SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
จุดเน้นการดาเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2554 งวดที่ 2
                      วันที่ 1 เมษายน 2554 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2554

                                            จุดเน้นข้อที่ 11
    ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและอานวยความสะดวกด้านที่อยู่อาศัย
  (บ้านพักครู) และสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของครูและนักเรียน


1. สภาพปัญหา
        บ้านพักครู เป็นสิ่งปลูกสร้างอย่างหนึ่งที่อยู่ในโรงเรียน บ้านพักครูส่วนมากปลูกสร้างมานาน
บางหลังชารุดทรุดโทรม แต่หากบุคลากรที่อาศัยอยู่ได้จัดตกแต่งสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ บ้านให้สะอาดและสวยงาม
ปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ดอกไม้ประดับ ก็จะเป็นแบบอย่างให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ประชาชนโดยทั่วไปได้
        ส่วนส้วมถือเป็นหนึ่งในด้านอาคารสถานที่ภายในโรงเรียนที่ต้องมีความสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ต่อการใช้สอย แต่จากการสารวจสภาพส้วม พฤติกรรมการใช้ส้วมของนักเรียน ปรากฏว่า สภาพของส้วมซึ่ง
ประกอบด้วยโครงสร้างอาคาร สุขภัณฑ์ อุปกรณ์ใช้สอยที่จาเป็นมีสภาพชารุดทรุดโทรมไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในส่วนของพฤติกรรมการใช้ส้วมซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญ ปรากฏว่า
นักเรียน ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ไม่ค่อยถูกวิธี จึงส่งผลให้ส้วมโรงเรียนมีความสกปรก มีกลิ่นเหม็น
นอกจากนี้นักเรียนจานวนหนึ่งยังมีพฤติกรรมชอบทาลายวัสดุ อุปกรณ์รวมทั้งขีดเขียนข้อความไม่พึงประสงค์
หรือพ่นสีสเปรย์บนฝาผนังห้องส้วมอีกด้วย
        กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได้ทาการสารวจความชุกของการอักเสบและติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
และพฤติกรรมการกลั้นปัสสาวะในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาในกรุงเทพมหานครในปี 2550 โดยทาการ
สารวจเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จานวน 2 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 600 ราย พบว่า มีอาการผิดปกติของ
ทางเดินปัสสาวะทั้งหมด 32 ราย (ร้อยละ 5.3) ร้อยละ 18.8 ของเด็กจานวนนี้มีประวัติชอบกลั้นปัสสาวะประจา
เพราะไม่อยากเข้าห้องส้วมที่โรงเรียน ซึ่งเด็กกลุ่มนี้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
คิดเป็น 1.6 เท่าของเด็กที่ไม่มีประวัติกลั้นปัสสาวะเป็นประจา ร้อยละ 95 ของเด็กนักเรียนในกรุงเทพมหานคร
มีความต้องการให้ปรับปรุงห้องส้วม ประเด็นที่ต้องการให้ปรับปรุงมากที่สุด ได้แก่ เรื่องความสะอาด
กลิ่น ให้มีสายฉีดน้าและกระดาษชาระ
        ปัญหาดังกล่าวส่งผลต่อการไม่กล้าใช้ส้วมโรงเรียน เกิดพฤติกรรมกลั้นปัสสาวะของนักเรียน มีความเสี่ยง
ต่อการเกิดอาการผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ รวมทั้งส่งผลต่อสภาพจิตใจของนักเรียนด้วย
โครงการโรงเรียนน่าอยู่และโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน ในฐานะ
ผู้รับผิดชอบโครงการ จึงจาเป็นต้องพัฒนาสิ่งแวดล้อม (บ้านพักครู) และสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) ของโรงเรียน
ให้มีด้านความสะอาด ปลอดภัย และพอเพียง และจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับเรื่องความสาคัญของบ้านที่พักอาศัย และส้วม พฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกวิธีให้แก่นักเรียน ซึ่งความรู้
ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวนี้ สามารถถ่ายทอดไปสู่ครอบครัวของนักเรียนตลอดจนชุมนได้อีกด้วย


