SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
แบบเสนอโครงการ
                        โรงเรียนซับบอนวิทยาคม ประจาปี งบประมาณ 2555

1. ชื่องาน/โครงการ โครงงานสารวจและปฏิบติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
                                         ั
2. ลักษณะกิจกรรม
         ลักษณะงาน/กิจกรรม ( ) ต่อเนื่อง ( / ) ใหม่
         สนองมาตรฐาน การเรี ยนรู้
         สาระที่ ๕ พลังงาน
       มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชี วต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน
                                                                             ิ
               ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชี วตและสิ่ งแวดล้อม มี
                                                                                    ิ
               กระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ ไปใช้ประโยชน์
       สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
       มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้
                                ่
               การแก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
                                                                               ่
               สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ
                                                       ้
               เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน
                                                                                             ั
       สนองมาตรฐาน สพฐ.
       มาตรฐาน ( / ) ด้านคุณภาพผูเ้ รี ยน   มาตรฐานที่
       มาตรฐาน ( / ) ด้านการเรี ยนการสอน มาตรฐานที่
       มาตรฐาน ( / ) ด้านผูบริ หารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่
                           ้
       มาตรฐาน ( / ) ด้านพัฒนาชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้ มาตรฐานที่

3. ความสาคัญ หลักการและเหตุผล
           สภาพและปัญหาการความสิ้ นเปลืองงบประมาณของโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคมซึ่ งเกิดจากหลาย
สาเหตุ จากค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้ าและน้ าประมาณเดือนละ 14,000 บาทต่อเดือน เพิ่มเป็ น 24000 บาทต่อ
เดือน ซึ่ งเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จึงนาสภาพและปัญหาความสิ้ นเปลืองพลังงานนี้มาจัดทาโครงการ โครงงาน
สารวจและปฏิบติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ประกอบการเรี ยนการสอนวิชา
                    ั
วิทยาศาสตร์ ในรู ปแบบโครงงานสารวจและปฏิบติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
                                               ั
4. วัตถุประสงค์
         1. เพื่อศึกษาสภาพปั ญหาความสิ้ นเปลืองพลังงานของโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
         2.เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนโครงงานกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ดวยวิธีการสื บเสาะ
                                                                            ิ        ้
         3.เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้แก่นกเรี ยนให้ได้ท้ งความรู ้ ทักษะ กระบวนการและเจตคติ ทาง
                                           ั               ั
วิทยาศาสตร์
         4.เพื่อนาผลของการศึกษามาใช้ในการแก้ไขปั ญหาความสิ้ นเปลืองพลังงานพลังงานของโรงเรี ยน
ซับบอนวิทยาคม โดยเน้นการมีส่วนร่ วมของนักเรี ยน ครู ผูบริ หารและบุคลากรในโรงเรี ยน
                                                                ้
         5.ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้รวบรวม จัดเก็บและนาเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้า โดยใช้ ICT
                           ั
5. เปาหมาย
     ้
         5.1 ด้านปริ มาณ
              1. นักเรี ยนทุกระดับชั้นได้รับการพัฒนาการเรี ยนรู ้ร้อยละ 100
              2. สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของโรงเรี ยนลงร้อยละ 20-30
              3.สามารถปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ขาดประสิ ทธิภาพได้ ร้อยละ 80
         5.2 ด้านคุณภาพ
              1. นักเรี ยนสื บเสาะสารวจสภาพและปั ญหา รวมถึงสาเหตุของความสิ้ นเปลืองพลังงานใน
โรงเรี ยน
              2.นักเรี ยนสามารถวิเคราะห์ แยกแยะ สาเหตุของความสิ้ นเปลืองพลังงานในโรงเรี ยน
              3.นักเรี ยนสามารถสังเคราะห์ขอมูลที่ได้สร้างองค์ความรู ้ใหม่ เสนอแนวทางการแก้ไขปั ญหา
                                                 ้
ความสิ้ นเปลืองพลังงานในโรงเรี ยน โครงงานที่จดการเรี ยนการสอนสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริ ง
                                                       ั
              4.นักเรี ยนสามารถเผยแพร่ ความรู ้ของตนเองโดยใช้ส่ื อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
              5.พลังงานในโรงเรี ยนถูกนามาใช้อย่างประหยัด คุมค่าและมีประสิ ทธิภาพ
                                                                      ้
6. วิธีดาเนินการ
             กิจกรรม           ระยะเวลา                     งบประมาณ                ผู้รับผิดชอบ
1. โครงงานสารวจและ           ตลอดภาคเรี ยน                  20,000 บาท        ครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ปฏิบติการ การประหยัด
      ั                                                                             วิทยาศาสตร์
พลังงาน โรงเรี ยนซับบอน
วิทยาคม
2. กิจกรรมนาเสนอผลงานการ
ค้นคว้า โดยนาเสนอ ด้วย คลิป
วีดีโอ นาเสนอหน้าเสาธง
นาเสนอด้วยระบบเสี ยงตามสาย
นาเสนอด้วยเว็บบล็อก นาเสนอ
และเผยแพร่ ดวย Facebook.com
               ้
นาเสนอและเผยแพร่ ดวย   ้
Powerpoint นาเสนอและ
เผยแพร่ บอร์ ด
3. กิจกรรมลงมือปฏิบติ แก้ไข
                     ั
ปั ญหาความสิ้ นเปลืองพลังงาน
4. กิจกรรมตรวจเช็คเฝ้ าระวัง
7. งบประมาณ
   งบประมาณทั้งหมด 20,000 บาท

8. ผู้รับผิดชอบโครงการ/ผู้เกี่ยวข้ อง
            บทบาท/หน้าที่                       รายละเอียดบทบาท               ชื่อผูเ้ กี่ยวข้อง
ผูจดทาโครงการ
  ้ั                                  1. หัวหน้าโครงการ              นายชานาญ คามี
                                      2. รองหัวหน้าโครงการ           นางจารัส เพชรภักดี
                                      3. จัดทารายละเอียดโครงการ      นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา
                                      4.ประสานงานโครงการ             นางสาวนุจริ นทร์ เทพจันทร์
                                      5.ประเมินโครงการ               นายชนาธิ ปัตย์ เจริ ญศักดิ์
เจ้าหน้าที่พสดุ
             ั                        1. จัดซื้ อตามระเบียบของทาง    นางสาวนิตยา ชาตินนท์   ั
                                      ราชการ
เจ้าหน้าที่การเงิน                    2. เบิกจ่ายงบประมาณ            นางอาภาพร บุญเติม
9. การติดตามประเมินผล
             ตัวชี้วดความสาเร็ จ
                    ั                                                       เกณฑ์ความสาเร็ จ                             เครื่ องมือประเมิน
1. นักเรี ยนทุกระดับชั้นได้รับการ                                                 100                               แบบประเมินโครงการ/กิจกรรม
พัฒนาการเรี ยนรู้ร้อยละ 100
2. ครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู้วทยาศาสตร์
                             ิ                                                         100
สามารถพัฒนานักเรี ยนได้ร้อยละ 100

10. ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ
                 ี่
        1. ได้พฒนาการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทยาศาสตร์
                     ั                                            ิ
        2. ได้ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้แก่นกเรี ยนให้ได้ท้ งความรู ้ ทักษะกระบวนการและเจตคติ
                                        ั                ั
        3. ได้จดการเรี ยนการสอนโครงงานโดยใช้ดวยวิธีการสื บเสาะ
               ั                                           ้
        4.สามารถนาผลการศึกษาโครงงานมาปฏิบติเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของโรงเรี ยน
                                                       ั
        5.ได้แหล่งเรี ยนรู ้จากการศึกษาโครงงานและเผยแพร่ ผลการเรี ยนรู ้
11. มีโครงการอืนทีสัมพันธ์ กับโครงการนี้
                    ่ ่


                                                   ลงชื่อ...............................................ผูเ้ สนอโครงการ
                                                              (นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา)
                                                                            ครู ผช่วย
                                                                                   ู้

                                                  ลงชื่อ..............................................ผูเ้ ห็นชอบ
                                                                   (นายชานาญ คามี)
                                                  หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้วชาวิทยาศาสตร์   ิ

ความเห็นรองผูอานวยการ   ้
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

                                                                 ลงชื่อ...........................................
                                                                          (นายคาภาสน์ บุญเติม)
                                                               รองผูอานวยการโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
                                                                    ้
                                                                      ............../......................./...................
ความเห็นผูอานวยการ้
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

                            ( ) อนุ มติ
                                     ั                          ( ) ไม่อนุมติ
                                                                           ั                               ( ) อื่นๆ.................................

