SlideShare a Scribd company logo
หน่ วยการเรียนรู้ ที 2
                                      เพศกับวัยรุ่น
  รายวิชา สุ ขศึกษา                              กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา
  ชันมัธยมศึกษาปี ที                                                      เวลาเรียน ชัวโมง


1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด
     พ .     ม. /    วิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ
             ม. /    วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
             ม. /    อธิ บายวิธีป้องกันตนเองและหลีกเลียงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์
                     และการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์

2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
      การศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ จะทําให้ทราบปั ญหาและผลกระทบทีเกิดจาก
การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน และทําให้สามารถป้ องกันตนเองเรื องเพศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

3.สาระการเรียนรู้
      . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
          ) ปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ
            - ครอบครัว                              - วัฒนธรรม
            - เพือน                                 - สื อ
          ) ปั ญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
          ) ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ
                       ิ
      . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
        -
4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      . ความสามารถในการสื อสาร
      . ความสามารถในการคิด
         ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
        2) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                              ิ


                                               30
4.3 ความสามารถในการแก้ ปัญหา
     . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                           ั      ิ
       1) กระบวนการทํางานกลุ่ม

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
     1. มีวนย
            ิ ั
     2. ใฝ่ เรี ยนรู ้
     3. มุ่งมันในการทํางาน

6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
     การจัดทําหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น

7.การวัดและการประเมินผล
      . การประเมินก่ อนเรียน
        - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
      . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
         ) ใบงานที . เรื อง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น
         ) ประเมินการนําเสนอผลงาน
         ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม
      . การประเมินหลังเรียน
        - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
      . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
        - ประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น

8.กิจกรรมการเรียนรู้
         นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 2

                                       กิจกรรมที วัยรุ่ นกับเจตคติทางเพศ

 วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์                          เวลา ชั วโมง



                                                      31
1. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การเปลียนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ น มีผลกระทบต่อ
                    ั
    อารมณ์หรื อสภาพจิตใจหรื อไม่
2. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า เมือเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นร่ างกายจะมีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ ว ซึ งส่ งผล
                      ั
    ต่อการเปลียนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ ดังนันนักเรี ยนจึงควรศึกษาความรู ้เกียวกับพัฒนาการ
    ของวัยรุ่ น เพือให้มีความรู ้ความเข้าใจ และสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
3. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง พัฒนาการและการปรับตัวทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อ
              ั
     หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วสรุ ปสาระสําคัญจดลงในสมุด
4. ครู นาภาพวัยรุ่ นหญิง และวัยรุ่ นชาย มาให้นกเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันอธิ บาย
          ํ                                         ั                            ั
    ลักษณะพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิงและวัยรุ่ นชาย แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้
    เรื อง พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิงและวัยรุ่ นชาย แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันบอกแนวทางในการ
                                                                        ั
    ปรับตัวทางเพศทีเหมาะสม โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึน
                                                                          ั
5. ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างวิธีการปฏิบติตนของวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
                ั                       ั
     แล้วครู ตรวจสอบความถูกต้องจากการยกตัวอย่างของนักเรี ยน และอธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจมากยิงขึน
                                                                                   ั
6. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง ปั จจัยทีมี
    อิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความ
    เหมาะสม แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ขอมูลทีศึกษา แล้วสรุ ปปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อ
                         ั                                      ้
    เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น พร้อมยกตัวอย่างประกอบในแต่ละปั จจัย
7. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น เมือทําเสร็ จครู และนักเรี ยนช่วยกันเฉลย
    คําตอบในใบงาน
8. ครู ถามนักเรี ยนว่า ในปั จจุบนการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์มกจะเกิดกับบุคคลในกลุ่มใดมากทีสุ ด
                                  ั                                   ั
    และนักเรี ยนคิดว่า มีวธีการป้ องกันหรื อแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างไร
                           ิ
9. ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ปั ญหาการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์นน สามารถป้ องกันได้
                             ั                                                       ั
    โดยเฉพาะการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ในวัยเรี ยน ซึ งเป็ นปั ญหาและผลกระทบจากการมี
    เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
10. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน จากหนังสื อเรี ยน
            ั
    หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิม) ร่ วมกันสรุ ป
                                                                  ั
                                ํ
    ประเด็นความรู ้ตามทีครู กาหนด
11. ให้นกเรี ยนนําผลการสรุ ปตามประเด็นความรู ้มาอภิปรายในกลุ่ม แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ
                  ั
    จากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนในด้านต่างๆ จากนันส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการอภิปราย
    ทีหน้าชันเรี ยน
12. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
                                               32
กิจกรรมที ทักษะชี วตในการปองกันตนเองเรืองเพศ
                                         ิ      ้

วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการกลุ่ม                   เวลา ชั วโมง

     1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ - คน (คละเพศ) ให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันสื บค้นความรู ้เรื อง ทักษะชีวต
                                                                                                    ิ
        ในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ โดยครู เสนอแนะแหล่งข้อมูลในการสื บค้น และแนะนําวิธีการ
        ทํางานร่ วมกัน เพือให้ภาระงานทีได้รับมอบหมายประสบความสําเร็ จ
     2. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวางแผนในการศึกษาสื บค้นข้อมูลจากแหล่งความรู ้ต่างๆ แล้ว
                       ั
             ํ
        ครู กาหนดระยะเวลาในการสื บค้น
     3. เมือได้ขอมูลทีต้องการแล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสรุ ป
                         ้                 ั
        ความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทน
                                  ิ                                       ั
        ออกมานําเสนอผลงานทีหน้าชันเรี ยน จากนันให้กลุ่มอืนได้นาเสนอเพิมเติมในส่ วนทีแตกต่าง
                                                                        ํ
     4. ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจเรื อง ทักษะในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ และยกตัวอย่าง
                                    ั
        ประกอบในประเด็น ดังนี
        1) การเลือกใช้ทกษะในการปฏิเสธทีเหมาะสม
                              ั
        2) การเลือกใช้ทกษะในการต่อรองเพือการประนีประนอม
                                ั
        3) การเลือกใช้ทกษะการตัดสิ นใจเพือหลีกเลียงการมีเพศสัมพันธ์
                            ั
     5. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายถึงวิธีป้องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์
                   ั
        ในวัยเรี ยน โดยครู คอยกระตุนให้นกเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น
                                      ้      ั
     6. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
                 ั
        จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยน
                                                                                               ั
        แต่ละกลุ่มร่ วมกันยกตัวอย่างการป้ องกันตนเองจากสถานการณ์เสี ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์
        ตามลําดับขันตอน
     7. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ และ
        การป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพือให้นกเรี ยนนําความรู ้ทีได้รับไปใช้
                                                                            ั
        ในการป้ องกันตนเอง
     8. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันทําหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น โดยให้ครอบคลุมตามประเด็นทีกําหนด
                     ั
        เมือทําเสร็ จนําผลงานมาส่ งครู เพือประเมินผล

         นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 2

                                               33
9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     9.1 สื อการเรี ยนรู้
         1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
          ) ใบงานที . เรื อง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น
       . แหล่ งการเรียนรู้
          ) ห้องสมุด
         2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
              www.teenpath.net
              www.thaihealth.or.th/node/5752
              www.dmh.go.th/sty_libnews/news/view.asp?id=1176
              www.trueplookpanya.com/.../knowledge_summary.php?...
              www.thaigoodview.com/library/.../health03/.../grows03.html




