปจจัย 4 - พึงพาอาศัยกัน ่ - มีการพัฒนา - มีความแตกตางกัน - สรางกฎเกณฑ ระเบียบแบบแผน - มีวิวัฒนาการ (ปจเจกชน)  เพื่อสาธารณประโยชน - ปฏิรูป - มีความคิด วิจารณญาณ - สรางบรรทัดฐาน - ปฏิวัติ ทศนคติ เจตคติ ั - กําเนิดสถาบัน - การแลกเปลียน ่ - มีความเชื่อ - ขัดเกลาสมาชิก - แนวโนมหรือทิศทาง - มีคานิยม - การคาดการณ - มีวัฒนธรรม - สรางสัญลักษณ (ภาษา - อักษร) 2 สังคมศึกษา
  • 2. BOBBYtutor Social Note สิงทีทาใหความเปนมนุษยสมบูรณยงขึน คือ ่ ่ํ ่ิ ้ 1. การเรียนรู 2. มีการพัฒนา 3. มีคุณธรรม 4. มีสํานึก 5. รจกคณคา ู ั ุ  โครงสรางสังคม กลุมคน ลักษณะความสัมพันธ - กลุมสังคม  - ปฐมภูมิ - ฝูงชน - ทุตยภูมิ ิ การจัดระเบียบทางสังคม บรรทัดฐาน สถาบัน คานิยม ความเชื่อ การขัดเกลาและการ หรือปทัสถาน ควบคุมทางสังคม - วิถีชาวบาน - 7 สถาบัน - สวนตัว - ในหลกเหตผล ั ุ - ครอบครัว - จารีตหรือ - (การปกครองมี - ของสังคม - ในอานาจทมองไมเ หน ํ ่ี ็ - เพื่อนฝูง กฎศีลธรรม อานาจมากทสด) ํ ่ี ุ - ที่ดีควรปลูกฝง - ศาสนา - กฎหมาย - สถานภาพ - ทีตองแกไข - ครูอาจารย ่ * ติดตัวมา - สื่อมวลชน * สังคมกําหนด * จูงใจหรือใหรางวัล * บทบาทและ * ลงโทษ บทบาทขัดแยง ลวนเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม 3 สังคมศึกษา
  • 3. BOBBYtutor Social Note การจัดระเบียบทางสังคม การจดระเบยบทางสงคม คือ การทําใหคนมาอยูรวมกันในสังคมอยางมีระเบียบ โดยตองประพฤติปฏิบตภายใต ั ี ั  ัิ แบบแผน กฎเกณฑอนเดียวกัน ซงจะทําใหสงคมดํารงอยูไดยงยืนและเปนปกติสข ั ่ึ ั  ่ั ุ เครืองมือทีใชในการจัดระเบียบทางสังคม ไดแก ่ ่ 1. คานิยม (Value) คือ สิงซึงเปนทีปรารถนาหรือสิงทีสมาชิกของสังคมอยากจะได เพราะหวังในประโยชนทพง ่ ่ ่ ่ ่ ่ี ่ึ ไดรบเมอบคคลประสบกบการเลอกหรอเผชญกบเหตการณ และตองตัดสินใจอยางใดอยางหนึง เขาจะนําคานิยมมา  ั ่ื ุ ั ื ื ิ ั ุ ่ ประกอบกับการตัดสินใจ คานยมจงเปนเสมอนแนวทางแหงการประพฤตปฏบตของบคคลโดยทวไป  ิ ึ  ื  ิ ิัิ ุ ่ั คานิยม หมายถึง สิงทีคนในสังคมเห็นวาดี ถกตอง พงกระทา นากระทํา ่ ่ ู  ึ ํ  คานยมทมประโยชนตอการจดระเบยบของสงคม เชน  ิ ่ี ี  ั ี ั - การเคารพผูอาวุโส - ความเอื้อเฟอเผื่อแผ - ความเปนระเบยบวนย  ี ิั คานิยมทีเปนผลเสียตอการจัดระเบียบของสังคม เชน ่ - การไมมระเบียบวินย ี ั - การไมเ คารพเวลา - การยกยองคนมีฐานะทางเศรษฐกิจ ความสําคัญของคานิยม 1. เปนสิงกําหนดพฤตกรรมของคนในสงคม ่ ิ ั 2. เปนสิงทีทาใหสงคมสงบหรอวนวายได ่ ่ํ ั ื ุ 3. มผลกระทบตอความเจรญและความเสอมของรางกาย ี  ิ ่ื  คานยมของสงคมไทย  ิ ั 1. มีความรัก เคารพ เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย เพราะพระมหากษัตริยทรงเปนมิงขวัญและศูนยรวม  ่ จิตใจของคนทังชาติ ทรงหวงใยและชวยเหลือประชาชนอยางใกลชด ้ ิ 2. ยกยองอานาจ การมีอํานาจทําใหคนอนเกรงกลว และเคารพนับถือ นํามาซึงสิงปรารถนาไดโดยงาย  ํ  ่ื ั ่ ่ ฉะนันตําแหนงทีมอานาจจงมคนสวนใหญปรารถนา ้ ่ีํ ึ ี   3. ยกยองคนรํารวย เงินเปนปจจัยสําคญในการดํารงชีวต จึงเปนสิงทีทกคนปรารถนา คนรํ่ารวยจึงไดรบ ่ ั ิ ่ ุ่ ั การยกยองวา มีเกียรติ มีหนามีตา แมวาจะมีวธการในการไดเงินดวยวิธการทีไมเหมาะสม    ิี ี ่ 4. ยกยองความมีจตใจนักเลง หมายความถง