                                                     ลงชื่อ.............................................
                                                             (นายอุทิศ                ฉัตรแก้ว)
                                                       ผูอานวยการโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม
                                                          ้
                                                       ............../......................./...................
สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชี วต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน
                                                                       ิ
               ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชี วตและสิ่ งแวดล้อม มี
                                                                                    ิ
               กระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ ไปใช้ประโยชน์
   ชั้น                     ตัวชี้วด
                                   ั                        สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
   ป. ๑                        -                                            -
   ป.๒       ๑. ทดลองและอธิ บายได้ว่าไฟฟ้ า - ไฟฟ้ าจากเซลล์ ไ ฟฟ้ าหรื อแบตเตอรี่
                เป็ นพลังงาน                        สามารถทางานได้ ไฟฟ้ าจึงเป็ นพลังงาน
             ๒. ส า ร ว จ แ ล ะ ย ก ตั ว อ ย่ า ง - พลังงานไฟฟ้ าเปลี่ ยนเป็ นพลังงานอื่ นได้
                เครื่ องใช้ไฟฟ้ าในบ้านที่เปลี่ยน   ซึ่งตรวจสอบได้จากเครื่ องใช้ไฟฟ้ าในบ้าน
                พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานอื่น       เช่น พัดลม หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า
   ป.๓       ๑. บอกแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ - การผลิ ต ไฟฟ้ าใช้ พ ลั ง งานจากแหล่ ง
                ใช้ผลิตไฟฟ้ า                       พลังงานธรรมชาติ ซึ่ งบางแหล่งเป็ นแหล่ง
                                                    พลั ง งานที่ มี จ ากั ด เช่ น น้ ามั น แก๊ ส
                                                    ธรรมชาติ บางแหล่ งเป็ นแหล่ งพลังงานที่
                                                    หมุนเวียน เช่น น้ า ลม
             ๒. อ ธิ บ า ย ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง - พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ
                พลั ง ง า นไ ฟฟ้ าแ ล ะ เ ส น อ     ชี วิตประจาวัน เช่ น เป็ นแหล่ งกาเนิ ดแสง
                วิธี การใช้ไ ฟฟ้ าอย่า งประหยัด     สว่าง จึงต้องใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยัด เช่ น
                และปลอดภัย                          ปิ ดไฟเมื่อไม่ใช้งาน รวมทั้งใช้ไฟฟ้ าอย่าง
                                                    ปลอดภัย เช่ น เลื อกใช้อุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ มี
                                                    มาตรฐาน
   ป.๔       ๑. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ - แสงเคลื่ อนที่ จากแหล่ ง ก าเนิ ดทุ ก ทิ ศ ทาง
                ของแสงจากแหล่งกาเนิ ด               และเคลื่อนที่เป็ นแนวตรง
             ๒. ทดลองและอธิบายการสะท้อน - แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนของ
                ของแสงที่ตกกระทบวัตถุ               แสงโดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
             ๓. ทดลองและจาแนกวัตถุตาม             - เมื่อแสงกระทบวัตถุต่างกัน จะผ่านวัตถุแต่
                ลักษณะการมองเห็นจาก                 ละชนิ ดได้ ต่ า งกั น ท าให้ จ าแนกวั ต ถุ
                แหล่งกาเนิดแสง                      ออกเป็ นตัวกลางโปร่ ง ใส ตัวกลางโปร่ ง
                                                    แสงและวัตถุทึบแสง
             ๔. ทดลองและอธิบายการหักเห            - เมื่ อแสงเคลื่ อนที่ ผ่านตัวกลางที่ต่างชนิ ดกัน
ชั้น               ตัวชี้วด
                          ั                            สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
          ของแสงเมื่อผ่านตัวกลาง               ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยน เรี ยกการ
          โปร่ งใสสองชนิ ด                     หักเหของแสง
       ๕. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยน         -   เซลล์สุริยะเป็ นอุปกรณ์ ที่เปลี่ ยนพลังงาน
          แสงเป็ นพลังงานไฟฟ้ าและนา           แสงเป็ นพลัง งานไฟฟ้ า อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า
          ความรู้ไปใช้ประโยชน์                 หลายชนิ ดมี เซลล์สุ ริยะเป็ นส่ วนประกอบ
                                               เช่น เครื่ องคิดเลข
       ๖. ทดลองและอธิบายแสงขาว             -   แสงขาวผ่านปริ ซึมจะเกิ ดการกระจายของ
          ประกอบด้วยแสงสี ต่าง ๆ และ           แสงเป็ นแสงสี ต่ า ง ๆ น าไปใช้ อ ธิ บ าย
          นาความรู้ไปใช้ประโยชน์               ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น การเกิดสี รุ้ง
ป.๕    ๑. ทดลองและอธิ บายการเกิดเสี ยง     -   เสี ยงเกิ ดจากการสั่นของแหล่งกาเนิ ดเสี ยง
          และการเคลื่อนที่ของเสี ยง            และเสี ยงเคลื่อนที่จากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงทุก
                                               ทิศทางโดยอาศัยตัวกลาง
       ๒. ทดลองและอธิ บายการเกิดเสี ยง     -   แหล่งกาเนิ ดเสี ยงสั่นด้วยความถี่ ต่ าจะเกิ ด
          สู ง เสี ยงต่า                       เสี ยงต่า แต่ถาสั่นด้วยความถี่สูงจะเกิดเสี ยง
                                                               ้
                                               สู ง
       ๓. ทดลองและอธิบายเสี ยงดัง          -   แหล่ งกาเนิ ดเสี ยงสั่นด้วยพลังงานมากจะ
          เสี ยงค่อย                           ทาให้เกิ ดเสี ยงดัง แต่ถาแหล่งกาเนิ ดเสี ยง
                                                                             ้
                                               สั่นด้วยพลังงานน้อยจะเกิดเสี ยงค่อย
       ๔. สารวจและอภิปรายอันตรายที่        -   เสี ยงดังมาก ๆ จะเป็ นอันตรายต่อการได้ยิน
          เกิดขึ้นเมื่อฟังเสี ยงดังมาก ๆ       และเสี ยงที่ ก่ อให้ เกิ ดความร าคาญ เรี ยกว่ า
                                               มลพิษทางเสี ยง
ป.๖    ๑. ทดลองและอธิ บายการต่อ      -         ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า อ ย่ า ง ง่ า ย ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
          วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย                  แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า อุปกรณ์ไฟฟ้ า
       ๒. ทดลองและอธิ บายตัวนาไฟฟ้ า -         วัสดุท่ีกระแสไฟฟ้ าผ่านได้เป็ นตัวนาไฟฟ้ า
          และฉนวนไฟฟ้ า                        ถ้ากระแสไฟฟ้ าผ่านไม่ได้เป็ นฉนวนไฟฟ้ า
       ๓. ทดลองและอธิบายการต่อ       -         เซลล์ ไ ฟฟ้ าหลายเซลล์ ต่ อ เรี ย งกัน โดย
          เซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม และ             ขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์หนึ่ งต่อกับขั้ว
          นาความรู้ไปใช้ประโยชน์               ลบของอี ก เซลล์ ห นึ่ งเป็ นการต่ อ แบบ
                                               อนุ กรม ทาให้มีกระแสไฟฟ้ าผ่านอุปกรณ์
                                               ไฟฟ้ าในวงจรเพิ่มขึ้น
ชั้น                ตัวชี้วด
                           ั                          สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                           -   การต่ อ เซลล์ ไ ฟฟ้ าแบบอนุ ก รมสามารถ
                                               นาไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจาวัน เช่ น
                                               การต่อเซลล์ไฟฟ้ าในไฟฉาย
       ๔. ทดลองและอธิ บายการต่อ            -   การต่ อ หลอดไฟฟ้ าแบบอนุ ก รม จะมี
          หลอดไฟฟ้ าทั้งแบบอนุกรม              กระแสไฟฟ้ าปริ มาณเดี ย วกันผ่ า นหลอด
          แบบขนาน และนาความรู้ไป               ไฟฟ้ าแต่ละหลอด
          ใช้ประโยชน์                      -   การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
                                               กระแสไฟฟ้ าจะแยกผ่านหลอดไฟฟ้ าแต่ละ
                                               หลอด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ เช่น
                                               การต่อหลอดไฟฟ้ าหลายดวงในบ้าน
       ๕. ทดลองและอธิ บายการเกิด      -        สายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่านจะเกิดสนามแม่เหล็ก
          สนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มี            รอบสายไฟ สามารถนาไปใช้ประโยชน์
          กระแสไฟฟ้ าผ่าน และนา                เช่น การทาแม่เหล็กไฟฟ้ า
          ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ม. ๑   ๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและ - การวัดอุณหภูมิเป็ นการวัดระดับความร้อน
          การวัดอุณหภูมิ                 ของสาร สามารถวัดด้วยเทอร์มอมิเตอร์
       ๒. สังเกตและอธิ บายการถ่ายโอน - การถ่ายโอนความร้ อนมีสามวิธี คือ การนา
          ความร้อน และนาความรู้ไปใช้     ความร้อน การพาความร้อนและการแผ่รังสี
          ประโยชน์                       ความร้อน
                                      - การน าความร้ อ น เป็ นการถ่ า ยโอนความ
                                         ร้อนโดยการสั่นของโมเลกุล
                                      - การพาความร้ อ น เป็ นการถ่ า ยโอนความ
                                         ร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปด้วย
                                      - การแผ่ รั ง สี ค วามร้ อ น เป็ นการถ่ า ยโอน
                                         ความร้อนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
                                      - การนาความรู ้เรื่ องการถ่ายโอนความร้อนไป
                                         ใช้ประโยชน์
       ๓. อธิบายการดูดกลืน การคาย - วัต ถุ ที่ แ ตกต่ า งกัน มี ส มบัติ ใ นการดู ดกลื น
          ความร้อน โดยการแผ่รังสี และ    ความร้อนและคายความร้อนได้ต่างกัน
          นาความรู้ไปใช้ประโยชน์        - การนาความรู้เรื่ องการดูดกลืนความร้อน
                                            และการคายความร้อนไปใช้ประโยชน์
ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                            สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง

       ๔. อธิบายสมดุลความร้อนและผล                                     ่
                                               - เมื่อวัตถุ สองสิ่ งอยูในสมดุ ลความร้ อน วัตถุ
          ของความร้อนต่อการขยายตัว               ทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน
          ของสาร และนาความรู้ไปใช้             - การขยายตัวของวัตถุเป็ นผลจากความร้อนที่
          ในชีวตประจาวัน
               ิ                                 วัตถุได้รับเพิ่มขึ้น
                                               - การนาความรู้เรื่ องการขยายตัวของวัตถุเมื่อ
                                                 ได้รับความร้อนไปใช้ประโยชน์
ม.๒    ๑.   ทดลองและอธิ บายการสะท้อน - เมื่อแสงตกกระทบผิววัตถุหรื อตัวกลางอีก
            ของแสง การหั ก เหของแสง              ตัว กลางหนึ่ ง แสงจะเปลี่ ย นทิ ศ ทางการ
            และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์            เคลื่อนที่โดยการสะท้อนของแสง หรื อการ
                                                 หักเหของแสง
                                               - การนาความรู ้ เกี่ ยวกับการสะท้อนของแสง
                                                 และการหักเหของแสงไปใช้อธิ บายแว่นตา
                                                 ทัศนอุปกรณ์ กระจก เส้นใยนาแสง
       ๒.   อธิ บายผลของความสว่างที่มีต่อ - นัย น์ ตาของคนเราเป็ นอวัย วะใช้ม องดู สิ่ ง
            มนุษย์และสิ่ งมีชีวตอื่น ๆ
                                ิ                ต่างๆ นัยน์ตามีองค์ประกอบสาคัญหลายอย่าง
                                               - ความสว่า งมี ผ ลต่ อนัย น์ตามนุ ษย์ จึ ง มี ก าร
                                                 นาความรู ้ เกี่ยวกับความสว่างมาช่ วยในการ
                                                 จัดความสว่างให้เหมาะสมกับการทางาน
                                               - ออกแบบวิธีการตรวจสอบว่าความสว่างมี
                                                 ผลต่อสิ่ งมีชีวตอื่น
                                                                 ิ
       ๓.   ทดลองและอธิ บายการดูดกลืน - เมื่อแสงตกกระทบวัตถุ วัตถุจะดูดกลืนแสง
            แสงสี การมองเห็นสี ของวัตถุ          สี บางสี ไว้ และสะท้อนแสงสี ที่เหลือออกมา
            และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์            ทาให้เรามองเห็นวัตถุเป็ นสี ต่าง ๆ
                                               - การนาความรู ้เกี่ยวกับการดูดกลืนแสงสี การ
                                                 มองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ประโยชน์ในการ
                                                 ถ่ายรู ปและในการแสดง
ม.๓    ๑.   อธิ บายงาน พลังงานจลน์ พลังงาน - การให้งานแก่วตถุเป็ นการถ่ายโอนพลังงาน
                                                                    ั
            ศัก ย์โ น้ม ถ่ วง กฎการอนุ รั ก ษ์   ให้ ว ัต ถุ พลั ง งานนี้ เป็ นพลั ง งานกลซึ่ ง
            พลัง งาน และความสั ม พัน ธ์          ประกอบด้วยพลังงานศักย์และพลังงานจลน์
            ระหว่างปริ มาณเหล่านี้ รวมทั้ง       พลังงานจลน์เป็ นพลังงานของวัตถุขณะวัตถุ
ชั้น                 ตัวชี้วด
                              ั                                สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
              นาความรู้ไปใช้ประโยชน์                  เคลื่อนที่ ส่ วนพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ
                                                                                    ่
                                                      เป็ นพลังงานของวัตถุที่อยูสูงจากพื้นโลก
                                                  -   กฎการอนุรักษ์พลังงานกล่าวว่า พลังงานรวม
                                                      ของวัตถุ ไม่สูญหาย แต่สามารถเปลี่ ยนจาก
                                                      รู ปหนึ่งไปเป็ นอีกรู ปหนึ่งได้
                                                  -   การนากฎการอนุ รักษ์พลังงานไปใช้ประโยชน์
                                                      ในการอธิ บายปรากฏการณ์ เช่ น พลังงานน้ า
                                                      เหนื อเขื่อนเปลี่ ยนรู ปจากพลังงานศักย์โน้มถ่ วง
                                                      เป็ นพลังงานจลน์, ปั้ นจันตอกเสาเข็ม
                                                                               ่
          ๒. ทดลองและอธิ บ ายความสั ม พัน ธ์      -   ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้ าและความต้านทาน
             ระหว่ างความต่ างศักย์ กระแสไฟฟ้ า                            ั
                                                      มีความสัมพันธ์กนตามกฎของโอห์ม
             ความต้านทาน และนาความรู้ ไป          -   การนากฎของโอห์มไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้ า
             ใช้ประโยชน์                              อย่างง่าย
          ๓. ค านวณพลั ง งานไฟฟ้ าของ             -   การค านวณพลัง งานไฟฟ้ าของเครื่ อ งใช้ไ ฟฟ้ า
             เครื่ องใช้ไ ฟฟ้ า และนาความรู้          เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการคิ ดค่ า ไฟฟ้ าและเป็ น
             ไปใช้ประโยชน์                            แนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้ าในบ้าน
          ๔. สั ง เกตและอภิ ป รายการต่ อ          -   การต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้านต้องออกแบบวงจร ติดตั้ง
             วงจรไฟฟ้ าในบ้านอย่างถูกต้อง             เครื่ องใช้ไฟฟ้ า อุ ปกรณ์ ไฟฟ้ าอย่างถู กต้อง โดย
             ปลอดภัย และประหยัด                       การต่อสวิตช์แบบอนุ กรม ต่อเต้ารั บแบบขนาน
                                                      และเพื่อความปลอดภัยต้องต่อสายดิ นและฟิ วส์
                                                      รวมทั้งต้องคานึงถึงการใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยัด
          ๕. อธิ บายตั ว ต้ า นทาน ไดโอด -            ชิ้ นส่ วนอิเล็กทรอนิ กส์ เช่ น ตัวต้านทาน ไดโอด
             ทรานซิ ส เตอร์ และทดลองต่ อ              ทรานซิ สเตอร์ มี สมบั ติ ทางไฟฟ้ าแตกต่ างกั น
             วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี        ตัวต้านทานทาหน้าที่ จากัดกระแสไฟฟ้ าในวงจร
             ทรานซิสเตอร์                             ไดโอดมี สมบัติให้กระแสไฟฟ้ าผ่านได้ทิ ศทาง
                                                      เดี ยวและทรานซิ สเตอร์ ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์ปิด-
                                                      เปิ ดวงจร
                                                  -   การประกอบวงจรอิ เล็ กทรอนิ กส์ เบื้ องต้นที่ มี
                                                      ทรานซิสเตอร์ ๑ ตัวทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์
ม.๔-ม.๖    ๑. ทดลองและอธิ บายสมบัติของคลื่นกล -       คลื่นกลมีสมบัติ การสะท้อน การหักเห การแทรก
              และอธิ บ ายความสั มพันธ์ ระหว่าง        สอด และการเลี้ยวเบน
ชั้น                   ตัวชี้วด
                              ั                              สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
           อัตราเร็ ว ความถี่และความยาวคลื่น    -   อัตราเร็ ว ความถี่และความยาวคลื่นมี
                                                                      ั
                                                    ความสัมพันธ์กนดังนี้
                                                    อัตราเร็ ว = ความถี่  ความยาวคลื่น
       ๒. อธิ บ ายการเกิ ดคลื่ น เสี ย งบี ต ส์ -   คลื่ นเสี ยงเกิ ดจากการสั่นของแหล่งกาเนิ ด
          ของเสี ยง ความเข้ม เสี ยง                 เสี ยง
          ระดับความเข้มเสี ยง การได้ยิน -           บี ต ส์ ข องเสี ยงเกิ ด จากคลื่ น เสี ยงจาก
          เสี ยง คุ ณ ภาพเสี ยง และน า              แหล่ ง กาเนิ ดสองแหล่ งที่ มีความถี่ ต่างกัน
          ความรู้ไปใช้ประโยชน์                      เล็ ก น้อ ย มารวมกัน ท าให้ ไ ด้ยิ นเสี ย งดัง
                                                    ค่อยเป็ นจังหวะ
                                                -   ความเข้ม เสี ย ง คื อ พลัง งานเสี ย งที่ ตกตั้ง
                                                    ฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา
                                                -   ระดับ ความเข้ม เสี ย งจะบอกความดัง ค่ อ ย
                                                    ของเสี ยงที่ได้ยน   ิ
                                                -   เครื่ องดนตรี แต่ ล ะชนิ ดที่ ใ ช้ ต ั ว โน้ ต
                                                    เดี ย วกั น จะให้ รู ปคลื่ น ที่ แ ตกต่ า งกั น
                                                    เรี ยกว่ามีคุณภาพเสี ยงต่างกัน
       ๓. อภิ ป รายผลการสื บ ค้น ข้อ มู ล - มลพิษทางเสี ยงมีผลต่อสุ ขภาพของมนุ ษย์
          เกี่ ยวกับมลพิษทางเสี ยงที่ มีต่อ   ถ้าฟั งเสี ยงที่มีระดับความเข้มเสี ยงสู งกว่า
          สุ ขภาพของมนุ ษ ย์ และการ           มาตรฐานเป็ นเวลานาน อาจก่ อ ให้ เ กิ ด
          เสนอวิธีป้องกัน                     อันตรายต่อการได้ยินและสภาพจิ ตใจได้
                                              การป้ องกันโดยการหลีกเลี่ยงหรื อใช้เครื่ อง
                                              ครอบหู ห รื อลดการสั่ นของแหล่ ง ก าเนิ ด
                                              เสี ยง เช่น เครื่ องจักร
       ๔. อธิ บ ายคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า - คลื่ นแม่ เหล็กไฟฟ้ าประกอบด้วยสนามแม่ เหล็ก
          สเปกตรั ม คลื่ นแม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า   และสนามไฟฟ้ าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
          และน าเสนอผลการสื บค้ น             สเปกตรั ม คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ ามี ค วามถี่
          ข้อมู ล เกี่ ย วกับ ประโยชน์ และ    ต่ อเนื่ องกัน โดยคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ าช่ ว ง
          การป้ องกัน อัน ตรายจากคลื่ น       ความถี่ ต่ า งๆ มี ล ั ก ษณะเฉพาะตั ว ซึ่ ง
          แม่เหล็กไฟฟ้ า                      สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน
                                              เช่ น การรับส่ งวิทยุ โทรทัศน์ การป้ องกัน
ชั้น                   ตัวชี้วด
                              ั                              สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
                                                    อันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เช่น ไม่อยู่