2. ขั้นตอนดาเนินการ
        การดาเนินการบ้านพักครู
        1. สารวจบ้านพักครู ที่ชารุด ทรุดโทรม และปรับปรุงซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี
        2. ขอความร่วมมือคุณครูที่พักอาศัยที่บ้านพักครู ทาความสะอาดบ้านพัก จัดตกแต่ง ปลูกพืชผักสวนครัว
ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ให้สวยงามน่าอยู่
        dkiดาเนินการส้วมสุขสันต์
        1. สารวจอุปกรณ์ในห้องส้วมที่ชารุดเพื่อดาเนินการปรับปรุงให้สามารถใช้งานได้
        2. นักเรียนในชมรมส้วมสุขสันต์แบ่งหน้าที่ทาความสะอาดห้องส้วม และตกแต่งบริเวณให้สะอาด
สวยงามและนักเรียนในชมรมส้วมสุขสันต์แบ่งหน้าที่ทาความสะอาดห้องส้วมทุกวัน ตกแต่งบริเวณให้สะอาด
สวยงามเดือนละ 1 ครั้ง ใส่ทรายอะเบทป้องกันลูกน้ายุงลายทุก 15 วัน ทาให้นักเรียนใช้ส้วมได้สะอาด
ปลอดภัย และเพียงพอต่อความต้องการ
        3. จัดการเรียนการสอนบูรณาการข้ากับสาระต่าง ๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ส้วม กิจกรรมจัดกิจกรรม
การวาดภาพ แต่งกลอนส้วมสุขสันต์ในโรงเรียน
3. ผลการดาเนินการ
        บ้านพักครู
        1. บ้านพักครูที่ชารุด ทรุดโทรม ได้รับการปรับปรุง สามารถใช้งานได้มีความปลอดภัยในทรัพย์สินและ
ตนเอง
2. บ้านพักครูสะอาดน่าอยู่อาศัย และสวยงามบุคลากรอยูอย่างมีความสุข
                                                  ่




ส้วมสุขสันต์
1. โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรบัตรเหรียญทองส้วมสุขสันต์ระดับเครือข่ายและระดับสานักงานเขตพื้นที่
   การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1
2. นักเรียนร้อยละ 100 ใช้ส้วมอย่างถูกสุขลักษณะ
ภาพกิจกรรมในการทาความสะอาดส้วมโรงเรียน
ส้วมสุขสันต์โรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน
3. การจัดการเรียนการสอนบูรณาการข้ากับสาระต่าง ๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ส้วม ทาให้นักเรียนโรงเรียนบ้าน
คลองไก่เถื่อนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะอย่างถูกวิธี


      ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การใช้ห้องน้า
ห้องส้วม
                                                         แผนการจัดการเรียนรู้

                      กลุ่มสาระ สุขศึกษาและพลศึกษา พ 12101 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

            โรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1 เวลา 2 ชั่วโมง

                            หน่วยการเรียนรู้เรื่อง สุขภาพทางเพศ (การใช้ห้องน้า-ห้องส้วม)

             สัปดาห์ที่ ........... วันที่ ......... เดือน .............................................. พ.ศ. .....................

1. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด

        การใช้ห้องน้า-ห้องส้วมในชีวิตประจาวันที่ถูกสุขลักษณะอย่างมีมารยาท

2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

        1. นักเรียนดูแลความสะอาดอวัยวะเพศ และการทาความสะอาดหลังการขับถ่ายได้อย่างถูกวิธี

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

        1. ปฏิบัติตนในการดูแลอวัยวะการขับถ่ายได้อย่างถูกต้อง

4. เนื้อหาสาระ

        การดูแลอวัยวะเพศและอวัยวะขับถ่าย

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

        1. มีวินัย

        2. ใฝ่เรียนรู้

        3. มุ่งมั่นในการทางาน
6. กิจกรรมการเรียนรู้

        1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยคาถาม “เวลาใช้ห้องส้วมในการขับถ่าย” นักเรียนมีวิธีปฏิบัติอย่างไร
        2. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปขั้นตอนการใช้ห้องส้วม ซึ่งมีจุดเน้นที่ต้องระวังคือ การทาความสะอาด
            อวัยวะหลังการถ่ายและการล้างมือ
        3. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละ 4 คน แจกภาพ “ขั้นตอนการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย”
            และขั้นตอนการล้างมือ ให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันเรียงลาดับขั้นตอนให้ถูกต้อง
        4. ให้นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มช่วยกันเรียงลาดับขั้นตอนให้ถูกต้อง
        5. ครูตั้งคาถามให้แต่ละกลุ่มช่วยกันตอบทีละคาถาม
                - จะเกิดอะไรขึ้นถ้านักเรียนทาความสะอาดอวัยวะขับถ่ายไม่ดีพอ
                - จะเกิดอะไรขึ้นถ้านักเรียนล้างมือไม่สะอาดหลังการขับถ่าย
        6. ครูนานักเรียนไปสาธิตการใช้ห้องส้วมตามขั้นตอนที่ได้เรียนรู้