                                                34
การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
                                      แบบประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่น
                                                  คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
     รายการประเมิน
                              ดีมาก (4)               ดี (3)                 พอใช้ (2)                ปรับปรุง ( )
 .   การวิเคราะห์     วิเคราะห์ปัจจัยทีมี   วิเคราะห์ปัจจัยทีมี      วิเคราะห์ปัจจัยทีมี        วิเคราะห์ปัจจัยทีมี
     ปัจจัยทีมีอทธิพล อิทธิพลต่อเจตคติ
                 ิ                          อิทธิพลต่อเจตคติ         อิทธิพลต่อเจตคติ           อิทธิพลต่อเจตคติ
     ต่ อเจตคติ       ในเรื องเพศได้        ในเรื องเพศได้           ในเรื องเพศได้             ในเรื องเพศได้
      ในเรืองเพศ      ครอบคลุมครบทัง        ครอบคลุม ประเด็น ครอบคลุม ประเด็น                   ครอบคลุม ประเด็น
                         ประเด็น พร้อม      พร้อมยกตัวอย่าง          พร้อมยกตัวอย่าง            พร้อมยกตัวอย่าง
                      ยกตัวอย่างประกอบ ประกอบได้อย่างมี              ประกอบได้อย่างมี           ประกอบได้อย่างมี
                      ได้อย่างมีเหตุผล      เหตุผล                   เหตุผล                     เหตุผล
 .   การวิเคราะห์     วิเคราะห์ปัญหาและ     วิเคราะห์ปัญหาและ        วิเคราะห์ปัญหาและ          วิเคราะห์ปัญหาและ
     ปัญหาและ         ผลกระทบทีเกิดจากการ ผลกระทบทีเกิดจากการ ผลกระทบทีเกิดจากการ               ผลกระทบทีเกิดจากการ
     ผลกระทบทีเกิด มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน   มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
     จากการมี         ได้ถูกต้องละเอียด     ได้ถูกต้องเป็ นส่วนใหญ่ ได้ถูกต้องเป็ นบางส่ วน     ได้ถูกต้องเพียงส่วนน้อย
     เพศสัมพันธ์      ชัดเจน
     ในวัยเรียน
3.   การเสนอแนวทาง เสนอแนวทางการ            เสนอแนวทางการ            เสนอแนวทางการ               เสนอแนวทางการ
     การป้ องกันตนเอง ป้ องกันตนเองจากการมี ป้ องกันตนเองจากการมี ป้ องกันตนเองจากการมี         ป้ องกันตนเองจากการมี
     จากการมีเพศสัม- เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน       เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
     พันธ์ ในวัยเรียน ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม                  ได้ถูกต้อง แต่ไม่
                      และสามารถนําไป        และสามารถนําไป           และสามารถนําไป             เหมาะสมและนําไป
                      ปฏิบติได้ง่าย
                            ั               ปฏิบติได้ง่าย
                                                  ั                  ปฏิบติได้ง่าย
                                                                           ั                    ปฏิบติได้ยาก
                                                                                                      ั
                                            เป็ นส่วนใหญ่            เป็ นบางส่วน
 .   ความคิด          ออกแบบและตกแต่ง ออกแบบและตกแต่ง ออกแบบและตกแต่ง                           ออกแบบและตกแต่ง
     สร้ างสรรค์      ผลงานได้สวยงาม        ผลงานได้สวยงาม           ผลงานได้สวยงาม             ผลงานได้สวยงาม
                      แสดงออกถึงความคิด แสดงออกถึงความคิด แสดงออกถึงความคิด                     แสดงออกถึงความคิด
                      สร้างสรรค์ และดึงดูด สร้างสรรค์ และดึงดูด สร้างสรรค์ และดึงดูด            สร้างสรรค์ และดึงดูด
                      ความสนใจได้           ความสนใจได้              ความสนใจได้                ความสนใจได้
                      เป็ นอย่างดี          เป็ นส่วนใหญ่            เป็ นบางส่วน               เพียงส่วนน้อย




                                                         35
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
       -                 ดีมาก
       -                   ดี
      -                  พอใช้
   ตํากว่า              ปรับปรุ ง




                36
แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

คําชี แจง     ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว
                  ั

 .      การกระทําของใคร แสดงให้เห็นถึงการปรับตัวทางเพศอย่างเหมาะสม เมือก้าวเข้าสู่ วยรุ่ น
                                                                                    ั
        ก. ชะอมไม่สนใจต่อการเปลียนแปลงทังทางร่ างกายและทางเพศของตนเอง
        ข. ชะโอดรู ้จกระมัดระวังในเรื องการแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ
                     ั
        ค. ชะเอมอาบนําเป็ นประจําทุกวัน แต่ไม่แปรงฟัน
        ง. ชะอิงกินขนมหวาน และดืมนําอัดลมอยูบ่อยๆ
                                                ่

 .      ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคําว่า “เจตคติ” ไม่ ถูกต้อง
        ก. ความพร้อมทีจะปฏิบติ
                             ั              ข. สภาวะทางจิตใจ
        ค. ความรู ้สึก                      ง. ความกล้า

 .      ข้อใด ไม่ ใช่ เจตคติทางเพศของสังคมไทย
        ก. ชายหญิงไม่ควรถูกเนือต้องตัวกัน
        ข. สุ ภาพบุรุษต้องให้เกียรติสุภาพสตรี
        ค. หญิงไทยต้องไม่แสดงออกเรื องเพศอย่างเปิ ดเผย
        ง. ชายหญิงหากตัดสิ นใจใช้ชีวิตอยูร่วมกัน ไม่จาเป็ นต้องขออนุญาตพ่อแม่
                                          ่          ํ

 .      ปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ นมากทีสุ ด คือข้อใด
        ก. วัฒนธรรม                            ข. ครอบครัว
        ค. เพือน                               ง. สื อ

อ่ านกรณีศึกษาทีกําหนด แล้ วตอบคําถามข้ อ -

                                                                 ั
           โอกับดาวเป็ นเพือนสนิทกัน วันหนึงโอต้องซ้อมดนตรี กบเพือนๆ เพือแสดงในงานวันขึนปี ใหม่
     จึงชวนให้ดาวอยูเ่ ป็ นเพือน ดาวเห็นว่า มีเพือนอยูกนหลายคนจึงตัดสิ นใจอยูเ่ ป็ นเพือนโอ
                                                      ่ ั
                                                          ่
           เมือไปถึงห้องซ้อมดนตรี ปรากฏว่า ไม่มีใครอยูในห้องเลย โอล็อกประตูและพยายามข่มขืนดาว
     ดาวพยายามขัดขืน และกัดแขนโอจนเลือดออก และร้องไห้วงหนี ออกมาจากห้องซ้อมดนตรี
                                                              ิ


                                                      37
.   เพราะเหตุใด ดาวจึงเกือบโดนข่มขืน
    ก. เพราะดาวเป็ นคนเห็นอกเห็นใจเพือน จึงไปอยูเ่ ป็ นเพือนโอ
                            ่
    ข. เพราะดาวยินยอมไปอยูในทีลับตาคนกับโอสองต่อสอง
    ค. เพราะดาวได้รับสิ งกระตุนทางเพศ
                              ้
    ง. เพราะดาวถูกโอล่อลวง

.   หากนักเรี ยนเป็ นดาว นักเรี ยนจะทําอย่างไร
    ก. แจ้งให้ครู หรื อผูปกครองทราบทันที
                         ้
    ข. บอกให้เพือนๆ มารุ มทําร้ายโอ
    ค. ยินยอมมีเพศสัมพันธ์กบโอั
    ง. ขอร้องโอให้ยติการกระทํา
                      ุ

.   การกระทําของวัยรุ่ นในเรื องเพศ ข้อใดถือว่าเป็ นการกระทําทีขาดความยังคิดมากทีสุ ด
    ก. พูดคุยโทรศัพท์เป็ นเวลานาน                                           ั
                                                        ข. การมีเพศสัมพันธ์กน
    ค. การโต้เถียงผูใหญ่
                    ้                                   ง. การหนีเรี ยน

.   ความต้องการทางเพศในวัยรุ่ น ถือเป็ นเรื องผิดปกติหรื อไม่
                          ่
    ก. ผิดปกติ เพราะยังอยูในวัยเรี ยน
    ข. ผิดปกติ เพราะเกิดจากสิ งเร้าต่างๆ
    ค. ไม่ผดปกติ เพราะเป็ นเรื องทีเกิดขึนตามธรรมชาติของมนุ ษย์
             ิ
    ง. ไม่ผดปกติ เพราะในปั จจุบนมีสือยัวยุทางอารมณ์ออกมาเป็ นจํานวนมาก
           ิ                     ั

.   ข้อใดไม่ ใช่ ผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
    ก. การได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพือน
    ข. การติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    ค. การตังครรภ์อนไม่พึงประสงค์
                     ั
    ง. การทําแท้ง




                                                 38
. การกระทําของใคร แสดงให้เห็นถึงการป้ องกันตนเองจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนอย่างเหมาะสม
  ก. โอ๋ ชอบแต่งตัวโป๊ เปิ ดเผยสัดส่ วน
  ข. เอ๋ นิยมไปเทียวสถานเริ งรมย์ต่างๆ
                                        ่ ั
  ค. เอเปิ ดโอกาสให้คนรักกอดจูบเมือยูกนตามลําพัง
  ง. ออยไม่ไปเทียวกับเพือนต่างเพศสองต่อสอง หรื อไปในทีลับตาคน




       เฉลย        แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 2

                1. ข         .ง         .ง          .ข         .ง
                 .ก          .ข         .ค          .ก          .ง




                                           39
แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1

  เรือง วัยรุ่ นกับเจตคติทางเพศ                                               เวลา ชัวโมง
  หน่ วยการเรียนรู้ ที เพศกับวัยรุ่น                                      ชันมัธยมศึกษาปี ที

1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
     การมีเจตคติต่อเรื องเพศในลักษณะทีไม่ก่อให้เกิดพฤติกรรมทางเพศทีไม่พึงประสงค์ จะช่วยทําให้เกิด
ความปลอดภัยและหลีกเลียงปั ญหาจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนได้

2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
     2.1    ตัวชี วัด
            พ . ม. / วิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ
                      ม. / วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
     2.2    จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
             ) อธิ บายพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นได้
            2) วิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศของวัยรุ่ นได้
             ) วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนได้