                                                    ใกล้เตาไมโครเวฟขณะเตาทางาน
       ๕. อธิ บ ายปฏิ กิ ริย านิ ว เคลี ย ร์ ฟิ ช - ปฏิ กิ ริ ยานิ ว เคลี ย ร์ เ ป็ นปฏิ กิ ริ ยาที่ ท าให้
          ชัน ฟิ วชัน และความสัม พัน ธ์             นิ วเคลี ยสเกิ ดการเปลี่ ยนแปลง ปฏิ กิริยาที่
          ระหว่างมวลกับพลังงาน                      นิ วเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลมากแตกตัว
                                                    เรี ยกว่ า ฟิ ชชั น ปฏิ กิ ริ ยาที่ เ กิ ด จากการ
                                                    หลอมรวมนิ วเคลี ย สของธาตุ ที่มีเลขมวล
                                                    น้อย เรี ยกว่า ฟิ วชัน ความสัมพันธ์ระหว่าง
                                                    มวลและพลั ง งานเป็ นไปตามสมการ
                                                         E  mc2
       ๖. สื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานที่ - ปฏิ กิริยานิ วเคลี ยร์ ทาให้เกิ ดผลกระทบต่อ
          ได้จ ากปฏิ กิ ริย านิ ว เคลี ย ร์ และ สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม
                                                          ิ
          ผ ล ต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ
          สิ่ งแวดล้อม
       ๗. อภิ ป รายผลการสื บ ค้น ข้อ มู ล - โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์ เป็ นโรงไฟฟ้ าพลังงาน
          เกี่ ย วกั บ โรงไฟฟ้ านิ ว เคลี ย ร์  ความร้ อ นประเภทหนึ่ ง ซึ่ งได้พ ลัง งาน
          และนาไปใช้ประโยชน์                    ความร้อนจากพลังงานนิวเคลียร์
       ๘. อธิบายชนิดและสมบัติของรังสี - รั ง สี จ ากธาตุ ก ัม มัน ตรั ง สี มี ๓ ชนิ ด คื อ
                       ั
          จากธาตุกมมันตรังสี                    แอลฟา บีตาและแกมมา ซึ่ งมีอานาจทะลุ
                                                ผ่านต่างกัน
       ๙. อธิ บายการเกิดกัมมันตภาพรังสี - กั ม มั น ตภาพรั ง สี เกิ ด จากการสลายของ
          และบอกวิธีการตรวจสอบรังสี           ไอโซโทปของธาตุ ที่ ไ ม่ เ สถี ย ร สามารถ
          ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก า ร ใ ช้   ตรวจจั บ ได้ โ ดยเครื่ องตรวจวัด รั ง สี ใน
          ป ร ะ โ ย ช น์ ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ   ธรรมชาติมีรังสี แต่ส่วนใหญ่อยูในระดับต่า
                                                                                 ่
          สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม
                    ิ                         มาก
                                            - รั ง สี มี ป ระโยชน์ ใ นด้ า นอุ ต สาหกรรม
                                              การเกษตร การแพทย์ โบราณคดี รั งสี ใน
                                              ระดับสู งมีอนตรายต่อสิ่ งมีชีวต
                                                             ั               ิ
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้ การ
                             ่
               แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ
                                                                      ่
               อธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า
                                             ้
               วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน
                                                                                   ั
   ชั้น                      ตัวชี้วด
                                    ั                    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
   ป. ๑       ๑.   ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่จะ                    -
                   ศึกษาตามที่กาหนดให้หรื อ
                   ตาม ความสนใจ
              ๒.   วางแผนการสังเกต สารวจ                            -
                   ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดย
                   ใช้ความคิดของตนเองและ
                   ของครู
              ๓.   ใช้วสดุอุปกรณ์ในการสารวจ
                         ั                                          -
                   ตรวจสอบ และบันทึกผลด้วย
                   วิธีง่ายๆ
              ๔.   จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการ                       -
                   สารวจตรวจสอบและนาเสนอผล
              ๕.   แสดงความคิดเห็นในการ                             -
                   สารวจ ตรวจสอบ
              ๖.   บันทึกและอธิบายผลการ                             -
                   สังเกต สารวจตรวจสอบ โดย
                   เขียนภาพหรื อข้อความสั้นๆ
              ๗.   นาเสนอผลงานด้วยวาจาให้                           -
                   ผูอื่นเข้าใจ
                      ้
   ป.๒        ๑.   ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่จะ                   -
                   ศึกษา ตามที่กาหนดให้และ
                   ตามความสนใจ
              ๒.   วางแผนการสังเกต สารวจ                            -
                   ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดย
ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั               สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
            ใช้ความคิดของตนเองของ
            กลุ่มและของครู
       ๓.   ใช้วสดุอุปกรณ์ เครื่ องมือที่
                   ั                                    -
            เหมาะสมในการสารวจ
            ตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล
       ๔.   จัดกลุ่มข้อมูล เปรี ยบเทียบ                 -
            และนาเสนอผล
       ๕.   ตั้งคาถามใหม่จากผลการ                       -
            สารวจตรวจสอบ
       ๖.   แสดงความคิดเห็นเป็ นกลุ่ม                   -
            และรวบรวมเป็ นความรู้
       ๗.   บันทึกและอธิบายผลการ                        -
            สังเกต สารวจ ตรวจสอบ
            อย่างตรงไปตรงมา โดยเขียน
            ภาพ แผนภาพหรื อคาอธิบาย
       ๘.   นาเสนอผลงานด้วยวาจาให้                      -
            ผูอื่น เข้าใจกระบวนการและ
               ้
            ผลของงาน
ป.๓    ๑.   ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่จะ              -
            ศึกษา ตามที่กาหนดให้และ
            ตามความสนใจ
       ๒.   วางแผนการสังเกต เสนอวิธี                    -
            สารวจตรวจสอบ ศึกษา
            ค้นคว้า โดยใช้ความคิดของ
            ตนเอง ของกลุ่มและ
            คาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการ
            สารวจ ตรวจสอบ
       ๓.   เลือกใช้วสดุอุปกรณ์
                       ั                                -
            เครื่ องมือที่เหมาะสมในการ
            สารวจตรวจสอบ และบันทึก
ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                      สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
            ข้อมูล
       ๔.   จัดกลุ่มข้อมูล เปรี ยบเทียบกับ                     -
            สิ่ งที่คาดการณ์ไว้และ
            นาเสนอผล
       ๕.   ตั้งคาถามใหม่จากผลการ                              -
            สารวจตรวจสอบ
       ๖.   แสดงความคิดเห็นและ                                 -
            รวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม
            นาไปสู่ การสร้างความรู ้
       ๗.   บันทึกและ อธิบายผลการ                              -
            สังเกต สารวจตรวจสอบตาม
            ความเป็ นจริ ง มีแผนภาพ
            ประกอบคาอธิบาย
       ๘.   นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย                            -
            อธิบายด้วยวาจา และเขียน
            แสดงกระบวนการและผล
            ของงานให้ ผูอื่นเข้าใจ
                               ้
ป.๔    ๑.   ตั้ง ค าถามเกี่ ย วกั บ ประเด็ น                   -
            หรื อเรื่ อง หรื อสถานการณ์ ที่
            จะศึกษา ตามที่กาหนดให้และ
            ตามความสนใจ
       ๒.   วางแผนการสัง เกต เสนอวิธี                          -
            สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา
            ค้นคว้า และคาดการณ์สิ่งที่จะ
            พบจากการสารวจตรวจสอบ
       ๓.         เลื อ กอุ ป กรณ์ ที่ ถู ก ต้อ ง              -
            เหมาะสมในการสารวจ
            ตรวจสอบ
       ๔.   บัน ทึ ก ข้อ มู ล ในเชิ ง ปริ ม าณ                 -
            นาเสนอ ผลสรุ ปผล
ชั้น                     ตัวชี้วด
                                ั                สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๕.   สร้ างค าถามใหม่ เ พื่ อ การ                     -
            สารวจตรวจสอบ ต่อไป
       ๖.   แสดงความคิ ดเห็ น และสรุ ป                      -
            สิ่ งที่ได้ เรี ยนรู้
       ๗.   บั น ทึ ก และอธิ บายผลการ                       -
            ส า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ อ ย่ า ง
            ตรงไปตรงมา
       ๘.   นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย                         -
            อธิ บ ายด้ว ยวาจา หรื อเขี ย น
            อธิบายกระบวนการและผลของ
            งานให้ผอื่นเข้าใจ
                        ู้
ป.๕    ๑.   ตั้งคาถาม เกี่ ยวกับประเด็น                     -
            หรื อเรื่ อง หรื อสถานการณ์ ที่
            จะศึกษา ตามที่กาหนดให้และ
            ตามความสนใจ
       ๒.   วางแผนการสังเกต เสนอการ                         -
            สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา
            ค้นคว้า และคาดการณ์สิ่งที่จะ
            พบจากการสารวจตรวจสอบ
       ๓.   เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสม                   -
            ในการสารวจ ตรวจสอบให้
            ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้
                  ้
       ๔.   บัน ทึ ก ข้อ มู ล ในเชิ ง ปริ ม าณ              -
            และคุ ณ ภาพ และตรวจสอบผล
            กับสิ่ งที่คาดการณ์ไว้ นาเสนอ
            ผลและข้อสรุ ป
       ๕.   สร้ างค าถามใหม่ เ พื่ อ การ                    -
            สารวจตรวจสอบต่อไป
       ๖.   แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ                       -
            อธิ บาย แล ะส รุ ปสิ่ งที่ ได้
ชั้น                 ตัวชี้วด
                            ั                   สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
           เรี ยนรู้
       ๗. บันทึกและอธิบายผลการสารวจ                        -
          ตรวจสอบตามความเป็ นจริ ง มี
          การอ้างอิง