มีจตใจกลาไดกลาเสีย เขมแข็ง เดดขาด รกพวกพอง รกลกนอง ิ ึ ิ ็ ั  ั ู คนทีมจตใจเชนนีจงมีคนเคารพนับถือกันมาก ่ีิ ้ึ 5. นยมการมยศฐาบรรดาศกด์ิ คือ การไดรบแตงตงใหดารงตาแหนงทีมเี กียรติ เปนเจาคนนายคน มีฐานะ ิ ี ั  ั  ้ั  ํ ํ ่ ทางสงคมสง ทํางานทีไมตองใชกําลัง ั ู ่  6. ยกยองผูมความกตัญูรคณ คือ การใหความเคารพนบถอตอผมพระคณทเ่ี คยชวยเหลอตนมา ไมเ นรคณ ี ู ุ  ั ื  ู ี ุ  ื ุ ตอทาน   7. ยกยองผูมความรู ใครมีการศึกษาสูง หรือไดรบการศึกษามาก กจะเปนทยอมรบนบถอของคนทวไป ี ั ็  ่ี ั ั ื ่ั 8. เชื่อถือในเรื่องโชคลาง ไมเชื่อตัวเอง 9. เคารพผูมีอายุมาก หรอประสบการณมาก ยอมไดรบเกียรติและการยกยองทางสังคม ื  ั 4 สังคมศึกษา
  • 4. BOBBYtutor Social Note 2. บรรทดฐานหรอปทสถาน (Norms) หมายถึง มาตรฐานทีคนสวนมากยึดถือเปนหลักปฏิบติ เปนแบบแผนท่ี ั ื ั ่ ั  ระบุวา ในสถานการณใดควรปฏบตอยางไร ไดแก ระเบียบ กฎเกณฑตางๆ หรอหมายถง เปนพฤติกรรมซึงสมาชิกของ   ิัิ   ื ึ ่ สงคมนนๆ สามารถคาดการณไดลวงหนาวาทุกคนจะตองปฏิบตตวอยางนันในรูปแบบเดียวกัน หากสมาชิกของสังคม ั ้ั  ัิั ้ ไมปฏิบตตามหรือฝาฝน ยอมมความผดถกลงโทษ ซึงมาตรการในการลงโทษอาจจะรุนแรงมากนอยตางกันตามประเภท ัิ  ี ิ ู ่ ของบรรทัดฐาน บรรทดฐานแยกออกไดเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ ั   1. วิถประชา (Folkways) หรือวิถชาวบาน ี ี 2. ศีลธรรมจรรยา หรือจารีตประเพณี (Mores) 3. กฎหมาย (Laws) วิถประชา ี กฎศลธรรม ี กฎหมาย - เปนมาตรฐานความประพฤติที่เกี่ยว- - เปนมาตรฐานความประพฤติ - เปนมาตรฐานความประพฤติที่รัฐ ของกับเรืองของความดี ความชั่วแต ่ ทเ่ี กยวของกบเรองของความดี ่ี  ั ่ื บัญญัติขึ้นเพื่อใชควบคุมความ เปนแนวทางที่สมาชิกของสังคมนยม ิ ความชั่ว ความมีคุณธรรมทาง ประพฤติของสมาชิกในสังคมไว ปฏบติ ไดแก มารยาทโดยทัวไปตาม ิั  ่ จตใจ เชน ความกตัญู ฯลฯ ิ เปนลายลักษณอกษร ั สมัยนิยม - สังคมไมเขมงวดหรือไมเครงครัดกับ - สงคมมกเขมงวดหรอเครงครด ั ั  ื  ั - บทบาทโทษจะรุนแรงมากหรือนอย ผูละเมิดหรือผูไมปฏิบตตามเทาใดนัก   ัิ กับผูละเมิดหรือผูไมปฏิบติ   ั ตลอดจนผูมหนาทีเ่ กียวของยอม ี ่ มาตรการในการลงโทษจงไมรนแรง ึ ุ มาตรการในการลงโทษจึง เปนไปตามกระบวนการยุตธรรมที่ ิ อาจเปนเพยงตาหนิ การถกจองมอง  ี ํ ู  รุนแรงกวาวิถประชาชน เชน ี กําหนดไวชดเจน ั ฯลฯ การไมคบหาสมาคมดวย - เปนการลงโทษทางกฎหมายหรือ การนินทา หรือการประจาน การลงโทษอยางเปนทางการ หรือการขับไลออกจากกลุม  ฯลฯ ทังวิถประชาและกฎศีลธรรมไมมบทลงโทษทีตราไวเปนลายลักษณอกษร เรียกไดวาเปนการลงโทษทางสังคม ้ ี ี ่ ั  หรอการลงโทษอยางไมเ ปนทางการกได ื   ็ ขอควรสงเกตเกยวกบบรรทดฐาน  ั ่ี ั ั 1. สังคมหนึงๆ ยอมมีบรรทัดฐานทีเ่ ปนลักษณะเฉพาะของสังคมของตน ดังนันแตละสังคมจึงมีลกษณะบรรทัดฐาน ่ ้ ั ทีแตกตางกันไปได ่ 2. แตละสังคมอาจมีการรับรูปแบบบรรทัดฐานของสังคมอืนมาเปนบรรทัดฐานของสังคมตนได ่ 3. บรรทัดฐานยอมมีการเปลียนแปลงไดเสมอ ่ 5 สังคมศึกษา