3.สาระการเรียนรู้
      .     สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
              ) ปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ
                - ครอบครัว                            - วัฒนธรรม
                - เพือน                               - สื อ
              ) ปั ญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
      .     สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
            -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      .     ความสามารถในการสื อสาร
      .     ความสามารถในการคิด
             ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
             ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                  ิ

                                               40
4.3      ความสามารถในการแก้ ปัญหา
     .       ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                                  ั     ิ
              ) กระบวนการทํางานกลุ่ม

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1. มีวนย
           ิ ั
     . ใฝ่ เรี ยนรู ้
     . มุ่งมันในการทํางาน

6.กิจกรรมการเรียนรู้
          นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

                                                 ชั วโมงที

    1. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การเปลียนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ น มีผลกระทบต่อ
                  ั
       อารมณ์หรื อสภาพจิตใจหรื อไม่ โดยให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
                                                    ั
    2. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า เมือเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นร่ างกายจะมีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ ว ซึ งส่ งผล
                       ั
       ต่อการเปลียนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ ดังนันนักเรี ยนจึงควรศึกษาความรู ้เกียวกับพัฒนาการ
       ของวัยรุ่ น เพือให้มีความรู ้ความเข้าใจ และสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
    3. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง พัฒนาการและการปรับตัวทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อ
              ั
       หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วสรุ ปสาระสําคัญจดลงในสมุด
    4. ครู นาภาพวัยรุ่ นหญิง และวัยรุ่ นชาย มาให้นกเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันอธิ บาย
            ํ                                         ั                               ั
       ลักษณะพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิง และวัยรุ่ นชาย โดยครู กระตุนให้นกเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วม
                                                                               ้    ั
       ในการตอบคําถาม
    5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิงและวัยรุ่ นชาย แล้วให้
       นักเรี ยนช่วยกันบอกแนวทางในการปรับตัวทางเพศทีเหมาะสม โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้
       นักเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึน
    6. ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างวิธีการปฏิบติตนของวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
                ั                          ั
       เช่น การรักนวลสงวนตัว การแต่งกายอย่างมิดชิ ด การให้เกียรติสุภาพสตรี เป็ นต้น แล้วครู ตรวจสอบ
       ความถูกต้องจากการยกตัวอย่างของนักเรี ยน และอธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า จากตัวอย่างทีนักเรี ยน
                                                                         ั
       ยกมาในข้างต้น จัดเป็ นเจตคติทีดีทางเพศทีสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมไทย
                                                   41
7. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง ปั จจัยทีมี
        อิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
     8. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ขอมูลทีศึกษา แล้วสรุ ปปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของ
                                             ้
        วัยรุ่ น พร้อมยกตัวอย่างประกอบในแต่ละปั จจัย
     9. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น เมือทําเสร็ จครู และนักเรี ยนช่วยกันเฉลย
        คําตอบในใบงาน
                                               ชั วโมงที

     1. ครู ถามนักเรี ยนว่า ในปั จจุบนการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์มกจะเกิดกับบุคคลในกลุ่มใดมากทีสุ ด
                                      ั                                ั
        และนักเรี ยนคิดว่า มีวธีการป้ องกันหรื อแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างไร โดยนักเรี ยนสามารถตอบคําถาม
                               ิ
        ได้อย่างหลากหลาย
     2. ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ปั ญหาการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์นน สามารถป้ องกันได้
                                 ั                                                   ั
        โดยเฉพาะการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ในวัยเรี ยน ซึ งเป็ นปั ญหาและผลกระทบจากการมี
        เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
     3. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน จากหนังสื อเรี ยน
             ั
        หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
     4. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิม) ร่ วมกันสรุ ปประเด็นความรู ้ตามทีครู กาหนด ดังนี
                 ั                                                              ํ
        1) สถานการณ์เสี ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์
        2) ปั ญหาและผลกระทบ
     5. ให้นกเรี ยนนําผลการสรุ ปตามประเด็นความรู ้มาอภิปรายในกลุ่ม แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ
               ั
        จากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนในด้านต่างๆ จากนันส่ งตัวแทนกลุ่มออกมานําเสนอผลการอภิปราย
        ทีหน้าชันเรี ยน
     6. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน

7.การวัดและประเมินผล
              วิธีการ                            เครืองมือ                     เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน               แบบทดสอบก่อนเรี ยน              ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที .                        ใบงานที .                       ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม         แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์


                                                 42
8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     8.1   สื อการเรี ยนรู้
            ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
            ) ใบงานที . เรื อง เจคติทางเพศของวัยรุ่ น
     8.2   แหล่ งการเรียนรู้
           1) ห้องสมุด
           2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
               www.teenpath.net
               www.thaihealth.or.th/node/5752
               www.dmh.go.th/sty_libnews/news/view.asp?id=1176




                                             43
ใบงานที 1.1 เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น

คําชี แจง ให้นกเรี ยนอ่านสถานการณ์ทีกําหนด แล้วตอบคําถาม
              ั



                  โอ๋    : เมือวานเราไปเทียวกับทอม ลูกชายของลุงทีมาจากอเมริ กา
                           ทอมถามเราว่า วัยรุ่ นไทยมีเจตคติทางเพศอย่างไร
                  เอิร์น : แล้วโอ๋ ตอบทอมไปอย่างไรล่ะ
                  โอ๋ : เราก็ไม่ได้ตอบทอมเลย เพราะเราไม่แน่ใจว่า เราจะตอบถูก
                           หรื อเปล่า เราก็เลยมาถามเอิร์นนีแหละ
                  เอิร์น : จ้ะ ถามมาเลย เดียวเราช่วยตอบ


        1. เจตคติทางเพศของสังคมไทยมีลกษณะอย่างไร
                                     ั




         . ปั จจัยทีมีอิทธิ พลสําคัญต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น ได้แก่อะไรบ้าง




                                                  44
ใบงานที 1.1 เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น

คําชี แจง ให้นกเรี ยนอ่านสถานการณ์ทีกําหนด แล้วตอบคําถาม
              ั



                  โอ๋    : เมือวานเราไปเทียวกับทอม ลูกชายของลุงทีมาจากอเมริ กา
                           ทอมถามเราว่า วัยรุ่ นไทยมีเจตคติทางเพศอย่างไร
                  เอิร์น : แล้วโอ๋ ตอบทอมไปอย่างไรล่ะ
                  โอ๋ : เราก็ไม่ได้ตอบทอมเลย เพราะเราไม่แน่ใจว่า เราจะตอบถูก
                           หรื อเปล่า เราก็เลยมาถามเอิร์นนีแหละ
                  เอิร์น : จ้ะ ถามมาเลย เดียวเราช่วยตอบ


         1. เจตคติทางเพศของสังคมไทยมีลกษณะอย่างไร
                                           ั
               เจตคติทางเพศของผู้หญิงในสั งคมไทย คื อ
               - รั กนวลสงวนตัว                - รู้ จักทํางานบ้ านงานเรื อน
               - แต่ งตัวมิดชิ ด               - ไม่ แสดงออกทางเพศอย่ างเปิ ดเผย
               - ชายหญิงไม่ ควรถูกเนื อต้ องตัวกัน หรื ออยู่ด้วยกันเพียงลําพังในที ลับตาคน
               เจตคติทางเพศของผู้ชายในสั งคมไทย คื อ
               - ควรบวชเรี ยนก่ อนแต่ งงาน - ให้ เกียรติผ้ ูหญิงหรื อผู้ทีอ่ อนแอกว่ า
               - ชายหญิงไม่ ควรถูกเนื อต้ องตัวกัน หรื ออยู่ด้วยกันเพียงลําพังในที ลับตาคน



         . ปั จจัยทีมีอิทธิ พลสําคัญต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น ได้แก่อะไรบ้าง
               ปั จจัยที มีอิทธิ พลต่ อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น ได้ แก่
               - ครอบครั ว
               - เพือน
               - วัฒนธรรม
               - สื อต่ างๆ

           (หมายเหตุ พิ จารณาตามคําตอบของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน)
                                                                                   ู
                                                  45
แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม

                             การแบ่ ง ความร่ วมมือ
          ชือ – สกุล                                       การแสดง          การรับฟัง          ความมีนําใจ           รวม
ลําดับ                     หน้ าทีกัน    กันทํา
         ของผู้รับการ                                     ความคิดเห็น      ความคิดเห็น         ช่ วยเหลือกัน
   ที                   อย่ างเหมาะสม กิจกรรม
          ประเมิน                                                                                                  คะแนน




                                                              ลงชือ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                         ้
                                                                      ............../.................../................