        ขั้นสรุป

         1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผล การขับถ่ายที่ถูกวิธี
         2. นักเรียนเขียนวิธีการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่ายลงในใบงาน
7. สื่อการสอน

        1. ใบความรู้สาหรับนักเรียน

        2. ภาพ “การทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย” และแผ่นข้อความ “ขั้นตอนการล้างมือ”

8. ผลงานนักเรียน

        1. ใบงาน “ขั้นตอนการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย”

9. การวัดผลและประเมินผล

        1. สังเกตการมีส่วนร่วมทากิจกรรม

        2. สังเกตการตอบคาถามของนักเรียน
10. กิจกรรมเสนอแนะ

           9.1 ปัญหาและอุปสรรค

                    .................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

             9.2 แนวทางแก้ไข

                    .................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

11. ข้อเสนอแนะผู้บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย

                    .................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

                                                                                                                (นายไพรัช ช่างไม้)

                                                                                                   ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน
12. บันทึกหลังการสอน

                    .................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................



                                                                                                             (นางแววดาว สงวนกุล)

                                                                                                  ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน
ใบงาน

                 รูปการใช้ห้องส้วม




     ขั้นตอนการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย

1.

2.

3.

4.

5.

6.
ใบความรู้สาหรับนักเรียน

ขั้นตอนการใช้ห้องส้วม

      1. ราดน้าที่โถส้วม
      2. กอดกางเกงออก
      3. ถ่าย
      4. ทาความสะอาดอวัยวะหลังขับถ่าย
      5. นุ่งกางเกง
      6. ราดน้าที่โถส้วมจนสะอาด หรือกดชักโครกจนสะอาด
      7. ล้างมือ
การทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย

       1. มือขวาถือขันตักน้าราด
       2. มือซ้ายถูเบาๆ
       3. ใช้กระดาษชาระเช็ดให้แห้ง
       4. ทิ้งกระดาษชาระลงในถังขยะ
       5. ราดน้าโถส้วมจนสะอาด / หรือกดชักโครกจนสะอาด
ขั้นตอนการล้างมือ

         1. ราดน้าให้มือเปียกทั้งสองข้าง
         2. ฟอกด้วยสบู่ให้ทั่วบริเวณฝ่ามือ หลังมือ และซอกนิ้วมือ และดาเนินการดังนี้
                2.1 ฝ่ามือถูกัน
                2.2 ฝ่ามือถูหลังมือและซอกนิ้วมือ
                2.3 ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว
                2.4 หลังนิ้วมือถูฝ่ามือ
                2.5 ถูนิ้วหัวแม่มือโดยรอบด้วยฝ่ามือ
                2.6 ปลายนิ้วมือถูขวางฝ่ามือ
                2.7 ถูรอบข้อมือ
         3. ล้างสบู่ออกด้วยน้าจนสะอาด หมดคราบสบู่ (หายลื่น)
         4. เช็ดมือด้วยผ้าสะอาดหรือกระดาษชาระ




แนวคิด
1. การทาความสะอาดอวัยวะขับถ่ายไม่ดีพอ อาจทาให้เกิดการอักเสบและติดเชื้อ ทาให้มีอาการเจ็บเวลา
   ถ่ายปัสสาวะ โดยเฉพาะถ้าล้างไม่ถูกวิธี ถ้าใช้มือปาดล้างจากก้นมาด้านหน้า จะนาเอาเชื้อโรคจากก้น
   มาติดอวัยวะเพศด้านหน้าได้
2. ถ้านักเรียนไม่ล้างมือให้สะอาดจะทาให้
       2.1 ทาให้เชื้อโรคติดมือมา เมื่อมาหยิบจับอาหารเข้าปากก็จะกลืนเอาเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทาให้
             ท้องเสีย เป็นโรคพยาธิ
       2.2 เมื่อเอามือที่ไม่สะอาดไปหยิบจับอะไร ก็จะนาเชื้อโรคไปติดไว้ที่ของสิ่งนั้น เมื่อคนอื่นนา
             ของต่อจากเราก็จะติดเอาเชื้อโรคไปด้วย