  • 5. BOBBYtutor Social Note 3. การขัดเกลาทางสังคม เปนกระบวนการทางสงคมกบจตวทยา ซึงผลทํ าใหบุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทาง ั ั ิ ิ ่ ท่ีสงคมตองการจะเรมตนตงแตบคคลเกดมาเปนกระบวนการทจะตองประสบตงแตเ กดจนตาย ทังโดยทางตรงและทางออม ั  ่ิ  ้ั  ุ ิ  ่ี  ้ั ิ ้ จะไดรบรบรรทดฐานและขนบธรรมเนยมประเพณทใชอยในสงคมพรอมทจะใชชวตในแนวทางทสงคมตองการ  ั ู ั ี ี ่ี  ู ั  ่ี  ี ิ ่ี ั  กระบวนการขัดเกลาทางสังคมจึงเปนสิงทีมนุษยจะตองประสบตลอดชีวต เพราะมนษยเ ปนสตวสงคมเพอความเปน ่ ่ ิ ุ  ั ั ่ื  มนษยอยางแทจรง ุ    ิ จุดมุงหมายของการขัดเกลาทางสังคม 1. เพือปลูกฝงระเบียบวินย ่ ั 2. เพอปลกฝงความมงหวง ่ื ู  ุ ั 3. สอนใหรจกบทบาทและทศนคตตางๆ  ู ั ั ิ 4. สอนใหรูจักเกิดความชํานาญหรือทักษะ คานยม  ิ 1. เปนสิงทีตวเรากําหนดเองดวยความพอใจ โดยการ ่ ่ั  - ใชความคิด พิจารณา ประเมินคา ตดสนใจ ดูวาถูกตองเหมาะสม ดีหรือไม ั ิ  - และเลอกในทสด ื ่ี ุ 2. เมอประสบภาวะทตองเลอก คนเราจะใชคานิยมเสมอ ่ื ่ี  ื 3. เปนรูปแบบของความคิด ทีใชในการประเมินคาสิงตางๆ ทงรปธรรม (ธรรมชาติ โบราณสถาน) และนามธรรม ่ ่ ั้ ู (ความซอสตย ตรงเวลา เคารพอาวุโส) และมีผลตอการแสดงออก หรอแสดงพฤตกรรมของบคคลตามความคดนน ่ื ั ื ิ ุ ิ ้ั 4. คานิยมจึงมีทงสิงทีดี และทควรแกไข (ไมดี) ้ั ่ ่ ่ี  5. เปนพืนฐานสําคัญทีกอใหเกิดบรรทัดฐาน เชน ความกตัญูรคณคน ้ ่ ู ุ 6. ในขณะทเ่ี ราตองยอมรบบรรทดฐานของสงคม แตขณะเดยวกนกตองสมพนธกบคนจานวนมากในสังคม  ั ั ั  ี ั ็ ั ั ั ํ จึงทําใหเกิดคานิยมตามมา 7. เรียงลําดบความสมพนธระหวาง ั ั ั   คานิยม (ของสังคม) ↑ สมัยนิยม ↑ รสนยม (สวนตว) ิ  ั 6 สังคมศึกษา
  • 6. BOBBYtutor Social Note บรรทัดฐาน 1. เปนสงทสงคมกําหนด สมาชกตองปฏบตตามโดยไมมสทธโตแยง  ่ิ ่ี ั ิ  ิัิ ีิ ิ   2. เปนสวนหนึงของวัฒนธรรม ่ 3. มีลกษณะเปนกฎเกณฑ เปนแบบแผน เปนมาตรฐานในการประพฤติปฏิบตของสมาชิกในทุกสถานการณ ั  ัิ เชน เปนลูกตองเลียงดูพอแม (วิถชาวบานและจารีต) ้  ี 4. เปนแบบอยางของการปฏิบตระหวางบุคคลตางๆ เชน พอแม-ลูก, นาย-บาว, หญง-ชาย, ครู-ศิษย พอ ัิ   ิ คา-ลกคา ู  5. - วถชาวบาน ไมมการลงโทษเปนลายลกษณ ิี  ี  ั - จารีต ไมมการลงโทษเปนลายลกษณ แตมการลงโทษทางสังคมทีชดเจน ไดแก การมอง ตําหนิ นินทาวาราย ี  ั ี ่ั ไมพอใจ และการขบไลออกจากสงคม ั  ั - กฎหมาย มีบทลงโทษเปนลายลักษณอกษร เปนบรรทัดฐานทีเ่ ปลียนแปลงงายทีสด ั ่ ุ่ สถาบัน 1. เปนแบบแผนพฤติกรรมทีปฏิบตสบตอกันมา และเปนทียอมรับในสังคม (เหมือนบรรทัดฐาน) ่ ัิื ่ 2. เปนสวนหนึงของวัฒนธรรม ่ 3. มีลกษณะเปนรูปแบบของความสัมพันธแบบเปนทางการ หรือเปนกิจกรรม องคกร เพือใหสมาชิกของสังคม ั  ่ ไดมอะไรทํารวมกันเพือชวยพัฒนาสังคมในหลายๆ ดาน ี ่ - เปนกระบวนการทีจดไวเปนหมวดหมูตามประเภทของความตองการ มีการจัดระเบียบอยางดี ่ั  - กําหนดสถานภาพ และบทบาทของผเู กยวของ่ี  - มีความชัดเจน เปนรูปธรรมแนนอน และเปลียนแปลงยาก ่ 4. เปนระบบของความสมพนธทางสงคม ซงประกอบดวย กระบวนการ วัตถุ อปกรณ บางอยางมีลกษณะเปน  ั ั  ั ่ึ  ุ ั นามธรรม 5. บคคลหนงคนอาจจะมหลายสถานภาพ และหลายบทบาทก็ได และเมือนําไปปฏบตบางครงกเ็ กดบทบาท ุ ่ึ ี ่ ิัิ ้ั ิ ขัดแยงได (สถานภาพขดแยงไมมี) ั   7 สังคมศึกษา