         เกณฑ์ การให้ คะแนน                                     เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
         ดีมาก             =                                      ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
         ดี                =                                            -           ดีมาก
         พอใช้             =                                            -             ดี
         ปรับปรุ ง         =       1                                    -           พอใช้
                                                                   ตํากว่า         ปรับปรุ ง




                                                     46
แผนการจัดการเรียนรู้ ที

  เรือง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ
                ิ                                                             เวลา ชัวโมง
  หน่ วยการเรียนรู้ ที 2 เพศกับวัยรุ่น                                    ชันมัธยมศึกษาปี ที

1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
       การมีทกษะและความชํานาญในการจัดการกับชีวตของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จะสามารถ
             ั                                      ิ
ป้ องกันและหลีกเลียงปั จจัยเสี ยงต่อสุ ขภาพของตนเองได้

2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
     2.1    ตัวชี วัด
            พ . ม. /        อธิ บายวิธีป้องกันตนเองและหลีกเลียงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์
                            และการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์
     2.2    จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
             ) บอกทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศได้
                              ิ
            2) เลือกใช้ทกษะในการป้ องกันตนเองเรื องเพศได้อย่างเหมาะสม
                        ั

3.สาระการเรียนรู้
      .     สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
               ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองในเรื องเพศ
                        ิ
      .     สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
            -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      .     ความสามารถในการสื อสาร
      .     ความสามารถในการคิด
             ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
             ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                    ิ
      .     ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                                  ั    ิ
            ) กระบวนการทํางานกลุ่ม

                                               47
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1. มีวนย
           ิ ั
     . ใฝ่ เรี ยนรู ้
     . มุ่งมันในการทํางาน

6.กิจกรรมการเรียนรู้    (วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการกลุ่ม)

                                              ชั วโมงที

      1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ - คน (คละเพศ) ให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันสื บค้นความรู ้เรื อง ทักษะชีวต
                                                                                                     ิ
         ในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ โดยครู เสนอแนะแหล่งข้อมูลในการสื บค้น และแนะนําวิธีการ
         ทํางานร่ วมกัน เพือให้ภาระงานทีได้รับมอบหมายประสบความสําเร็ จ
      2. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวางแผนในการศึกษาสื บค้นข้อมูลจากแหล่งความรู ้ต่างๆ แล้ว
                  ั
              ํ
         ครู กาหนดระยะเวลาในการสื บค้น
      3. เมือได้ขอมูลทีต้องการแล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสรุ ป
                    ้                     ั
         ความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ จากนันเตรี ยมตัวออกมานําเสนอผลงาน
                                ิ
         ในชัวโมงเรี ยนต่อไป

                                            ชั วโมงที

        . ครู สอบถามถึงความพร้อมในการนําเสนอผลการสื บค้นข้อมูลของนักเรี ยนแต่ละกลุ่ม แล้วให้
          นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลงานทีหน้าชันเรี ยน จากนันให้กลุ่มอืนได้
          นําเสนอเพิมเติมในส่ วนทีแตกต่างกันออกไป
        . ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจเรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ และยกตัวอย่าง
                                   ั                         ิ
          ประกอบในประเด็น ดังนี
           ) การเลือกใช้ทกษะการปฏิเสธ
                               ั
           ) การเลือกใช้ทกษะการต่อรองเพือการประนีประนอม
                                 ั
           ) การเลือกใช้ทกษะการตัดสิ นใจเพือหลีกเลียงการมีเพศสัมพันธ์
                             ั
        . ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายถึงวิธีป้องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์
                   ั
          ในวัยเรี ยน โดยครู คอยกระตุนให้นกเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น
                                        ้     ั

                                                48
. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
                        ั
             จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยนั
             แต่ละกลุ่มร่ วมกันยกตัวอย่างการป้ องกันตนเองจากสถานการณ์เสี ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์
             ตามลําดับขันตอน
           . ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ
                                                                                ิ
             และการป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพือให้นกเรี ยนนําความรู ้ทีได้รับ
                                                                                       ั
             ไปปรับใช้ในชีวตประจําวัน
                               ิ
           . ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันจัดทําหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามทีกําหนด
                      ั
             ดังนี
              ) การวิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ
              ) การวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
              ) การเสนอแนวทางการป้ องกันตนเองจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน
             นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

7.การวัดและประเมินผล

                วิธีการ                            เครืองมือ                             เกณฑ์
ประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น          แบบประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น        ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนําเสนอผลงาน                 แบบประเมินการนําเสนอผลงาน               ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม           แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม         ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน                 แบบทดสอบหลังเรี ยน                      ร้อยละ ผ่านเกณฑ์


8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     8.1     สื อการเรี ยนรู้
             - หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
     8.2     แหล่ งการเรียนรู้
             1) ห้องสมุด
              ) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
                 www.trueplookpanya.com/.../knowledge_summary.php?...
                 www.thaigoodview.com/library/.../health03/.../grows03.html

                                                    49
แบบประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น

กลุ่มที
สมาชิกของกลุ่ม       .                                     .
                     .                                     .
                     .                                     .

 ลําดับ                                                                                                                คุณภาพผลงาน
                                      รายการประเมิน
   ที
          การวิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ
          การวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์
          ในวัยเรี ยน
          การเสนอแนวทางการป้ องกันตนเองจากการมีเพศสัมพันธ์
          ในวัยเรี ยน
          ความคิดสร้างสรรค์
                                                                        รวม

                                                               ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                                    ้
                                                                                                /                           /
                                                                          ....................... ........................... ........................



เกณฑ์ การให้ คะแนน                                                เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
   ดีมาก                 =       4                                      ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
   ดี                    =                                                      -        ดีมาก
   พอใช้                 =                                                      -          ดี
   ปรับปรุ ง             =       1                                             -         พอใช้
                                                                            ตํากว่า     ปรับปรุ ง




                                                   50
แบบประเมินการนําเสนอผลงาน


 ลําดับ                                                                                   คุณภาพการปฏิบัติ
                            รายการประเมิน
    ที                                                                       4                   3                    2                   1
   1      นําเสนอเนื อหาในผลงานได้ถูกต้อง
   2      การลําดับขันตอนของเนื อเรื อง
   3      การนําเสนอมีความน่าสนใจ
   4      การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม
   5      การตรงต่อเวลา
                                                    รวม

                                                          ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                               ้
                                                               ......................./.........................../........................



เกณฑ์ การให้ คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน
                                 ั                        ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมค่อนข้างสมบูรณ์                   ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องเป็ นบางส่ วน
                           ้                              ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องมาก
                             ้                            ให้           คะแนน

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
           ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
               18-20                ดีมาก
               14-17                  ดี
               10-13                พอใช้
            ตํากว่า                ปรับปรุ ง


                                               51
แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม

                             การแบ่ ง ความร่ วมมือ
          ชือ – สกุล                                       การแสดง          การรับฟัง          ความมีนําใจ           รวม
ลําดับ                     หน้ าทีกัน    กันทํา
         ของผู้รับการ                                     ความคิดเห็น      ความคิดเห็น         ช่ วยเหลือกัน
   ที                   อย่ างเหมาะสม กิจกรรม
          ประเมิน                                                                                                  คะแนน




                                                              ลงชือ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                         ้
                                                                      ............../.................../................

         เกณฑ์ การให้ คะแนน                                     เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
         ดีมาก             =                                      ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
         ดี                =                                            -           ดีมาก
         พอใช้             =                                            -             ดี
         ปรับปรุ ง         =       1                                    -           พอใช้
                                                                   ตํากว่า         ปรับปรุ ง




                                                     52
บันทึกหลังหน่ วยการเรี ยนรู้ อิงมาตรฐาน
    ตอนที      นักเรี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชีวัดของหน่วยการเรี ยนรู ้
               ต่อไปนี พ . (ม. / , ม. / , ม. / )
         ด้านความรู ้



                                     ( จํานวน                     คน คิดเป็ นร้ อยละ                  )
         ด้านสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน



         ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์




สรุปผลจากการประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจําหน่ วยการเรียนรู้
  ระดับคุณภาพดีมาก      จํานวน                          คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพดี         จํานวน                          คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพพอใช้      จํานวน                          คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน                           คน คิดเป็ นร้ อยละ


  ปั ญหา/อุปสรรค

  แนวทางการแก้ไข



                         ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย
                                                              ี
ข้อเสนอแนะ