        ๘. น าเสนอ จัด แสดง ผลงาน                          -
           โดยอธิ บ ายด้ ว ยวาจา หรื อ
           เขียนอธิ บายแสดงระบวนการ
           และผลของงานให้ผอื่นเข้าใจ
                                   ู้
ป.๖     ๑. ตั้ง ค าถามเกี่ ย วกั บ ประเด็ น                -
           หรื อเรื่ อง หรื อสถานการณ์ ที่
           จะศึกษา ตามที่กาหนดให้และ
           ตามความสนใจ
        ๒. วางแผนการสังเกต เสนอการ                         -
           สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา
           ค้น คว้า คาดการณ์ สิ่ ง ที่ จ ะ
           พบจากการสารวจตรวจสอบ
        ๓. เลื อ กอุ ป กรณ์ และวิ ธี ก าร                  -
           ส ารวจตรวจสอบที่ ถู ก ต้อ ง
           เ ห ม า ะ ส ม ใ ห้ ไ ด้ ผ ล ที่
           ครอบคลุมและเชื่อถือได้
        ๔. บัน ทึ ก ข้อ มู ล ในเชิ ง ปริ ม าณ              -
           และคุ ณ ภาพ วิเ คราะห์ และ
           ต ร ว จ ส อ บ ผ ล กั บ สิ่ ง ที่
           คาดการณ์ไว้ นาเสนอผลและ
           ข้อสรุ ป
        ๕. สร้ างค าถามใหม่ เ พื่ อ การ                    -
           สารวจ ตรวจสอบต่อไป
        ๖. แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ                       -
           อธิ บาย ลงความเห็นและสรุ ป
           สิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้
ชั้น                 ตัวชี้วด
                               ั                      สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
           ๘. บันทึกและอธิบายผลการสารวจ                           -
              ตรวจสอบตามความเป็ นจริ ง มี
              เหตุ ผ ล และมี ป ระจัก ษ์ พ ยาน
              อ้างอิง