  • 7. BOBBYtutor Social Note สถาบันทางสังคม สถาบันสังคมเปนสงทสงคมกอตงใหมขนเพอการดารงอยของสงคมนน การทีสถาบันใดสถาบันหนึงจะดํารงอยได  ิ่ ี่ ั  ั้  ี ึ้ ื่ ํ  ู ั ้ั ่ ่ ู หรือสูญสินจึงขึนอยูกบการทีคนในสังคมเห็นวามีคณคามากนอยเพียงใด ้ ้ ั ่ ุ สถาบัน ตําแหนงทางสังคม หนาที่ แบบแผนการปฏิบติ ั ศาสนา - ศาสนา - สรางความศรทธาและความเชอทาง  ั ่ื - เสยสละ ี - ผูสบทอดศาสนา ื ศีลธรรมจรรยา - ซอสตยสจรต ่ื ั  ุ ิ - อบรมสงสอนและความประพฤตของ ่ั ิ - ปฏบตศาสนาไดอยาง ิัิ   บุคคล ถูกตอง การศกษา ึ - ครู อาจารย - ใหความรเู กยวกบกฎเกณฑทางสงคม  ่ี ั  ั - การถายทอดวิทยาการ - นักเรียน - รจกใชแหลงคนควา ู ั     - ฝกทักษะความชํานาญ - นกเรยนตองขยนใฝหา ั ี  ั  ความรูเพิ่มเติม เศรษฐกิจ - ผูผลิต - ผลตสนคาและใหบรการ ิ ิ   ิ - ชวยเหลือเกือกูลกันใน ้ - ผูบริโภค สังคมขนาดเล็ก สือสารมวลชน - เจาหนาทีฝายขาวสาร - แพรขาวสารความรู ่ ่  - เสนอขาวที่เปนจริง นนทนาการ - บุคคลทุกคนใน ั - สรางเสริมสุขภาพรางกายและจิตใจ - ใหรจกหลักเกณฑการ ู ั สงคม ั ของสมาชกในสงคม ิ ั เลนกฬา  ี - มีนํ้าใจเปนนกกฬา  ั ี ครอบครัว - พอ แม ลูก พี่ ปา - ใหกําเนิดสมาชิกใหม  - ความผูกพันลึกซึงทาง ้ นา อา - อบรมเลียงดู ้ การสมรสและสายโลหต ิ - สังสอนกฎเกณฑและคุณคาทางสังคม ่ การปกครอง - คณะรฐบาล ั - รักษาความสงบเรียบรอยในสังคม - ความรวมมือกันระหวาง - คณะกรรมการ - ออกกฎหมาย ประชาชนและเจาหนาทีรัฐ ่ ตลาการ ุ - ควบคุมใหมการปฏิบติ ี ั - ประชาชนตองเคารพ กฎหมาย - เจาหนาทีตองปฏิบตหนาที่ ่ ัิ ดวยความยตธรรม  ุิ 8 สังคมศึกษา
  • 8. BOBBYtutor Social Note วฒนธรรม ั ตลอดระยะทีผานมา ไมวาจะเปนชาวบาน, ขาราชการ, พอคานักธุรกิจหรือแมแตในหมูปญญาชนนักวิชาการ ่   ดวยกนเอง ตางมความเขาใจตอความหมายแหงคาวา "วฒนธรรม" กันอยางชนิดผลิแผกแตกตางกันออกไป แตกตางกัน  ั  ี    ํ ั จนแทบจะไมสามารถหลอมใหอยูบนพืนฐานแหงความเขาใจไปในแนวทางเดียวกันไดกมี  ้ ็ ซึงจุดนีถอวาไมเปนคุณตอ "การสานตอวัฒนธรรมไทย/ทามกลางกระแสโลกานุวตร" ในเวลานเ้ี ลย ฉะนนเพอเปน ่ ้ื ั ้ั ่ื  การหาบรรทัดฐานกลาง ในการทําความเขาใจ ความหมายแหง "วัฒนธรรม" รวมกัน จึงขอรวบรวมคํานิยามความหมาย  ทีนกคิด นักทฤษฎีดานสังคมวิทยาและมนุษยวิทยาไดใหคําจํากัดความไวอยางหลากหลายมาเปน "หลักคิด" ไวดงน้ี ่ั  ั คําวา "วัฒนธรรม" (Culture) เกิดจากการรวมคํา 2 คํา เขาดวยกันคือ "วัฒนะ" เปนภาษาบาลี หมายถึง ความเจริญความงอกงาม คําวา "ธรรม" เปนภาษาสันสกฤต หมายถึง คุณความด,ี ความจริง  ความหมายคําวา "วัฒนธรรม" เอ็ดเวิรด บี ทายเลอร นกมนษยวทยาทมชอเสยง ใหคาจํากดความไววา คือ ั ุ ิ ่ี ี ่ื ี ํ ั  สงรวมทงหมด ทีซบซอน ประกอบดวยความรู ความเชื่อ ศิลปะ กฎหมาย ศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ่ิ ้ั ่ั  ความสามารถอืนๆ และรวมถึงนิสยมนุษยในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึงของสังคม ศาสตราจารยเฮอรสโควิซส นักสังคมวิทยา ่ ั ่ ชอดงใหความหมายไววา คือ ทกสงทกอยางทมนษยสรางขน ซึงกินความหมายกวางขวางเกินจริยศาสตร, สนทรยศาสตร ื่ ั   ุ ่ิ ุ  ่ี ุ   ้ึ ่ ุ ี และขนบธรรมเนยมประเพณี ี นอกจากนนนกมนษยวทยาอกกลมหนงยงใหคําจํากัดความอันหลากหลายดังนี้ คือ ้ั ั ุ ิ ี ุ ่ึ ั  - เปนรปแบบของความประพฤตทงหมดทไดมา อันไดแก แนวความคด คานิยมหรือคุณธรรม และสิงทังหลาย  ู ิ ั้ ี่  ิ ่ ้ ซงเปนมรดกทางสงคมทบรรพบรษของเราไดสะสมไวและตกทอดมาถงคนรนตอมาได