                                                                      ลงชือ
                                                                              (                       )
                                                                      ตําแหน่ง
                                                    53
ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก           ร้ อยละ
          ระดับการศึกษาขันพืนฐาน
 . นักเรียนมีคณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพึงประสงค์
                 ุ
    . . เป็ นนักเรี ยนที ดีของโรงเรี ยน
        1) ความซื อสัตย์ สุ จริ ต
              ) มีวนย   ิ ั
              ) มุ่งมันในการทํางาน
    . . เป็ นลูกที ดีของพ่ อแม่ ผู้ปกครอง
                      ่
              ) อยูอย่างพอเพียง
              ) มีความเอืออาทร
              ) มีความกตัญ ูกตเวที
    . เป็ นสมาชิ กที ดีของชุมชน
          1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
              ) รักความเป็ นไทย
              ) มีจิตสาธารณะ
 . นักเรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี
     . มีสุขภาพดี มีนาหนัก ส่ วนสูง และสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์
                              ํ
           รวมทังรู้ จักดูแลตนเองให้ มีความปลอดภัย
        1) สุ ขภาพดี
            ) มีนาหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
                         ํ
            ) รู ้จกวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัย
                    ั
     . มีสุขภาพจิ ตดี มีมนุษยสัมพันธ์ ทีดีต่อผู้อืน และมีสุนทรี ยภาพ
            ) มีสุขภาพจิตดี
            ) มีมนุษยสัมพันธ์ดี
            ) มีสุนทรี ยภาพ
 . นักเรียนมีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
    . มีนิสัยรั กการอ่ าน สนใจ แสวงหาความรู้ จากแหล่ งต่ างๆ รอบตัว และสามารถเรี ยนรู้
           ด้ วยตนเองได้
            ) รักการอ่าน สนใจการอ่าน
            ) สนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว
            ) สามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเอง
                                 ้
    . นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ เป็ นที มได้
            ) ใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ระหว่างกัน
            ) เรี ยนรู ้เป็ นทีม

                                                  54
ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก                         ร้ อยละ
         ระดับการศึกษาขันพืนฐาน
   . สามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้
          ) การรู ้จกเลือกใช้เทคโนโลยี
                    ั
          ) มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
                ั
          ) มีการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การทํางาน
 . นักเรียนคิดเป็ น
  . มีความสามารถในการคิดเป็ นระบบ
       ) สามารถจําแนกแยกแยะองค์ประกอบ
         ) สามารถพิจารณาความสัมพันธ์เชือมโยง
         ) สามารถกําหนดประเด็น วิเคราะห์ประเด็น
         ) สามารถประสมประสาน และหลอมองค์ประกอบต่างๆ ได้ สามารถสรุ ปความคิดได้
            ต่อยอดความคิดได้
   . มีความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์
         ) มีความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
         ) สามารถใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์
         ) มีผลงานจากความคิดสร้างสรรค์
   . ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหา
         ) มีการศึกษาข้อมูลเพือการตัดสิ นใจ
         ) ตัดสิ นใจได้อย่างสมเหตุสมผล
         ) ใช้กระบวนการในการคิดแก้ปัญหา
         ) สามารถคิดแก้ปัญหาได้
. นักเรียนมีผลสัมฤทธิตามหลักสูตร (ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัดข้ อ...............................)
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ




                                                           55

More Related Content

What's hot

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เกษสุดา สนน้อย
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong
 

What's hot (20)

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 

Viewers also liked

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6krunuy5
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
คน ผ่านทาง
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)Preeyaporn Chamnan
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
Prachaya Sriswang
 
9.tense
9.tense9.tense
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
โปรตอน บรรณารักษ์
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงKruthai Kidsdee
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 

Viewers also liked (19)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)
4. ข้อสอบ o net - สุขศึกษาฯ (มัธยมปลาย) 0 (1)
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
9.tense
9.tense9.tense
9.tense
 
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Is3
Is3Is3
Is3
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 

Similar to สุขฯ ม.2 หน่วย 2

หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
Pat1803
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
guest5660a9a
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าIpst Thailand
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ai-sohyanya
 

Similar to สุขฯ ม.2 หน่วย 2 (20)

หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

สุขฯ ม.2 หน่วย 2

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ ที 2 เพศกับวัยรุ่น รายวิชา สุ ขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ชันมัธยมศึกษาปี ที เวลาเรียน ชัวโมง 1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด พ . ม. / วิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ ม. / วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน ม. / อธิ บายวิธีป้องกันตนเองและหลีกเลียงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ และการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ 2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด การศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ จะทําให้ทราบปั ญหาและผลกระทบทีเกิดจาก การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน และทําให้สามารถป้ องกันตนเองเรื องเพศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ) ปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ - ครอบครัว - วัฒนธรรม - เพือน - สื อ ) ปั ญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน ) ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ ิ . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ 30
  • 2. 4.3 ความสามารถในการแก้ ปัญหา . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ 1) กระบวนการทํางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั 2. ใฝ่ เรี ยนรู ้ 3. มุ่งมันในการทํางาน 6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) การจัดทําหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น 7.การวัดและการประเมินผล . การประเมินก่ อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ) ใบงานที . เรื อง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น ) ประเมินการนําเสนอผลงาน ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม . การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น 8.กิจกรรมการเรียนรู้ นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 2 กิจกรรมที วัยรุ่ นกับเจตคติทางเพศ วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ เวลา ชั วโมง 31
  • 3. 1. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การเปลียนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ น มีผลกระทบต่อ ั อารมณ์หรื อสภาพจิตใจหรื อไม่ 2. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า เมือเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นร่ างกายจะมีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ ว ซึ งส่ งผล ั ต่อการเปลียนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ ดังนันนักเรี ยนจึงควรศึกษาความรู ้เกียวกับพัฒนาการ ของวัยรุ่ น เพือให้มีความรู ้ความเข้าใจ และสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม 3. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง พัฒนาการและการปรับตัวทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อ ั หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วสรุ ปสาระสําคัญจดลงในสมุด 4. ครู นาภาพวัยรุ่ นหญิง และวัยรุ่ นชาย มาให้นกเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันอธิ บาย ํ ั ั ลักษณะพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิงและวัยรุ่ นชาย แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้ เรื อง พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิงและวัยรุ่ นชาย แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันบอกแนวทางในการ ั ปรับตัวทางเพศทีเหมาะสม โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึน ั 5. ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างวิธีการปฏิบติตนของวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมไทย ั ั แล้วครู ตรวจสอบความถูกต้องจากการยกตัวอย่างของนักเรี ยน และอธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจมากยิงขึน ั 6. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง ปั จจัยทีมี อิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความ เหมาะสม แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ขอมูลทีศึกษา แล้วสรุ ปปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อ ั ้ เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น พร้อมยกตัวอย่างประกอบในแต่ละปั จจัย 7. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น เมือทําเสร็ จครู และนักเรี ยนช่วยกันเฉลย คําตอบในใบงาน 8. ครู ถามนักเรี ยนว่า ในปั จจุบนการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์มกจะเกิดกับบุคคลในกลุ่มใดมากทีสุ ด ั ั และนักเรี ยนคิดว่า มีวธีการป้ องกันหรื อแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างไร ิ 9. ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ปั ญหาการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์นน สามารถป้ องกันได้ ั ั โดยเฉพาะการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ในวัยเรี ยน ซึ งเป็ นปั ญหาและผลกระทบจากการมี เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน 10. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน จากหนังสื อเรี ยน ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิม) ร่ วมกันสรุ ป ั ํ ประเด็นความรู ้ตามทีครู กาหนด 11. ให้นกเรี ยนนําผลการสรุ ปตามประเด็นความรู ้มาอภิปรายในกลุ่ม แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ ั จากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนในด้านต่างๆ จากนันส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการอภิปราย ทีหน้าชันเรี ยน 12. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน 32
  • 4. กิจกรรมที ทักษะชี วตในการปองกันตนเองเรืองเพศ ิ ้ วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการกลุ่ม เวลา ชั วโมง 1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ - คน (คละเพศ) ให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันสื บค้นความรู ้เรื อง ทักษะชีวต ิ ในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ โดยครู เสนอแนะแหล่งข้อมูลในการสื บค้น และแนะนําวิธีการ ทํางานร่ วมกัน เพือให้ภาระงานทีได้รับมอบหมายประสบความสําเร็ จ 2. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวางแผนในการศึกษาสื บค้นข้อมูลจากแหล่งความรู ้ต่างๆ แล้ว ั ํ ครู กาหนดระยะเวลาในการสื บค้น 3. เมือได้ขอมูลทีต้องการแล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสรุ ป ้ ั ความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทน ิ ั ออกมานําเสนอผลงานทีหน้าชันเรี ยน จากนันให้กลุ่มอืนได้นาเสนอเพิมเติมในส่ วนทีแตกต่าง ํ 4. ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจเรื อง ทักษะในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ และยกตัวอย่าง ั ประกอบในประเด็น ดังนี 1) การเลือกใช้ทกษะในการปฏิเสธทีเหมาะสม ั 2) การเลือกใช้ทกษะในการต่อรองเพือการประนีประนอม ั 3) การเลือกใช้ทกษะการตัดสิ นใจเพือหลีกเลียงการมีเพศสัมพันธ์ ั 5. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายถึงวิธีป้องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ ั ในวัยเรี ยน โดยครู คอยกระตุนให้นกเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น ้ ั 6. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน ั จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยน ั แต่ละกลุ่มร่ วมกันยกตัวอย่างการป้ องกันตนเองจากสถานการณ์เสี ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ ตามลําดับขันตอน 7. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ และ การป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพือให้นกเรี ยนนําความรู ้ทีได้รับไปใช้ ั ในการป้ องกันตนเอง 8. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันทําหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น โดยให้ครอบคลุมตามประเด็นทีกําหนด ั เมือทําเสร็ จนําผลงานมาส่ งครู เพือประเมินผล นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 2 33
  • 5. 9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 9.1 สื อการเรี ยนรู้ 1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. ) ใบงานที . เรื อง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น . แหล่ งการเรียนรู้ ) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.teenpath.net www.thaihealth.or.th/node/5752 www.dmh.go.th/sty_libnews/news/view.asp?id=1176 www.trueplookpanya.com/.../knowledge_summary.php?... www.thaigoodview.com/library/.../health03/.../grows03.html 34
  • 6. การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่น คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน รายการประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง ( ) . การวิเคราะห์ วิเคราะห์ปัจจัยทีมี วิเคราะห์ปัจจัยทีมี วิเคราะห์ปัจจัยทีมี วิเคราะห์ปัจจัยทีมี ปัจจัยทีมีอทธิพล อิทธิพลต่อเจตคติ ิ อิทธิพลต่อเจตคติ อิทธิพลต่อเจตคติ อิทธิพลต่อเจตคติ ต่ อเจตคติ ในเรื องเพศได้ ในเรื องเพศได้ ในเรื องเพศได้ ในเรื องเพศได้ ในเรืองเพศ ครอบคลุมครบทัง ครอบคลุม ประเด็น ครอบคลุม ประเด็น ครอบคลุม ประเด็น ประเด็น พร้อม พร้อมยกตัวอย่าง พร้อมยกตัวอย่าง พร้อมยกตัวอย่าง ยกตัวอย่างประกอบ ประกอบได้อย่างมี ประกอบได้อย่างมี ประกอบได้อย่างมี ได้อย่างมีเหตุผล เหตุผล เหตุผล เหตุผล . การวิเคราะห์ วิเคราะห์ปัญหาและ วิเคราะห์ปัญหาและ วิเคราะห์ปัญหาและ วิเคราะห์ปัญหาและ ปัญหาและ ผลกระทบทีเกิดจากการ ผลกระทบทีเกิดจากการ ผลกระทบทีเกิดจากการ ผลกระทบทีเกิดจากการ ผลกระทบทีเกิด มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน จากการมี ได้ถูกต้องละเอียด ได้ถูกต้องเป็ นส่วนใหญ่ ได้ถูกต้องเป็ นบางส่ วน ได้ถูกต้องเพียงส่วนน้อย เพศสัมพันธ์ ชัดเจน ในวัยเรียน 3. การเสนอแนวทาง เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ การป้ องกันตนเอง ป้ องกันตนเองจากการมี ป้ องกันตนเองจากการมี ป้ องกันตนเองจากการมี ป้ องกันตนเองจากการมี จากการมีเพศสัม- เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน พันธ์ ในวัยเรียน ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง แต่ไม่ และสามารถนําไป และสามารถนําไป และสามารถนําไป เหมาะสมและนําไป ปฏิบติได้ง่าย ั ปฏิบติได้ง่าย ั ปฏิบติได้ง่าย ั ปฏิบติได้ยาก ั เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน . ความคิด ออกแบบและตกแต่ง ออกแบบและตกแต่ง ออกแบบและตกแต่ง ออกแบบและตกแต่ง สร้ างสรรค์ ผลงานได้สวยงาม ผลงานได้สวยงาม ผลงานได้สวยงาม ผลงานได้สวยงาม แสดงออกถึงความคิด แสดงออกถึงความคิด แสดงออกถึงความคิด แสดงออกถึงความคิด สร้างสรรค์ และดึงดูด สร้างสรรค์ และดึงดูด สร้างสรรค์ และดึงดูด สร้างสรรค์ และดึงดูด ความสนใจได้ ความสนใจได้ ความสนใจได้ ความสนใจได้ เป็ นอย่างดี เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน เพียงส่วนน้อย 35
  • 7. เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ - ดีมาก - ดี - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 36