More Related Content

Viewers also liked

รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3kruchaily
 
จุดเน้น 9 ปีการศึกษา 2/2554
จุดเน้น  9 ปีการศึกษา 2/2554จุดเน้น  9 ปีการศึกษา 2/2554
จุดเน้น 9 ปีการศึกษา 2/2554kruchaily
 
Understanding how to use clairvoyant powers
Understanding how to use clairvoyant powersUnderstanding how to use clairvoyant powers
Understanding how to use clairvoyant powersJojie Cenon
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9kruchaily
 
จุดเน้น 1
จุดเน้น  1จุดเน้น  1
จุดเน้น 1kruchaily
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1kruchaily
 
Promotional usb keys
Promotional usb keysPromotional usb keys
Promotional usb keysJojie Cenon
 
จุดเน้น 8
จุดเน้น  8จุดเน้น  8
จุดเน้น 8kruchaily
 
จุดเน้น 2
จุดเน้น  2จุดเน้น  2
จุดเน้น 2kruchaily
 
The truth is out there remote viewing
The truth is out there   remote viewingThe truth is out there   remote viewing
The truth is out there remote viewingJojie Cenon
 
จุดเน้น 7
จุดเน้น  7จุดเน้น  7
จุดเน้น 7kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
จุดเน้น 4
จุดเน้น  4จุดเน้น  4
จุดเน้น 4kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8kruchaily
 

Viewers also liked (20)

รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3รายงานผลจุดเน้นที่ 3
รายงานผลจุดเน้นที่ 3
 
จุดเน้น 9 ปีการศึกษา 2/2554
จุดเน้น  9 ปีการศึกษา 2/2554จุดเน้น  9 ปีการศึกษา 2/2554
จุดเน้น 9 ปีการศึกษา 2/2554
 
Understanding how to use clairvoyant powers
Understanding how to use clairvoyant powersUnderstanding how to use clairvoyant powers
Understanding how to use clairvoyant powers
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
 
จุดเน้น 1
จุดเน้น  1จุดเน้น  1
จุดเน้น 1
 
To have
To haveTo have
To have
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
 
Promotional usb keys
Promotional usb keysPromotional usb keys
Promotional usb keys
 
Focus 1-55
Focus 1-55Focus 1-55
Focus 1-55
 
จุดเน้น 8
จุดเน้น  8จุดเน้น  8
จุดเน้น 8
 
จุดเน้น 2
จุดเน้น  2จุดเน้น  2
จุดเน้น 2
 
Focus4
Focus4Focus4
Focus4
 
Focus 5-55
Focus 5-55Focus 5-55
Focus 5-55
 
Focus6
Focus6Focus6
Focus6
 
The truth is out there remote viewing
The truth is out there   remote viewingThe truth is out there   remote viewing
The truth is out there remote viewing
 
Focus 3-55
Focus 3-55Focus 3-55
Focus 3-55
 
จุดเน้น 7
จุดเน้น  7จุดเน้น  7
จุดเน้น 7
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
จุดเน้น 4
จุดเน้น  4จุดเน้น  4
จุดเน้น 4
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
 

Similar to รายงานผลจุดเน้นที่ 11

จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9Suwakhon Phus
 
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานครmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จักรพงษ์ แผ่นทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 

Similar to รายงานผลจุดเน้นที่ 11 (20)

จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่ 9
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 11
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 11ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 11
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 11
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9
 
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
Cas12 1
Cas12 1Cas12 1
Cas12 1
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่  9จุดเน้นที่  9
จุดเน้นที่ 9
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
ด้านที่ 1
ด้านที่ 1ด้านที่ 1
ด้านที่ 1
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
Cas 11 1
Cas 11 1Cas 11 1
Cas 11 1
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 

More from kruchaily

จุดเน้น 5
จุดเน้น  5จุดเน้น  5
จุดเน้น 5kruchaily
 
จุดเน้น 3
จุดเน้น  3จุดเน้น  3
จุดเน้น 3kruchaily
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-editkruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 

More from kruchaily (15)

Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
Focus 9-55
Focus 9-55Focus 9-55
Focus 9-55
 
Focus 8-55
Focus 8-55Focus 8-55
Focus 8-55
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
Focus 4-55
Focus 4-55Focus 4-55
Focus 4-55
 