โดยการเรียนรูจากสัญลักษณนนๆ ึ่  ั ี่ ุุ   ึ ุ   ้ั - เปนทกสงทกอยางทเี่ ปนผลงานของกลมคน เชน ภาษา การทําเครองมออตสาหกรรม ศิลปะวิทยาศาสตร,  ุ ิ่ ุ   ุ ่ื ื ุ กฎหมาย, รฐบาล, ศีลธรรม และศาสนา เปนตน ั - เปนทุกสิงทุกอยางทีเ่ กิดจากการเรียนรูดวยการสือสารตอกัน ขนบธรรมเนียม จารีต และสถาบันตางๆ ่  ่ - เปนทีรวมของบรรทัดฐาน (Norms), คานิยม (Value), ความเชื่อ (Belief) ่ ความหมายจากนกวชาการไทย ั ิ - ศาสตราจารย ดร. สาโรช บัวศรี ใหความหมายไว คือ ความดี ความงาม และความจริงในชีวตมนุษย  ิ ซึงปรากฏในรูปแบบตางๆ และไดตกทอดมาถงเราในสมยปจจบน ่  ึ ั  ุั - พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตโต) ใหความหมายไว คือ เปนการสังสมประสบการณ ความรู ความสามารถ  ่ ภูมิธรรม ภูมปญญาทังหมดทีไดชวยมนุษยในสมัยนันๆ อยรอดและเจรญสบตอมาไดและเปนอยอยางทเ่ี ปนในบดน้ี ิ ้ ่  ้ ู ิ ื    ู   ั 9 สังคมศึกษา
  • 9. BOBBYtutor Social Note ประเภทของวัฒนธรรม อทธพลของวฒนธรรม ิ ิ ั 1. คติธรรม วัฒนธรรมเกียวกับคานิยมในการดําเนินชีวิต ่ 1. ไทยเปนวัฒนธรรมผสมผสาน เชน ความซอสตย การตรงตอเวลา ความขยันขันแข็ง ่ื ั 2. ความขัดแยงทางวัฒนธรรม 2. เนตธรรม วฒนธรรมเกยวกบกฎระเบยบปฏบตในทาง- ิ ั ่ี ั ี ิัิ 3. ความลาหลังหรือความลาชาทางวัฒนธรรม กฎหมาย ประเพณตางๆ เชน การบวช แตงงาน ี 4. วัฒนธรรมใหญ และวัฒนธรรมรองหรือวัฒน- 3. วตถธรรม วัฒนธรรมทีเ่ กียวกับวัตถุสงของเครืองใชหรือ ั ุ ่ ่ิ ่ ธรรมยอย ความสะดวกสบายตางๆ 4. สหธรรม วัฒนธรรมเกียวกับมารยาทของสังคม เชน ่ การเขาสังคม การรับประทานอาหาร การปรับตัวในสถาน- การณตางๆ  ความหมายของวัฒนธรรม ความสาคัญของวัฒนธรรม ํ 1. หมายถึง ทกสงทกอยางทมนษยสรางสรรคขนเพอใชใน ุ ่ิ ุ  ่ี ุ    ้ึ ่ื  1. เปนแบบแผนหรือเปนวิถทางในการดําเนินชีวิต ี การพัฒนาและแกปญหาของชีวต เพือตอบสนองความ  ิ ่ ของแตละสังคมทุกสังคมมนุษยจะลาหลังหรือ ตองการและจดเปนสงทสลบซบซอน ไมเ คยปรากฏวามี  ั  ่ิ ่ี ั ั   ทันสมัยลวนมีวฒนธรรม ั มนษยกลมไหนไรวฒนธรรม ุ  ุ ั 2. สามารถพฒนาและเปลยนแปลงได (ทงเพมเตม ั ่ี ้ั ่ิ ิ 2. หมายถึง ผลงานทีมนุษยไดสรางสรรคขนระหวางความรู ่ ้ึ และสูญสลาย) ความคิด ความเชื่อ ศิลปะ คุณธรรม กฎหมาย ขนบ- 3. เปนมรดกตกทอดและเปนเอกลักษณของแตละ ธรรมเนียม พฤตกรรม วาจาทาที และกิจกรรมทีมการ ิ ่ี สงคม ั สือสารระหวางวัฒนธรรม จงมลกษณะทเ่ี ดนชด และเปน ่ ึ ีั  ั 4. มิใชภาวะธรรมชาติ สากลสําหรับมนุษยทกสังคม ุ 5. นํามาเปรียบเทียบกันไมได (วาวัฒนธรรมใดดี กวากัน) 6. มใชสงทดงามเหมอนศลธรรมเสมอไป ิ  ่ิ ่ี ี ื ี 10 สังคมศึกษา
  • 10. BOBBYtutor Social Note สังคมไทย โครงสรางของสงคมไทย  ั 1. มีประชากรประมาณ 63 ลานคน (ธันวาคม 2544) มีจํานวนทีเ่ ปนเพศหญิงมากกวาเพศชายเล็กนอย 2. มีดนแดนทีอยูอาศัยบริเวณใจกลางของคาบสมุทรอินโดจีน ภูมภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีเนือทีประมาณ ิ ่  ิ ้ ่ 5 แสนตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 321 ลานไร 3. ประชากรสวนใหญ (ประมาณรอยละ 80) ประกอบอาชพอยตามชนบท  ี ู 4. ประชากรสวนใหญ (ประมาณรอยละ 70) ประกอบอาชีพทางการเกษตร ทเ่ี หลอนอกนนประกอบอาชพทาง  ื ้ั ี ดานธุรกิจการคา