  • 8. แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที คําชี แจง ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว ั . การกระทําของใคร แสดงให้เห็นถึงการปรับตัวทางเพศอย่างเหมาะสม เมือก้าวเข้าสู่ วยรุ่ น ั ก. ชะอมไม่สนใจต่อการเปลียนแปลงทังทางร่ างกายและทางเพศของตนเอง ข. ชะโอดรู ้จกระมัดระวังในเรื องการแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ ั ค. ชะเอมอาบนําเป็ นประจําทุกวัน แต่ไม่แปรงฟัน ง. ชะอิงกินขนมหวาน และดืมนําอัดลมอยูบ่อยๆ ่ . ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคําว่า “เจตคติ” ไม่ ถูกต้อง ก. ความพร้อมทีจะปฏิบติ ั ข. สภาวะทางจิตใจ ค. ความรู ้สึก ง. ความกล้า . ข้อใด ไม่ ใช่ เจตคติทางเพศของสังคมไทย ก. ชายหญิงไม่ควรถูกเนือต้องตัวกัน ข. สุ ภาพบุรุษต้องให้เกียรติสุภาพสตรี ค. หญิงไทยต้องไม่แสดงออกเรื องเพศอย่างเปิ ดเผย ง. ชายหญิงหากตัดสิ นใจใช้ชีวิตอยูร่วมกัน ไม่จาเป็ นต้องขออนุญาตพ่อแม่ ่ ํ . ปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ นมากทีสุ ด คือข้อใด ก. วัฒนธรรม ข. ครอบครัว ค. เพือน ง. สื อ อ่ านกรณีศึกษาทีกําหนด แล้ วตอบคําถามข้ อ - ั โอกับดาวเป็ นเพือนสนิทกัน วันหนึงโอต้องซ้อมดนตรี กบเพือนๆ เพือแสดงในงานวันขึนปี ใหม่ จึงชวนให้ดาวอยูเ่ ป็ นเพือน ดาวเห็นว่า มีเพือนอยูกนหลายคนจึงตัดสิ นใจอยูเ่ ป็ นเพือนโอ ่ ั ่ เมือไปถึงห้องซ้อมดนตรี ปรากฏว่า ไม่มีใครอยูในห้องเลย โอล็อกประตูและพยายามข่มขืนดาว ดาวพยายามขัดขืน และกัดแขนโอจนเลือดออก และร้องไห้วงหนี ออกมาจากห้องซ้อมดนตรี ิ 37
  • 9. . เพราะเหตุใด ดาวจึงเกือบโดนข่มขืน ก. เพราะดาวเป็ นคนเห็นอกเห็นใจเพือน จึงไปอยูเ่ ป็ นเพือนโอ ่ ข. เพราะดาวยินยอมไปอยูในทีลับตาคนกับโอสองต่อสอง ค. เพราะดาวได้รับสิ งกระตุนทางเพศ ้ ง. เพราะดาวถูกโอล่อลวง . หากนักเรี ยนเป็ นดาว นักเรี ยนจะทําอย่างไร ก. แจ้งให้ครู หรื อผูปกครองทราบทันที ้ ข. บอกให้เพือนๆ มารุ มทําร้ายโอ ค. ยินยอมมีเพศสัมพันธ์กบโอั ง. ขอร้องโอให้ยติการกระทํา ุ . การกระทําของวัยรุ่ นในเรื องเพศ ข้อใดถือว่าเป็ นการกระทําทีขาดความยังคิดมากทีสุ ด ก. พูดคุยโทรศัพท์เป็ นเวลานาน ั ข. การมีเพศสัมพันธ์กน ค. การโต้เถียงผูใหญ่ ้ ง. การหนีเรี ยน . ความต้องการทางเพศในวัยรุ่ น ถือเป็ นเรื องผิดปกติหรื อไม่ ่ ก. ผิดปกติ เพราะยังอยูในวัยเรี ยน ข. ผิดปกติ เพราะเกิดจากสิ งเร้าต่างๆ ค. ไม่ผดปกติ เพราะเป็ นเรื องทีเกิดขึนตามธรรมชาติของมนุ ษย์ ิ ง. ไม่ผดปกติ เพราะในปั จจุบนมีสือยัวยุทางอารมณ์ออกมาเป็ นจํานวนมาก ิ ั . ข้อใดไม่ ใช่ ผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน ก. การได้รับการยอมรับจากกลุ่มเพือน ข. การติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ค. การตังครรภ์อนไม่พึงประสงค์ ั ง. การทําแท้ง 38
  • 10. . การกระทําของใคร แสดงให้เห็นถึงการป้ องกันตนเองจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนอย่างเหมาะสม ก. โอ๋ ชอบแต่งตัวโป๊ เปิ ดเผยสัดส่ วน ข. เอ๋ นิยมไปเทียวสถานเริ งรมย์ต่างๆ ่ ั ค. เอเปิ ดโอกาสให้คนรักกอดจูบเมือยูกนตามลําพัง ง. ออยไม่ไปเทียวกับเพือนต่างเพศสองต่อสอง หรื อไปในทีลับตาคน เฉลย แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 2 1. ข .ง .ง .ข .ง .ก .ข .ค .ก .ง 39
  • 11. แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1 เรือง วัยรุ่ นกับเจตคติทางเพศ เวลา ชัวโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที เพศกับวัยรุ่น ชันมัธยมศึกษาปี ที 1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด การมีเจตคติต่อเรื องเพศในลักษณะทีไม่ก่อให้เกิดพฤติกรรมทางเพศทีไม่พึงประสงค์ จะช่วยทําให้เกิด ความปลอดภัยและหลีกเลียงปั ญหาจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนได้ 2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี วัด พ . ม. / วิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ ม. / วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน 2.2 จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ) อธิ บายพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นได้ 2) วิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศของวัยรุ่ นได้ ) วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนได้ 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ) ปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ - ครอบครัว - วัฒนธรรม - เพือน - สื อ ) ปั ญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ 40
  • 12. 4.3 ความสามารถในการแก้ ปัญหา . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการทํางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั . ใฝ่ เรี ยนรู ้ . มุ่งมันในการทํางาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที ชั วโมงที 1. ครู ให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นว่า การเปลียนแปลงทางร่ างกายของวัยรุ่ น มีผลกระทบต่อ ั อารมณ์หรื อสภาพจิตใจหรื อไม่ โดยให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ั 2. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า เมือเข้าสู่ ช่วงวัยรุ่ นร่ างกายจะมีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ ว ซึ งส่ งผล ั ต่อการเปลียนแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์ ดังนันนักเรี ยนจึงควรศึกษาความรู ้เกียวกับพัฒนาการ ของวัยรุ่ น เพือให้มีความรู ้ความเข้าใจ และสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม 3. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง พัฒนาการและการปรับตัวทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อ ั หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม แล้วสรุ ปสาระสําคัญจดลงในสมุด 4. ครู นาภาพวัยรุ่ นหญิง และวัยรุ่ นชาย มาให้นกเรี ยนดูทีหน้าชันเรี ยน แล้วให้นกเรี ยนช่วยกันอธิ บาย ํ ั ั ลักษณะพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิง และวัยรุ่ นชาย โดยครู กระตุนให้นกเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วม ้ ั ในการตอบคําถาม 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่ นหญิงและวัยรุ่ นชาย แล้วให้ นักเรี ยนช่วยกันบอกแนวทางในการปรับตัวทางเพศทีเหมาะสม โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้ นักเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจมากยิงขึน 6. ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างวิธีการปฏิบติตนของวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมไทย ั ั เช่น การรักนวลสงวนตัว การแต่งกายอย่างมิดชิ ด การให้เกียรติสุภาพสตรี เป็ นต้น แล้วครู ตรวจสอบ ความถูกต้องจากการยกตัวอย่างของนักเรี ยน และอธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า จากตัวอย่างทีนักเรี ยน ั ยกมาในข้างต้น จัดเป็ นเจตคติทีดีทางเพศทีสอดคล้องกับสังคมและวัฒนธรรมไทย 41
  • 13. 7. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง ปั จจัยทีมี อิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม 8. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ขอมูลทีศึกษา แล้วสรุ ปปั จจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติทางเพศของ ้ วัยรุ่ น พร้อมยกตัวอย่างประกอบในแต่ละปั จจัย 9. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น เมือทําเสร็ จครู และนักเรี ยนช่วยกันเฉลย คําตอบในใบงาน ชั วโมงที 1. ครู ถามนักเรี ยนว่า ในปั จจุบนการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์มกจะเกิดกับบุคคลในกลุ่มใดมากทีสุ ด ั ั และนักเรี ยนคิดว่า มีวธีการป้ องกันหรื อแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างไร โดยนักเรี ยนสามารถตอบคําถาม ิ ได้อย่างหลากหลาย 2. ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ปั ญหาการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์นน สามารถป้ องกันได้ ั ั โดยเฉพาะการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ในวัยเรี ยน ซึ งเป็ นปั ญหาและผลกระทบจากการมี เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน 3. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน จากหนังสื อเรี ยน ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม 4. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิม) ร่ วมกันสรุ ปประเด็นความรู ้ตามทีครู กาหนด ดังนี ั ํ 1) สถานการณ์เสี ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ 2) ปั ญหาและผลกระทบ 5. ให้นกเรี ยนนําผลการสรุ ปตามประเด็นความรู ้มาอภิปรายในกลุ่ม แล้วร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ ั จากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนในด้านต่างๆ จากนันส่ งตัวแทนกลุ่มออกมานําเสนอผลการอภิปราย ทีหน้าชันเรี ยน 6. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ปั ญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครืองมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบทดสอบก่อนเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที . ใบงานที . ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ 42
  • 14. 8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 8.1 สื อการเรี ยนรู้ ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. ) ใบงานที . เรื อง เจคติทางเพศของวัยรุ่ น 8.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.teenpath.net www.thaihealth.or.th/node/5752 www.dmh.go.th/sty_libnews/news/view.asp?id=1176 43
  • 15. ใบงานที 1.1 เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น คําชี แจง ให้นกเรี ยนอ่านสถานการณ์ทีกําหนด แล้วตอบคําถาม ั โอ๋ : เมือวานเราไปเทียวกับทอม ลูกชายของลุงทีมาจากอเมริ กา ทอมถามเราว่า วัยรุ่ นไทยมีเจตคติทางเพศอย่างไร เอิร์น : แล้วโอ๋ ตอบทอมไปอย่างไรล่ะ โอ๋ : เราก็ไม่ได้ตอบทอมเลย เพราะเราไม่แน่ใจว่า เราจะตอบถูก หรื อเปล่า เราก็เลยมาถามเอิร์นนีแหละ เอิร์น : จ้ะ ถามมาเลย เดียวเราช่วยตอบ 1. เจตคติทางเพศของสังคมไทยมีลกษณะอย่างไร ั . ปั จจัยทีมีอิทธิ พลสําคัญต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น ได้แก่อะไรบ้าง 44
  • 16. ใบงานที 1.1 เรือง เจตคติทางเพศของวัยรุ่ น คําชี แจง ให้นกเรี ยนอ่านสถานการณ์ทีกําหนด แล้วตอบคําถาม ั โอ๋ : เมือวานเราไปเทียวกับทอม ลูกชายของลุงทีมาจากอเมริ กา ทอมถามเราว่า วัยรุ่ นไทยมีเจตคติทางเพศอย่างไร เอิร์น : แล้วโอ๋ ตอบทอมไปอย่างไรล่ะ โอ๋ : เราก็ไม่ได้ตอบทอมเลย เพราะเราไม่แน่ใจว่า เราจะตอบถูก หรื อเปล่า เราก็เลยมาถามเอิร์นนีแหละ เอิร์น : จ้ะ ถามมาเลย เดียวเราช่วยตอบ 1. เจตคติทางเพศของสังคมไทยมีลกษณะอย่างไร ั เจตคติทางเพศของผู้หญิงในสั งคมไทย คื อ - รั กนวลสงวนตัว - รู้ จักทํางานบ้ านงานเรื อน - แต่ งตัวมิดชิ ด - ไม่ แสดงออกทางเพศอย่ างเปิ ดเผย - ชายหญิงไม่ ควรถูกเนื อต้ องตัวกัน หรื ออยู่ด้วยกันเพียงลําพังในที ลับตาคน เจตคติทางเพศของผู้ชายในสั งคมไทย คื อ - ควรบวชเรี ยนก่ อนแต่ งงาน - ให้ เกียรติผ้ ูหญิงหรื อผู้ทีอ่ อนแอกว่ า - ชายหญิงไม่ ควรถูกเนื อต้ องตัวกัน หรื ออยู่ด้วยกันเพียงลําพังในที ลับตาคน . ปั จจัยทีมีอิทธิ พลสําคัญต่อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น ได้แก่อะไรบ้าง ปั จจัยที มีอิทธิ พลต่ อเจตคติทางเพศของวัยรุ่ น ได้ แก่ - ครอบครั ว - เพือน - วัฒนธรรม - สื อต่ างๆ (หมายเหตุ พิ จารณาตามคําตอบของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน) ู 45