            ๘. นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย                           -
               อธิ บ ายด้ว ยวาจา และเขี ย น
               รายงานแสดงกระบวนการ
               และผลของงานให้ผอื่นเข้าใจู้
ม. ๑-ม.๓    ๑. ตั้ง ค าถามที่ ก าหนดประเด็ น                     -
               หรื อตัว แปรที่ ส าคัญ ในการ
               สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา
               ค้น คว้า เรื่ อ งที่ ส นใจได้อ ย่า ง
               ครอบคลุมและเชื่อถือได้
            ๒. สร้ า งสมมติ ฐ านที่ ส ามารถ                      -
               ตรวจสอบได้และวางแผนการ
               สารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
            ๓. เลื อ กเทคนิ ค วิ ธี ก ารส ารวจ                   -
               ตรวจสอบทั้งเชิ งปริ มาณและ
               เชิ ง คุ ณภาพที่ ไ ด้ผลเที่ ย งตรง
               และปลอดภัย โดยใช้วสดุและ     ั
               เครื่ องมือที่เหมาะสม
            ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูล                       -
               เชิงปริ มาณและคุณภาพ
            ๕. วิเ คราะห์ แ ละประเมิ น ความ                      -
               สอดคล้องของประจักษ์พยาน
               กับ ข้ อ สรุ ป ทั้ง ที่ ส นั บ สนุ น
               หรื อขั ด แย้ ง กั บ สมมติ ฐ าน
               และความผิดปกติ ข องข้อมู ล
               จากการสารวจตรวจสอบ
            ๖. สร้างแบบจาลอง หรื อรู ปแบบ                        -
ชั้น                      ตัวชี้วดั                    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
               ที่อธิ บายผลหรื อแสดงผลของ
               การสารวจตรวจสอบ
          ๗.   สร้ า งค าถามที่ น าไปสู่ การ                        -
               ส ารวจตรวจสอบ ในเรื่ องที่
               เกี่ ยวข้อง และนาความรู ้ ท่ี ไ ด้
               ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรื อ
               อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ แ น ว คิ ด
               กระบวนการ และผลของโครงงาน
               หรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ
                                        ู้
          ๘.   บั น ทึ ก และอธิ บายผลการ                            -
               สังเกต การสารวจ ตรวจสอบ
               ค้ น คว้ า เพิ่ ม เติ ม จากแหล่ ง
               ความรู ้ ต่ า ง ๆ ให้ ไ ด้ข ้อ มู ล ที่
               เชื่ อ ถื อ ได้ และยอมรั บ การ
               เปลี่ ย นแปลงความรู้ ที่ ค้นพบ
               เมื่ อ มี ข ้ อ มู ล และประจั ก ษ์
               พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้ง
               จากเดิม
          ๙.   จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน                             -
               และ/หรื ออธิ บายเกี่ ย วกั บ
               แนวคิด กระบวนการ และผล
               ของโครงงานหรื อชิ้ นงานให้
               ผูอื่นเข้าใจ
                  ้
ม.๔-ม.๖   ๑.                          ่
               ตั้งคาถามที่อยูบนพื้นฐานของ                          -
               ความรู้ แ ละความเข้า ใจทาง
               วิทยาศาสตร์ หรื อความสนใจ
               หรื อจากประเด็นที่ เกิ ดขึ้ นใน
               ขณะนั้ น ที่ ส ามารถท าการ
               ส ารวจตรวจสอบหรื อ ศึ ก ษา
               ค้ น คว้า ได้ อ ย่ า งครอบคลุ ม
               และเชื่อถือได้
ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                        สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
       ๒.   สร้ า งสมมติ ฐ านที่ มี ท ฤษฎี                        -
            รองรับ หรื อคาดการณ์สิ่งที่จะ
            พบ หรื อสร้ า งแบบจ าลอง
            หรื อสร้างรู ปแบบ เพื่อนาไปสู่
            การสารวจตรวจสอบ
       ๓.   ค้นคว้า รวบรวมข้อมู ล ที่ ต้อ ง                      -
            พิจารณาปั จจัยหรื อ ตัวแปร
            ส าคัญ ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ ปั จ จัย
            อื่น ปั จจัยที่ควบคุมไม่ได้ และ
            จ านวนครั้ งของการส ารวจ
            ตรวจสอบ เพื่ อ ให้ไ ด้ผ ลที่ มี
            ความเชื่อมันอย่างเพียงพอ
                         ่
       ๔.   เลือกวัสดุ เทคนิ ควิธี อุปกรณ์                       -
            ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การ
            สารวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง
            ทั้ง ทางกว้า งและลึ ก ในเชิ ง
            ปริ มาณและคุณภาพ
       ๕.   รวบรวมข้อมูลและบันทึกผล                              -
            การส ารวจตรวจสอบอย่ า ง
            เป็ นระบบถูกต้อง ครอบคลุ ม
            ทั้งในเชิ งปริ มาณและคุณภาพ
            โดยตรวจสอบความเป็ นไป
            ได้ ความเหมาะสมหรื อความ
            ผิดพลาดของข้อมูล
       ๖.   จัดกระทาข้อมูล โดยคานึ งถึง                          -
            การรายงานผลเชิ งตัวเลขที่ มี
            ร ะ ดั บ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ
            นาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิ ควิธี
            ที่เหมาะสม
       ๗.   วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล แ ป ล                      -
            ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ
ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                     สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
           ประเมินความสอดคล้องของ
           ข้อสรุ ป หรื อสาระสาคัญ เพื่อ
           ตรวจสอบกับสมมติฐานที่ต้ งไว้      ั
       ๘. พิ จารณาความน่ า เชื่ อถื อของ                      -
           วิ ธี การและผลการส ารวจ
           ตรวจสอบ โดยใช้หลักความ
           คลาดเคลื่ อนของการวัดและ
           การสั ง เกต เสนอแนะการ
           ป รั บ ป รุ ง วิ ธี ก า ร ส า ร ว จ
           ตรวจสอบ
       ๙. น า ผ ล ข อ ง ก า ร ส า ร ว จ                       -
           ตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและ
           องค์ ค ว าม รู้ ที่ ไ ด้ ไ ปส ร้ า ง
           ค า ถ า ม ใ ห ม่ น า ไ ป ใ ช้
           แก้ปัญหาในสถานการณ์ ใหม่
           และในชีวตจริ ง
                        ิ
       ๑๐. ตระหนัก ถึ ง ความส าคัญ ใน                         -
           ก า ร ที่ จ ะ ต้ อ ง มี ส่ ว น ร่ ว ม
           รับผิดชอบการอธิ บาย การลง
           ความเห็ น และการสรุ ปผล
           การเรี ย นรู้ วิท ยาศาสตร์ ที่
           นาเสนอต่ อ สาธารณชนด้ว ย
           ความถูกต้อง
       ๑๑. บัน ทึ ก และอธิ บ ายผลการ                          -
           ส า รว จต รว จ ส อ บอ ย่ า ง มี
           เหตุ ผ ล ใช้ พ ยานหลั ก ฐาน
           อ้า งอิ ง หรื อค้ น คว้า เพื่ อ เติ ม
           เพื่ อ หาห ลั ก ฐาน อ้ า งอิ ง ที่
           เชื่ อถื อได้ และยอมรั บ ว่ า
           ค ว า ม รู้ เ ดิ ม อ า จ มี ก า ร
           เปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีขอมูล     ้
ชั้น                  ตัวชี้วด
                             ั                   สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
          แ ล ะ ป ร ะ จั ก ษ์ พ ย า น ใ ห ม่
          เพิ่ ม เติ ม หรื อ โต้แ ย้ง จากเดิ ม
          ซึ่ งท้าทายให้มีการตรวจสอบ
          อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่
          การยอมรับเป็ นความรู ้ใหม่
       ๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน                         -
          และ/หรื ออธิ บายเกี่ ย วกั บ
          แนวคิด กระบวนการ และผล
          ของโครงงานหรื อชิ้ นงานให้
          ผูอื่นเข้าใจ
              ้