Focus 2-55
Focus 2-55Focus 2-55
Focus 2-55
 
Focus9
Focus9Focus9
Focus9
 
Focus7
Focus7Focus7
Focus7
 
Focus5
Focus5Focus5
Focus5
 
Focus3
Focus3Focus3
Focus3
 
Focus1
Focus1Focus1
Focus1
 
จุดเน้น 5
จุดเน้น  5จุดเน้น  5
จุดเน้น 5
 
จุดเน้น 3
จุดเน้น  3จุดเน้น  3
จุดเน้น 3
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-edit
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 

รายงานผลจุดเน้นที่ 11

  • 1. จุดเน้นการดาเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2554 งวดที่ 2 วันที่ 1 เมษายน 2554 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2554 จุดเน้นข้อที่ 11 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและอานวยความสะดวกด้านที่อยู่อาศัย (บ้านพักครู) และสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของครูและนักเรียน 1. สภาพปัญหา บ้านพักครู เป็นสิ่งปลูกสร้างอย่างหนึ่งที่อยู่ในโรงเรียน บ้านพักครูส่วนมากปลูกสร้างมานาน บางหลังชารุดทรุดโทรม แต่หากบุคลากรที่อาศัยอยู่ได้จัดตกแต่งสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ บ้านให้สะอาดและสวยงาม ปลูกพืชผักสวนครัว ไม้ดอกไม้ประดับ ก็จะเป็นแบบอย่างให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ประชาชนโดยทั่วไปได้ ส่วนส้วมถือเป็นหนึ่งในด้านอาคารสถานที่ภายในโรงเรียนที่ต้องมีความสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ ต่อการใช้สอย แต่จากการสารวจสภาพส้วม พฤติกรรมการใช้ส้วมของนักเรียน ปรากฏว่า สภาพของส้วมซึ่ง ประกอบด้วยโครงสร้างอาคาร สุขภัณฑ์ อุปกรณ์ใช้สอยที่จาเป็นมีสภาพชารุดทรุดโทรมไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในส่วนของพฤติกรรมการใช้ส้วมซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญ ปรากฏว่า นักเรียน ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ไม่ค่อยถูกวิธี จึงส่งผลให้ส้วมโรงเรียนมีความสกปรก มีกลิ่นเหม็น นอกจากนี้นักเรียนจานวนหนึ่งยังมีพฤติกรรมชอบทาลายวัสดุ อุปกรณ์รวมทั้งขีดเขียนข้อความไม่พึงประสงค์ หรือพ่นสีสเปรย์บนฝาผนังห้องส้วมอีกด้วย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได้ทาการสารวจความชุกของการอักเสบและติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ และพฤติกรรมการกลั้นปัสสาวะในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษาในกรุงเทพมหานครในปี 2550 โดยทาการ สารวจเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จานวน 2 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 600 ราย พบว่า มีอาการผิดปกติของ ทางเดินปัสสาวะทั้งหมด 32 ราย (ร้อยละ 5.3) ร้อยละ 18.8 ของเด็กจานวนนี้มีประวัติชอบกลั้นปัสสาวะประจา เพราะไม่อยากเข้าห้องส้วมที่โรงเรียน ซึ่งเด็กกลุ่มนี้มีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ คิดเป็น 1.6 เท่าของเด็กที่ไม่มีประวัติกลั้นปัสสาวะเป็นประจา ร้อยละ 95 ของเด็กนักเรียนในกรุงเทพมหานคร มีความต้องการให้ปรับปรุงห้องส้วม ประเด็นที่ต้องการให้ปรับปรุงมากที่สุด ได้แก่ เรื่องความสะอาด กลิ่น ให้มีสายฉีดน้าและกระดาษชาระ ปัญหาดังกล่าวส่งผลต่อการไม่กล้าใช้ส้วมโรงเรียน เกิดพฤติกรรมกลั้นปัสสาวะของนักเรียน มีความเสี่ยง ต่อการเกิดอาการผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ รวมทั้งส่งผลต่อสภาพจิตใจของนักเรียนด้วย