  • 17. แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม การแบ่ ง ความร่ วมมือ ชือ – สกุล การแสดง การรับฟัง ความมีนําใจ รวม ลําดับ หน้ าทีกัน กันทํา ของผู้รับการ ความคิดเห็น ความคิดเห็น ช่ วยเหลือกัน ที อย่ างเหมาะสม กิจกรรม ประเมิน คะแนน ลงชือ...................................................ผูประเมิน ้ ............../.................../................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = - ดีมาก พอใช้ = - ดี ปรับปรุ ง = 1 - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 46
  • 18. แผนการจัดการเรียนรู้ ที เรือง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ ิ เวลา ชัวโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที 2 เพศกับวัยรุ่น ชันมัธยมศึกษาปี ที 1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด การมีทกษะและความชํานาญในการจัดการกับชีวตของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จะสามารถ ั ิ ป้ องกันและหลีกเลียงปั จจัยเสี ยงต่อสุ ขภาพของตนเองได้ 2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี วัด พ . ม. / อธิ บายวิธีป้องกันตนเองและหลีกเลียงจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ และการตังครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ 2.2 จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ) บอกทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศได้ ิ 2) เลือกใช้ทกษะในการป้ องกันตนเองเรื องเพศได้อย่างเหมาะสม ั 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองในเรื องเพศ ิ . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการทํางานกลุ่ม 47
  • 19. 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั . ใฝ่ เรี ยนรู ้ . มุ่งมันในการทํางาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการกลุ่ม) ชั วโมงที 1. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ - คน (คละเพศ) ให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันสื บค้นความรู ้เรื อง ทักษะชีวต ิ ในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ โดยครู เสนอแนะแหล่งข้อมูลในการสื บค้น และแนะนําวิธีการ ทํางานร่ วมกัน เพือให้ภาระงานทีได้รับมอบหมายประสบความสําเร็ จ 2. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวางแผนในการศึกษาสื บค้นข้อมูลจากแหล่งความรู ้ต่างๆ แล้ว ั ํ ครู กาหนดระยะเวลาในการสื บค้น 3. เมือได้ขอมูลทีต้องการแล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสรุ ป ้ ั ความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ จากนันเตรี ยมตัวออกมานําเสนอผลงาน ิ ในชัวโมงเรี ยนต่อไป ชั วโมงที . ครู สอบถามถึงความพร้อมในการนําเสนอผลการสื บค้นข้อมูลของนักเรี ยนแต่ละกลุ่ม แล้วให้ นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลงานทีหน้าชันเรี ยน จากนันให้กลุ่มอืนได้ นําเสนอเพิมเติมในส่ วนทีแตกต่างกันออกไป . ครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยนเข้าใจเรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ และยกตัวอย่าง ั ิ ประกอบในประเด็น ดังนี ) การเลือกใช้ทกษะการปฏิเสธ ั ) การเลือกใช้ทกษะการต่อรองเพือการประนีประนอม ั ) การเลือกใช้ทกษะการตัดสิ นใจเพือหลีกเลียงการมีเพศสัมพันธ์ ั . ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายถึงวิธีป้องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ ั ในวัยเรี ยน โดยครู คอยกระตุนให้นกเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น ้ ั 48
  • 20. . ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง การป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน ั จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยนั แต่ละกลุ่มร่ วมกันยกตัวอย่างการป้ องกันตนเองจากสถานการณ์เสี ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ ตามลําดับขันตอน . ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองเรื องเพศ ิ และการป้ องกันตนเองจากปั ญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน เพือให้นกเรี ยนนําความรู ้ทีได้รับ ั ไปปรับใช้ในชีวตประจําวัน ิ . ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันจัดทําหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามทีกําหนด ั ดังนี ) การวิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ ) การวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน ) การเสนอแนวทางการป้ องกันตนเองจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครืองมือ เกณฑ์ ประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น แบบประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ประเมินการนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน แบบทดสอบหลังเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ 8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 8.1 สื อการเรี ยนรู้ - หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. 8.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด ) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.trueplookpanya.com/.../knowledge_summary.php?... www.thaigoodview.com/library/.../health03/.../grows03.html 49
  • 21. แบบประเมินหนังสื อคู่มือวัยรุ่ น กลุ่มที สมาชิกของกลุ่ม . . . . . . ลําดับ คุณภาพผลงาน รายการประเมิน ที การวิเคราะห์ปัจจัยทีมีอิทธิ พลต่อเจตคติในเรื องเพศ การวิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบทีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ ในวัยเรี ยน การเสนอแนวทางการป้ องกันตนเองจากการมีเพศสัมพันธ์ ในวัยเรี ยน ความคิดสร้างสรรค์ รวม ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน ้ / / ....................... ........................... ........................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = 4 ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = - ดีมาก พอใช้ = - ดี ปรับปรุ ง = 1 - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 50
  • 22. แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ลําดับ คุณภาพการปฏิบัติ รายการประเมิน ที 4 3 2 1 1 นําเสนอเนื อหาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การลําดับขันตอนของเนื อเรื อง 3 การนําเสนอมีความน่าสนใจ 4 การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่ม 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน ้ ......................./.........................../........................ เกณฑ์ การให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน ั ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมค่อนข้างสมบูรณ์ ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องเป็ นบางส่ วน ้ ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องมาก ้ ให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 51
  • 23. แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม การแบ่ ง ความร่ วมมือ ชือ – สกุล การแสดง การรับฟัง ความมีนําใจ รวม ลําดับ หน้ าทีกัน กันทํา ของผู้รับการ ความคิดเห็น ความคิดเห็น ช่ วยเหลือกัน ที อย่ างเหมาะสม กิจกรรม ประเมิน คะแนน ลงชือ...................................................ผูประเมิน ้ ............../.................../................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = - ดีมาก พอใช้ = - ดี ปรับปรุ ง = 1 - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 52
  • 24. บันทึกหลังหน่ วยการเรี ยนรู้ อิงมาตรฐาน ตอนที นักเรี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชีวัดของหน่วยการเรี ยนรู ้ ต่อไปนี พ . (ม. / , ม. / , ม. / ) ด้านความรู ้ ( จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ) ด้านสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สรุปผลจากการประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจําหน่ วยการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีมาก จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพดี จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพพอใช้ จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ปั ญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย ี ข้อเสนอแนะ ลงชือ ( ) ตําแหน่ง 53
  • 25. ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ร้ อยละ ระดับการศึกษาขันพืนฐาน . นักเรียนมีคณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพึงประสงค์ ุ . . เป็ นนักเรี ยนที ดีของโรงเรี ยน 1) ความซื อสัตย์ สุ จริ ต ) มีวนย ิ ั ) มุ่งมันในการทํางาน . . เป็ นลูกที ดีของพ่ อแม่ ผู้ปกครอง ่ ) อยูอย่างพอเพียง ) มีความเอืออาทร ) มีความกตัญ ูกตเวที . เป็ นสมาชิ กที ดีของชุมชน 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ) รักความเป็ นไทย ) มีจิตสาธารณะ . นักเรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี . มีสุขภาพดี มีนาหนัก ส่ วนสูง และสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์ ํ รวมทังรู้ จักดูแลตนเองให้ มีความปลอดภัย 1) สุ ขภาพดี ) มีนาหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ํ ) รู ้จกวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัย ั . มีสุขภาพจิ ตดี มีมนุษยสัมพันธ์ ทีดีต่อผู้อืน และมีสุนทรี ยภาพ ) มีสุขภาพจิตดี ) มีมนุษยสัมพันธ์ดี ) มีสุนทรี ยภาพ . นักเรียนมีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน . มีนิสัยรั กการอ่ าน สนใจ แสวงหาความรู้ จากแหล่ งต่ างๆ รอบตัว และสามารถเรี ยนรู้ ด้ วยตนเองได้ ) รักการอ่าน สนใจการอ่าน ) สนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ) สามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเอง ้ . นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ เป็ นที มได้ ) ใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ระหว่างกัน ) เรี ยนรู ้เป็ นทีม 54
  • 26. ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ร้ อยละ ระดับการศึกษาขันพืนฐาน . สามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้ ) การรู ้จกเลือกใช้เทคโนโลยี ั ) มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ั ) มีการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การทํางาน . นักเรียนคิดเป็ น . มีความสามารถในการคิดเป็ นระบบ ) สามารถจําแนกแยกแยะองค์ประกอบ ) สามารถพิจารณาความสัมพันธ์เชือมโยง ) สามารถกําหนดประเด็น วิเคราะห์ประเด็น ) สามารถประสมประสาน และหลอมองค์ประกอบต่างๆ ได้ สามารถสรุ ปความคิดได้ ต่อยอดความคิดได้ . มีความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์ ) มีความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ) สามารถใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ ) มีผลงานจากความคิดสร้างสรรค์ . ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหา ) มีการศึกษาข้อมูลเพือการตัดสิ นใจ ) ตัดสิ นใจได้อย่างสมเหตุสมผล ) ใช้กระบวนการในการคิดแก้ปัญหา ) สามารถคิดแก้ปัญหาได้ . นักเรียนมีผลสัมฤทธิตามหลักสูตร (ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัดข้ อ...............................) . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ 55