More Related Content

What's hot

Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Pongtep Treeone
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
peter dontoom
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 

What's hot (20)

รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Viewers also liked

โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
Weerachat Martluplao
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
Weerachat Martluplao
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
zeenwine
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
kasetpcc
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
Rattana Wongphu-nga
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
Preeyaporn Wannamanee
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (9)

โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผงตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
ตัวอย่างโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยสรุป เรื่องหัวบุกผง
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม

โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
Lao-puphan Pipatsak
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
Alatreon Deathqz
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
pentanino
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
Suhaiming Lotanyong
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
ptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
ptrnan
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
Pattaraporn Khantha
 

Similar to โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม (20)

โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
รายงานผลการปฏิบัติงาน Thailand go green
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
งานคอมม
งานคอมมงานคอมม
งานคอมม
 
งานคอมม
งานคอมมงานคอมม
งานคอมม
 
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
โครงการทัศนศึกษาวันวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ แท้
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 

More from Weerachat Martluplao

ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
Weerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 

More from Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 

โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม

  • 1. แบบเสนอโครงการ โรงเรียนซับบอนวิทยาคม ประจาปี งบประมาณ 2555 1. ชื่องาน/โครงการ โครงงานสารวจและปฏิบติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ั 2. ลักษณะกิจกรรม ลักษณะงาน/กิจกรรม ( ) ต่อเนื่อง ( / ) ใหม่ สนองมาตรฐาน การเรี ยนรู้ สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชี วต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน ิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชี วตและสิ่ งแวดล้อม มี ิ กระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ ไปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้ ่ การแก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน ่ สามารถอธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ ้ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ั สนองมาตรฐาน สพฐ. มาตรฐาน ( / ) ด้านคุณภาพผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ มาตรฐาน ( / ) ด้านการเรี ยนการสอน มาตรฐานที่ มาตรฐาน ( / ) ด้านผูบริ หารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ้ มาตรฐาน ( / ) ด้านพัฒนาชุมชนแห่งการเรี ยนรู ้ มาตรฐานที่ 3. ความสาคัญ หลักการและเหตุผล สภาพและปัญหาการความสิ้ นเปลืองงบประมาณของโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคมซึ่ งเกิดจากหลาย สาเหตุ จากค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้ าและน้ าประมาณเดือนละ 14,000 บาทต่อเดือน เพิ่มเป็ น 24000 บาทต่อ เดือน ซึ่ งเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จึงนาสภาพและปัญหาความสิ้ นเปลืองพลังงานนี้มาจัดทาโครงการ โครงงาน สารวจและปฏิบติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ประกอบการเรี ยนการสอนวิชา ั วิทยาศาสตร์ ในรู ปแบบโครงงานสารวจและปฏิบติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ั
  • 2. 4. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพปั ญหาความสิ้ นเปลืองพลังงานของโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม 2.เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนโครงงานกลุ่มสาระการเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ดวยวิธีการสื บเสาะ ิ ้ 3.เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้แก่นกเรี ยนให้ได้ท้ งความรู ้ ทักษะ กระบวนการและเจตคติ ทาง ั ั วิทยาศาสตร์ 4.เพื่อนาผลของการศึกษามาใช้ในการแก้ไขปั ญหาความสิ้ นเปลืองพลังงานพลังงานของโรงเรี ยน ซับบอนวิทยาคม โดยเน้นการมีส่วนร่ วมของนักเรี ยน ครู ผูบริ หารและบุคลากรในโรงเรี ยน ้ 5.ส่ งเสริ มให้นกเรี ยนได้รวบรวม จัดเก็บและนาเสนอผลงานการศึกษาค้นคว้า โดยใช้ ICT ั 5. เปาหมาย ้ 5.1 ด้านปริ มาณ 1. นักเรี ยนทุกระดับชั้นได้รับการพัฒนาการเรี ยนรู ้ร้อยละ 100 2. สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของโรงเรี ยนลงร้อยละ 20-30 3.สามารถปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ขาดประสิ ทธิภาพได้ ร้อยละ 80 5.2 ด้านคุณภาพ 1. นักเรี ยนสื บเสาะสารวจสภาพและปั ญหา รวมถึงสาเหตุของความสิ้ นเปลืองพลังงานใน โรงเรี ยน 2.นักเรี ยนสามารถวิเคราะห์ แยกแยะ สาเหตุของความสิ้ นเปลืองพลังงานในโรงเรี ยน 3.นักเรี ยนสามารถสังเคราะห์ขอมูลที่ได้สร้างองค์ความรู ้ใหม่ เสนอแนวทางการแก้ไขปั ญหา ้ ความสิ้ นเปลืองพลังงานในโรงเรี ยน โครงงานที่จดการเรี ยนการสอนสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้จริ ง ั 4.นักเรี ยนสามารถเผยแพร่ ความรู ้ของตนเองโดยใช้ส่ื อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม 5.พลังงานในโรงเรี ยนถูกนามาใช้อย่างประหยัด คุมค่าและมีประสิ ทธิภาพ ้
  • 3. 6. วิธีดาเนินการ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 1. โครงงานสารวจและ ตลอดภาคเรี ยน 20,000 บาท ครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ปฏิบติการ การประหยัด ั วิทยาศาสตร์ พลังงาน โรงเรี ยนซับบอน วิทยาคม 2. กิจกรรมนาเสนอผลงานการ ค้นคว้า โดยนาเสนอ ด้วย คลิป วีดีโอ นาเสนอหน้าเสาธง นาเสนอด้วยระบบเสี ยงตามสาย นาเสนอด้วยเว็บบล็อก นาเสนอ และเผยแพร่ ดวย Facebook.com ้ นาเสนอและเผยแพร่ ดวย ้ Powerpoint นาเสนอและ เผยแพร่ บอร์ ด 3. กิจกรรมลงมือปฏิบติ แก้ไข ั ปั ญหาความสิ้ นเปลืองพลังงาน 4. กิจกรรมตรวจเช็คเฝ้ าระวัง 7. งบประมาณ งบประมาณทั้งหมด 20,000 บาท 8. ผู้รับผิดชอบโครงการ/ผู้เกี่ยวข้ อง บทบาท/หน้าที่ รายละเอียดบทบาท ชื่อผูเ้ กี่ยวข้อง ผูจดทาโครงการ ้ั 1. หัวหน้าโครงการ นายชานาญ คามี 2. รองหัวหน้าโครงการ นางจารัส เพชรภักดี 3. จัดทารายละเอียดโครงการ นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา 4.ประสานงานโครงการ นางสาวนุจริ นทร์ เทพจันทร์ 5.ประเมินโครงการ นายชนาธิ ปัตย์ เจริ ญศักดิ์ เจ้าหน้าที่พสดุ ั 1. จัดซื้ อตามระเบียบของทาง นางสาวนิตยา ชาตินนท์ ั ราชการ เจ้าหน้าที่การเงิน 2. เบิกจ่ายงบประมาณ นางอาภาพร บุญเติม