  • 2. โครงการโรงเรียนน่าอยู่และโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน ในฐานะ ผู้รับผิดชอบโครงการ จึงจาเป็นต้องพัฒนาสิ่งแวดล้อม (บ้านพักครู) และสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) ของโรงเรียน ให้มีด้านความสะอาด ปลอดภัย และพอเพียง และจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องความสาคัญของบ้านที่พักอาศัย และส้วม พฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกวิธีให้แก่นักเรียน ซึ่งความรู้ ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าวนี้ สามารถถ่ายทอดไปสู่ครอบครัวของนักเรียนตลอดจนชุมนได้อีกด้วย 2. ขั้นตอนดาเนินการ การดาเนินการบ้านพักครู 1. สารวจบ้านพักครู ที่ชารุด ทรุดโทรม และปรับปรุงซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี 2. ขอความร่วมมือคุณครูที่พักอาศัยที่บ้านพักครู ทาความสะอาดบ้านพัก จัดตกแต่ง ปลูกพืชผักสวนครัว ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ให้สวยงามน่าอยู่ dkiดาเนินการส้วมสุขสันต์ 1. สารวจอุปกรณ์ในห้องส้วมที่ชารุดเพื่อดาเนินการปรับปรุงให้สามารถใช้งานได้ 2. นักเรียนในชมรมส้วมสุขสันต์แบ่งหน้าที่ทาความสะอาดห้องส้วม และตกแต่งบริเวณให้สะอาด สวยงามและนักเรียนในชมรมส้วมสุขสันต์แบ่งหน้าที่ทาความสะอาดห้องส้วมทุกวัน ตกแต่งบริเวณให้สะอาด สวยงามเดือนละ 1 ครั้ง ใส่ทรายอะเบทป้องกันลูกน้ายุงลายทุก 15 วัน ทาให้นักเรียนใช้ส้วมได้สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอต่อความต้องการ 3. จัดการเรียนการสอนบูรณาการข้ากับสาระต่าง ๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ส้วม กิจกรรมจัดกิจกรรม การวาดภาพ แต่งกลอนส้วมสุขสันต์ในโรงเรียน 3. ผลการดาเนินการ บ้านพักครู 1. บ้านพักครูที่ชารุด ทรุดโทรม ได้รับการปรับปรุง สามารถใช้งานได้มีความปลอดภัยในทรัพย์สินและ ตนเอง
  • 3. 2. บ้านพักครูสะอาดน่าอยู่อาศัย และสวยงามบุคลากรอยูอย่างมีความสุข ่ ส้วมสุขสันต์ 1. โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรบัตรเหรียญทองส้วมสุขสันต์ระดับเครือข่ายและระดับสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 2. นักเรียนร้อยละ 100 ใช้ส้วมอย่างถูกสุขลักษณะ
  • 6. 3. การจัดการเรียนการสอนบูรณาการข้ากับสาระต่าง ๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ส้วม ทาให้นักเรียนโรงเรียนบ้าน คลองไก่เถื่อนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะอย่างถูกวิธี ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การใช้ห้องน้า ห้องส้วม แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระ สุขศึกษาและพลศึกษา พ 12101 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1 เวลา 2 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้เรื่อง สุขภาพทางเพศ (การใช้ห้องน้า-ห้องส้วม) สัปดาห์ที่ ........... วันที่ ......... เดือน .............................................. พ.ศ. ..................... 1. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด การใช้ห้องน้า-ห้องส้วมในชีวิตประจาวันที่ถูกสุขลักษณะอย่างมีมารยาท 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. นักเรียนดูแลความสะอาดอวัยวะเพศ และการทาความสะอาดหลังการขับถ่ายได้อย่างถูกวิธี 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตนในการดูแลอวัยวะการขับถ่ายได้อย่างถูกต้อง 4. เนื้อหาสาระ การดูแลอวัยวะเพศและอวัยวะขับถ่าย 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน
  • 7. 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยคาถาม “เวลาใช้ห้องส้วมในการขับถ่าย” นักเรียนมีวิธีปฏิบัติอย่างไร 2. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปขั้นตอนการใช้ห้องส้วม ซึ่งมีจุดเน้นที่ต้องระวังคือ การทาความสะอาด อวัยวะหลังการถ่ายและการล้างมือ 3. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละ 4 คน แจกภาพ “ขั้นตอนการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย” และขั้นตอนการล้างมือ ให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันเรียงลาดับขั้นตอนให้ถูกต้อง 4. ให้นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มช่วยกันเรียงลาดับขั้นตอนให้ถูกต้อง 5. ครูตั้งคาถามให้แต่ละกลุ่มช่วยกันตอบทีละคาถาม - จะเกิดอะไรขึ้นถ้านักเรียนทาความสะอาดอวัยวะขับถ่ายไม่ดีพอ - จะเกิดอะไรขึ้นถ้านักเรียนล้างมือไม่สะอาดหลังการขับถ่าย 6. ครูนานักเรียนไปสาธิตการใช้ห้องส้วมตามขั้นตอนที่ได้เรียนรู้ ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผล การขับถ่ายที่ถูกวิธี 2. นักเรียนเขียนวิธีการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่ายลงในใบงาน 7. สื่อการสอน 1. ใบความรู้สาหรับนักเรียน 2. ภาพ “การทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย” และแผ่นข้อความ “ขั้นตอนการล้างมือ” 8. ผลงานนักเรียน 1. ใบงาน “ขั้นตอนการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย” 9. การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตการมีส่วนร่วมทากิจกรรม 2. สังเกตการตอบคาถามของนักเรียน
  • 8. 10. กิจกรรมเสนอแนะ 9.1 ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 9.2 แนวทางแก้ไข ................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 11. ข้อเสนอแนะผู้บริหาร/ผู้ได้รับมอบหมาย ................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... (นายไพรัช ช่างไม้) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน
  • 9. 12. บันทึกหลังการสอน ................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................ (นางแววดาว สงวนกุล) ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านคลองไก่เถื่อน
  • 10. ใบงาน รูปการใช้ห้องส้วม ขั้นตอนการทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย 1. 2. 3. 4. 5. 6.
  • 11. ใบความรู้สาหรับนักเรียน ขั้นตอนการใช้ห้องส้วม 1. ราดน้าที่โถส้วม 2. กอดกางเกงออก 3. ถ่าย 4. ทาความสะอาดอวัยวะหลังขับถ่าย 5. นุ่งกางเกง 6. ราดน้าที่โถส้วมจนสะอาด หรือกดชักโครกจนสะอาด 7. ล้างมือ การทาความสะอาดอวัยวะหลังการขับถ่าย 1. มือขวาถือขันตักน้าราด 2. มือซ้ายถูเบาๆ 3. ใช้กระดาษชาระเช็ดให้แห้ง 4. ทิ้งกระดาษชาระลงในถังขยะ 5. ราดน้าโถส้วมจนสะอาด / หรือกดชักโครกจนสะอาด ขั้นตอนการล้างมือ 1. ราดน้าให้มือเปียกทั้งสองข้าง 2. ฟอกด้วยสบู่ให้ทั่วบริเวณฝ่ามือ หลังมือ และซอกนิ้วมือ และดาเนินการดังนี้ 2.1 ฝ่ามือถูกัน 2.2 ฝ่ามือถูหลังมือและซอกนิ้วมือ 2.3 ฝ่ามือถูหลังมือและนิ้วถูซอกนิ้ว 2.4 หลังนิ้วมือถูฝ่ามือ 2.5 ถูนิ้วหัวแม่มือโดยรอบด้วยฝ่ามือ 2.6 ปลายนิ้วมือถูขวางฝ่ามือ 2.7 ถูรอบข้อมือ 3. ล้างสบู่ออกด้วยน้าจนสะอาด หมดคราบสบู่ (หายลื่น) 4. เช็ดมือด้วยผ้าสะอาดหรือกระดาษชาระ แนวคิด
  • 12. 1. การทาความสะอาดอวัยวะขับถ่ายไม่ดีพอ อาจทาให้เกิดการอักเสบและติดเชื้อ ทาให้มีอาการเจ็บเวลา ถ่ายปัสสาวะ โดยเฉพาะถ้าล้างไม่ถูกวิธี ถ้าใช้มือปาดล้างจากก้นมาด้านหน้า จะนาเอาเชื้อโรคจากก้น มาติดอวัยวะเพศด้านหน้าได้ 2. ถ้านักเรียนไม่ล้างมือให้สะอาดจะทาให้ 2.1 ทาให้เชื้อโรคติดมือมา เมื่อมาหยิบจับอาหารเข้าปากก็จะกลืนเอาเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทาให้ ท้องเสีย เป็นโรคพยาธิ 2.2 เมื่อเอามือที่ไม่สะอาดไปหยิบจับอะไร ก็จะนาเชื้อโรคไปติดไว้ที่ของสิ่งนั้น เมื่อคนอื่นนา ของต่อจากเราก็จะติดเอาเชื้อโรคไปด้วย