อุตสาหกรรมและบริการ ซึงสวนใหญของผูประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรเหลานีจะอาศัยอยูในตัวเมือง ่  ้  (รอยละ 20) โครงสรางของสงคมไทยจงประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สงคมชนบท และสงคมเมอง  ั ึ  ั ั ื 5. ประชาชนกวารอยละ 80 นับถือศาสนาพุทธ 6. มพระมหากษตรยเ ปนประมขของชาตสบตอกนมาหลายรอยป และในปจจบนสถาบนพระมหากษตรยเ ปน ี ั ิ  ุ ิื  ั   ุั ั ั ิ  ศูนยรวมจิตใจและพลังความสามัคคีของปวงชนชาวไทยทังชาติ ้ 7. เปนสังคมทีกําลังพัฒนาอยางรวดเร็วทังดานเศรษฐกิจ สงคม และการเมืองการปกครอง ่ ้ ั 8. คานิยมทีปรากฏใหพบเห็นโดยทัวไป คือ การเคารพผอาวโุ ส การเชือถือโชคลาง รกความเปนอสระ ใจบญสนทาน ่ ่ ู ่ ั  ิ ุ ุ และไมอาฆาตพยาบาทนาน  9. เอกลกษณและภาพพจนของสงคมไทย คือ ปรับตัวเกงมีน้าใจอธยาศยไมตรี รกครอบครว ั   ั ํ ั ั ั ั ลกษณะเดนของระบบสงคมไทย ั  ั ตามทศนะของ ดร. ไพบลย ชางเรียน สรุปลักษณะสังคมไทยทีสําคญเปนดงน้ี ั ู ่ ั  ั 1. เปนระบบชนชั้น ทังนีสบเนืองมาจากระบบศักดินาโดยถือเอาเกียรติ หรือฐานะทางสังคม หรือฐานะทางการ ้ ้ื ่ ศึกษาเปนเครืองวัด ่ 2. เปนสังคมชนบท กลาวคอ ครอบครัวมีขนาดใหญ ความสัมพันธระหวางครอบครัวเปนไปตามความรูสกหรือ  ื ึ ขนบธรรมเนียมประเพณี รักถินทีอยูไมชอบการโยกยาย อาศัยอยูตามชนบท มีการศึกษานอย สภาพชีวตความเปนอยูมี ่ ่   ิ  ลักษณะงาย 3. เปนสังคมทีสมาชิกโดยทัวไปมีจตใจโอบออมอารี เออเฟอเผอแผซงกนและกนเสมอ ่ ่ ิ ้ื  ่ื  ่ึ ั ั 4. เปนสงคมเกษตรกรรม ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทางการเกษตร  ั 5. คานิยม (Social value) ยังนิยมยกยองเงิน ยกยองอานาจ ยกยองความเปนผูอาวุโส และนิยมยกยอง  ํ  การเปนเจาคนนายคน 11 สังคมศึกษา
  • 11. BOBBYtutor Social Note โครงสรางเดนของสังคมไทย ประกอบดวย 2 สวนใหญๆ คือ สงคมชนบท และสงคมเมอง ั ั ื สังคมชนบท หมายถึง กลุมคนทีอาศัยอยูในเขตนอกตัวเมืองออกไป ตามสวน ไร นา และปาเขา  ่  สงคมเมอง หมายถึง กลุมคนทีอาศัยรวมกันอยูอยางหนาแนน มีความเจริญและศูนยกลางตางๆ ทีเ่ กียวกับเศรษฐกิจ ั ื  ่  ่ สงคมและการเมอง การปกครอง ั ื เกณฑตางๆ  สังคมชนบท สังคมเมือง 1. ลกษณะครอบครว ั ั - สวนใหญเปนครอบครัวขยาย - สวนใหญเปนครอบครัวเดียว่ 2. อาชีพ - กสิกรรมเปนอาชีพหลัก - หลายประเภท เชน อุตสาหกรรม การคา งานบริการ ราชการ พนักงาน ธุรกิจเอกชน 3. ระบบการติดตอสัมพันธ - เปนแบบอรปนย  ู ั - เปนแบบรูปนัย 4. ขนาดของชุมชน - มีขนาดเล็ก - มีขนาดใหญ 5. ความหนาแนนของประชากร - ความหนาแนนนอย พลเมือง - ความหนาแนนมาก พลเมองอยใกลชดกน  ื ู  ิ ั แยกกันอยูเ ปนกลุมเล็กๆ  เปนกลุมใหญ  6. ความแตกและความเหมือน - มี Homogeneity (ความเหมือน - Heterogeneity (ความแตกตางกน) ั ของประชากร กน) ทางดานเชือชาติ วฒนธรรม ั ้ ั ทางดานอาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจของ และลักษณะทางจิตวิทยาสังคม ชาติ ศาสนา แนวความคิดทางการเมือง 7. ความแตกตางของชันทาง ้ - มีนอยกวาเมือง - มีความแตกตางกันมา สังคมและเศรษฐกิจ 8. ชีวตความเปนอยู ิ - โดยทัวไปยึดมันในคานิยมและ ่ ่ - สวนใหญคลอยไปตามวฒนธรรมตะวนตก    ั ั วัฒนธรรมดั้งเดิมและดํารงชีวต ิ การดํารงชวตประจาวนคอนขางสบสน ีิ ํ ั   ั อยูอยางงายๆ  ซับซอน 9. การเคลือนยาย ่ - การเคลือนยายภายในมีนอย ่  - การเคลือนยายภายในมีมาก ่ 10. สงแวดลอม ่ิ  - มสงแวดลอมเปนธรรมชาตเิ ปน ี ่ิ    - มสงแวดลอมเปนอาคารบานเรอนทมอยู ี ่ิ    ื ่ี ี สวนใหญและมีอทธิพลตอชีวต ิ ิ อยางหนาแนนและเตมไปดวยสถานเรงรมย   ็  ิ ความเปนอยูมาก 12 สังคมศึกษา
  • 12. BOBBYtutor Social Note ลกษณะความแตกตาง ั  สังคมชนบท สังคมเมือง 1. ประชากรและครอบครว ั มประชากรจานวนมาก แตอยูกน ี ํ ั มีประชากรจํานวนมาก แตอยูกน ั อยางกระจดกระจายและเปน  ั  อยางหนาแนนจนกลายเปนชมชนแออด    ุ ั ครอบครวขนาดใหญ ั และเปนครอบครวเดยว  ั ่ี 2. การตังถินฐานของประชากร ้ ่ ตังบานเรือนตามริมถนน แมน้า ้ ํ มีการแบงเขตเมือง เชน เขตทีอยูอาศัย ่  หนองบงและทางรถไฟ ึ เขตธุรกิจ เขตอุตสาหกรรม ฯลฯ 3. การศกษา ึ มการศกษาคอนขางตาและขาดแคลน ี ึ   ่ํ เปนศนยกลางการศกษาทกระดบ  ู  ึ ุ ั ในเรองของสถาบนการศกษา รวมทัง ่ื ั ึ ้ มีคณภาพสูง อุปกรณการเรียน ุ อปกรณการเรยนการสอน ุ  ี การสอนสมบูรณ 4. เศรษฐกิจ เปนสังคมเกษตรกรรม และมี เปนศูนยรวมการคา พาณิชยกรรม ผลผลตทางการเกษตรต่า ิ ํ อุตสาหกรรม และบริการตางๆ 5. การเมืองการปกครอง แบงเปนองคการบริหารสวนจังหวัด เปนศูนยรวมของอํานาจการปกครอง เขตสุขาภิบาล และเทศบาล 6. ศาสนา, ขนบธรรมเนียมประเพณี มีความเครงครัด และเชือถือ ่ มีความเชื่อถือในศาสนา และเครงครัด ในระเบยบประเพณี และศาสนาสูง ี ในขนบธรรมเนียมดั้งเดิมไมมากนัก เพราะรับวัฒนธรรมตะวันตกไดรวดเร็ว 7. ความสัมพันธทางสังคม มความสมพนธแบบปฐมภมิ ี ั ั  ู มีความสัมพันธแบบทุตยภูมิ ิ มีความผูกพันกันแบบเครือญาติ ตดตอสมพนธกน ิ  ั ั ั ปญหาสังคมไทย ปญหาสงคมในชนบทและเมองมความแตกตางกน ดังนี้  ั ื ี  ั ตารางเปรียบเทียบปญหาในสังคมชนบทและสังคมเมือง ปญหาสังคมชนบท ปญหาสงคมเมอง  ั ื 1. ปญหาความยากจนและรายไดตา   ่ํ 1. ปญหาการจราจร 2. ปญหาสุขภาพอนามัยไมแข็งแรง ปญหาทุพโภชนาการ 2. ปญหาชุมชนแออัดอันนาไปสูปญหาดานอืนตามมา ํ  ่ 3. ปญหาการดอยการศึกษา 3. ปญหาสิงแวดลอมเปนพิษ ่ 4. ปญหาดานการคมนาคมขนสง 4. ปญหาสิงเสพติด ่ 5. ปญหาการเพิมจํานวนประชากรในอตราสง ฯลฯ ่ ั ู 5. ปญหาการวางงาน   6. ปญหาการฉอราษฎรบงหลวงในระบบราชการ ฯลฯ   ั 13 สังคมศึกษา
  • 13. BOBBYtutor Social Note ในปจจบนสงคมไทยมปญหาโดยทวไป ไดแก  ุั ั ี ่ั  - ปญหาประชากร - ปญหาสงแวดลอม  ่ิ  - ปญหาสิงเสพติด่ - ปญหาอาชญากรรม  - ปญหาความยากจน  - ปญหาโรคเอดส - ปญหาโสเภณี - ปญหาความมันคงของชาติ่ - ปญหาการฉอราษฎรบงหลวง ั - ปญหาการวางงาน   - ปญหาขาราชการและระบบการบริหารงาน ลกษณะเดนของสงคมไทย ั  ั ลักษณะครอบครัวไทย 1. เปนระบบชนชั้น ถือเกียรติ ฐานะทางสังคม และการศึกษา 1. สวนใหญเปนครอบครัวเดียว มีครอบครัวขยาย ่ เปนเครืองวัด ่ บางในสังคมชนบท 2. เปนสังคมชนบท ครอบครวขนาดใหญ รกทอยไมชอบ ั ั ่ี ู  2. มีความผูกพันทางสายเลือดคอนขางแนนแฟน โยกยายความเปนอยงายๆ   ู  3. ชายเปนใหญกวาหญิง 3. เปนสงคมเกษตรกรรมถง 70%  ั ึ 4. ชอบนับญาติ ทังทางสายบิดา-มารดา ้ 4. เปนสังคมเปด (ขอดี) และเปนสังคมหลวมหรือออน (ขอเสีย) 5. เคารพเชือฟงตามลําดับอาวุโส ่ 5. คานยมทวไป เคารพอาวโุ ส ยกยองเงิน อํานาจ ใจบญสนทาน  ิ ่ั ุ ุ (สวนใหญเปนอิทธิพลทีรบมาจากจีน) ่ั การเปรยบเทยบสงคมไทย - สังคมตะวันตก ี ี ั สังคมไทย สังคมตะวันตก - ความสมพนธแบบปฐมภมิ ั ั  ู - ความสัมพันธแบบทุตยภูมิ ิ - เนนคานิยมดูดี - เนนคานิยมอยูดี - ยึดตัวบุคคลมากกวา หลักการ (ความถูกใจ - ยดหลกการ, กฎหมายมากกวาตัวบุคคล (ความถูกตองมากกวา ึ ั มากกวาความถกตอง)  ู  ความถูกใจ) - สถาบันครอบครัวอบอุนใกลชิด  - สถาบนครอบครวโดดเดยวเงยบเหงา ั ั ่ี ี - อาศัยธรรมชาติมากกวา - อาศัยเทคโนโลยีมากกวา - ปญหาสงคม เครียด และรุนแรงนอยกวา  ั - ปญหาสงคม เครียด ซับซอน และรุนแรงมากกวา  ั 14 สังคมศึกษา
  • 14. BOBBYtutor Social Note คานิยมใหมๆ ของสังคมไทยทีไดจากทรรศนะของนักวิชาการไทยและชาวตางประเทศ คือ ่ - การนิยมบุคคลมากกวาหลักการ จงมกละเมดกฎเกณฑ ึ ั ิ - การเล็งผลเชิงปฏิบติ ไมยดมันในสิงทีไมเห็นผลหรือไมสอดคลองกับผลประโยชน ทําใหไมยดหลักการ ั ึ ่ ่ ่ ึ มกยดผลประโยชนตน และตัวบุคคลเปนสําคัญ รักพวกพองคํานึงถึงความสัมพันธกนเปนสวนตัว (ภาครุนสีสถาบัน) ั ึ  ั  ทําใหลดความสําคญของหลกการลง ั ั - มีความเปนปจเจกชนนิยมสูง แตรกอิสระ ไมชอบใครบังคับ ชอบความสะดวกสบาย และขาดระเบียบวินย ั ั ไมชอบระเบียบแบบแผน กฎเกณฑตางๆ  - นิยมคนใจบุญ ใจกวาง นิยมทําบญสรางกศล สังคมไทยไมพยาบาทนาน ทังใหอภัยงายและลืมงายไมวา ุ  ุ ้  ความดีหรือความเลว - นิยมแกปญหาเฉพาะหนา วางแผนระยะยาวไมเ ปน ขาดความคิดสรางสรรคแบบเปนระบบ และการเปนผนํา    ู - การไมชอบขัดใจผูอื่น เกรงใจคน ไมไดแยง ผลทาใหสงคมไทยไมชอบพูดจาความจริง ไมยอมรบความจรง ํ ั  ั ิ รบความจรงไมได ั ิ  - เชื่อถือในโชคลางเครื่องรางของขลัง และสงเหนอธรรมชาติ แมพระพุทธรูปก็ยดถือในดานขลังและศักดิสทธิ์ ่ิ ื ึ ์ิ มากกวาเนือหาสาระของคําสอน ้ สังคมไทยสมัยสุโขทัย - สังคมมีขนาดเล็ก แคบ การเคลอนไหวทางสงคมมนอย การพัฒนาทางสังคมชา สังคมอยูกบที่ ่ื ั ี ั - บานเมืองสงบ คนมีอิสระเสรี ไมมศกสงครามใหญ จึงไมจาเปนตองใชกําลังคน ีึ ํ - พึงกอสรางชาติรวมกัน ผูนําและสมาชิกในสังคมจึงมีความรูผกพันกันแนนแฟน ่  ู - สังคมพึงตนเองเปนสวนใหญ การตดตอสมพนธกบสงคมอนยงมนอย ่ ิ  ั ั  ั ั ่ื ั ี  สงคมไทยสมยอยธยา ั ั ุ - สงคมเรมขยายตวกวางขน ติดตอสัมพันธกบสังคมอืนมากขึน เชน ชาติตะวันตก โดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ ั ่ิ ั  ้ึ ั ่ ้ มากกวาทางการเมอง  ื - การคาขายเจริญรุงเรือง เพราะมีทตงทีเ่ หมาะสม  ่ี ้ั - ทําศึกสงครามมาก เทคโนโลยีมีนอยมาก กําลังคนจึงเปนเรืองสําคัญทีสดของสังคม การควบคุมกําลังคน ่ ุ่ จงเปนเรองใหญ ทังในการศึก และทางเศรษฐกิจเพือเปนแรงงานเกษตร ึ  ่ื ้ ่ - เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมเปนครังแรก ทําใหเกิดลัทธิเทวสิทธิ์ ระบบศักดินา ระบบจตุสดมภ ้ สงคมไทยสมยรตนโกสนทร ั ั ั ิ - การเคลือนไหวทางสังคมเกิดขึนอยางมากมาย เพราะอิทธิพลของการลาอาณานิคมของชาติตะวันตก ทําให ่ ้ ไทยเราตองปรบตวใหทนสมย ยดหยนรบสถานการณ เพือแลกเปลียนกับการรักษาเอกราช  ั ั  ั ั ื ุ ั ่ ่ - สังคมพัฒนาอยางรวดเร็วเพราะอิทธิพลการรับเทคโนโลยี และความเจริญจากตะวันตกในทุกดาน - ศึกสงครามนอยลง เปลียนเปนการเสียดินแดนและสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ่ 15 สังคมศึกษา