  • 4. 9. การติดตามประเมินผล ตัวชี้วดความสาเร็ จ ั เกณฑ์ความสาเร็ จ เครื่ องมือประเมิน 1. นักเรี ยนทุกระดับชั้นได้รับการ 100 แบบประเมินโครงการ/กิจกรรม พัฒนาการเรี ยนรู้ร้อยละ 100 2. ครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ ิ 100 สามารถพัฒนานักเรี ยนได้ร้อยละ 100 10. ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ ี่ 1. ได้พฒนาการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทยาศาสตร์ ั ิ 2. ได้ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้แก่นกเรี ยนให้ได้ท้ งความรู ้ ทักษะกระบวนการและเจตคติ ั ั 3. ได้จดการเรี ยนการสอนโครงงานโดยใช้ดวยวิธีการสื บเสาะ ั ้ 4.สามารถนาผลการศึกษาโครงงานมาปฏิบติเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของโรงเรี ยน ั 5.ได้แหล่งเรี ยนรู ้จากการศึกษาโครงงานและเผยแพร่ ผลการเรี ยนรู ้ 11. มีโครงการอืนทีสัมพันธ์ กับโครงการนี้ ่ ่ ลงชื่อ...............................................ผูเ้ สนอโครงการ (นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา) ครู ผช่วย ู้ ลงชื่อ..............................................ผูเ้ ห็นชอบ (นายชานาญ คามี) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้วชาวิทยาศาสตร์ ิ ความเห็นรองผูอานวยการ ้ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................... (นายคาภาสน์ บุญเติม) รองผูอานวยการโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ้ ............../......................./...................
  • 5. ความเห็นผูอานวยการ้ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ( ) อนุ มติ ั ( ) ไม่อนุมติ ั ( ) อื่นๆ................................. ลงชื่อ............................................. (นายอุทิศ ฉัตรแก้ว) ผูอานวยการโรงเรี ยนซับบอนวิทยาคม ้ ............../......................./...................
  • 6. สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชี วต การเปลี่ยนรู ปพลังงาน ิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชี วตและสิ่ งแวดล้อม มี ิ กระบวน การสื บเสาะหาความรู ้ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ป. ๑ - - ป.๒ ๑. ทดลองและอธิ บายได้ว่าไฟฟ้ า - ไฟฟ้ าจากเซลล์ ไ ฟฟ้ าหรื อแบตเตอรี่ เป็ นพลังงาน สามารถทางานได้ ไฟฟ้ าจึงเป็ นพลังงาน ๒. ส า ร ว จ แ ล ะ ย ก ตั ว อ ย่ า ง - พลังงานไฟฟ้ าเปลี่ ยนเป็ นพลังงานอื่ นได้ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าในบ้านที่เปลี่ยน ซึ่งตรวจสอบได้จากเครื่ องใช้ไฟฟ้ าในบ้าน พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานอื่น เช่น พัดลม หม้อหุงข้าวไฟฟ้ า ป.๓ ๑. บอกแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ - การผลิ ต ไฟฟ้ าใช้ พ ลั ง งานจากแหล่ ง ใช้ผลิตไฟฟ้ า พลังงานธรรมชาติ ซึ่ งบางแหล่งเป็ นแหล่ง พลั ง งานที่ มี จ ากั ด เช่ น น้ ามั น แก๊ ส ธรรมชาติ บางแหล่ งเป็ นแหล่ งพลังงานที่ หมุนเวียน เช่น น้ า ลม ๒. อ ธิ บ า ย ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง - พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ พลั ง ง า นไ ฟฟ้ าแ ล ะ เ ส น อ ชี วิตประจาวัน เช่ น เป็ นแหล่ งกาเนิ ดแสง วิธี การใช้ไ ฟฟ้ าอย่า งประหยัด สว่าง จึงต้องใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยัด เช่ น และปลอดภัย ปิ ดไฟเมื่อไม่ใช้งาน รวมทั้งใช้ไฟฟ้ าอย่าง ปลอดภัย เช่ น เลื อกใช้อุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ มี มาตรฐาน ป.๔ ๑. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่ - แสงเคลื่ อนที่ จากแหล่ ง ก าเนิ ดทุ ก ทิ ศ ทาง ของแสงจากแหล่งกาเนิ ด และเคลื่อนที่เป็ นแนวตรง ๒. ทดลองและอธิบายการสะท้อน - แสงตกกระทบวัตถุจะเกิดการสะท้อนของ ของแสงที่ตกกระทบวัตถุ แสงโดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน ๓. ทดลองและจาแนกวัตถุตาม - เมื่อแสงกระทบวัตถุต่างกัน จะผ่านวัตถุแต่ ลักษณะการมองเห็นจาก ละชนิ ดได้ ต่ า งกั น ท าให้ จ าแนกวั ต ถุ แหล่งกาเนิดแสง ออกเป็ นตัวกลางโปร่ ง ใส ตัวกลางโปร่ ง แสงและวัตถุทึบแสง ๔. ทดลองและอธิบายการหักเห - เมื่ อแสงเคลื่ อนที่ ผ่านตัวกลางที่ต่างชนิ ดกัน
  • 7. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ของแสงเมื่อผ่านตัวกลาง ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเปลี่ยน เรี ยกการ โปร่ งใสสองชนิ ด หักเหของแสง ๕. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยน - เซลล์สุริยะเป็ นอุปกรณ์ ที่เปลี่ ยนพลังงาน แสงเป็ นพลังงานไฟฟ้ าและนา แสงเป็ นพลัง งานไฟฟ้ า อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ความรู้ไปใช้ประโยชน์ หลายชนิ ดมี เซลล์สุ ริยะเป็ นส่ วนประกอบ เช่น เครื่ องคิดเลข ๖. ทดลองและอธิบายแสงขาว - แสงขาวผ่านปริ ซึมจะเกิ ดการกระจายของ ประกอบด้วยแสงสี ต่าง ๆ และ แสงเป็ นแสงสี ต่ า ง ๆ น าไปใช้ อ ธิ บ าย นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น การเกิดสี รุ้ง ป.๕ ๑. ทดลองและอธิ บายการเกิดเสี ยง - เสี ยงเกิ ดจากการสั่นของแหล่งกาเนิ ดเสี ยง และการเคลื่อนที่ของเสี ยง และเสี ยงเคลื่อนที่จากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงทุก ทิศทางโดยอาศัยตัวกลาง ๒. ทดลองและอธิ บายการเกิดเสี ยง - แหล่งกาเนิ ดเสี ยงสั่นด้วยความถี่ ต่ าจะเกิ ด สู ง เสี ยงต่า เสี ยงต่า แต่ถาสั่นด้วยความถี่สูงจะเกิดเสี ยง ้ สู ง ๓. ทดลองและอธิบายเสี ยงดัง - แหล่ งกาเนิ ดเสี ยงสั่นด้วยพลังงานมากจะ เสี ยงค่อย ทาให้เกิ ดเสี ยงดัง แต่ถาแหล่งกาเนิ ดเสี ยง ้ สั่นด้วยพลังงานน้อยจะเกิดเสี ยงค่อย ๔. สารวจและอภิปรายอันตรายที่ - เสี ยงดังมาก ๆ จะเป็ นอันตรายต่อการได้ยิน เกิดขึ้นเมื่อฟังเสี ยงดังมาก ๆ และเสี ยงที่ ก่ อให้ เกิ ดความร าคาญ เรี ยกว่ า มลพิษทางเสี ยง ป.๖ ๑. ทดลองและอธิ บายการต่อ - ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า อ ย่ า ง ง่ า ย ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย วงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า อุปกรณ์ไฟฟ้ า ๒. ทดลองและอธิ บายตัวนาไฟฟ้ า - วัสดุท่ีกระแสไฟฟ้ าผ่านได้เป็ นตัวนาไฟฟ้ า และฉนวนไฟฟ้ า ถ้ากระแสไฟฟ้ าผ่านไม่ได้เป็ นฉนวนไฟฟ้ า ๓. ทดลองและอธิบายการต่อ - เซลล์ ไ ฟฟ้ าหลายเซลล์ ต่ อ เรี ย งกัน โดย เซลล์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม และ ขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์หนึ่ งต่อกับขั้ว นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ลบของอี ก เซลล์ ห นึ่ งเป็ นการต่ อ แบบ อนุ กรม ทาให้มีกระแสไฟฟ้ าผ่านอุปกรณ์ ไฟฟ้ าในวงจรเพิ่มขึ้น
  • 8. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง - การต่ อ เซลล์ ไ ฟฟ้ าแบบอนุ ก รมสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ในชี วิตประจาวัน เช่ น การต่อเซลล์ไฟฟ้ าในไฟฉาย ๔. ทดลองและอธิ บายการต่อ - การต่ อ หลอดไฟฟ้ าแบบอนุ ก รม จะมี หลอดไฟฟ้ าทั้งแบบอนุกรม กระแสไฟฟ้ าปริ มาณเดี ย วกันผ่ า นหลอด แบบขนาน และนาความรู้ไป ไฟฟ้ าแต่ละหลอด ใช้ประโยชน์ - การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน กระแสไฟฟ้ าจะแยกผ่านหลอดไฟฟ้ าแต่ละ หลอด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ เช่น การต่อหลอดไฟฟ้ าหลายดวงในบ้าน ๕. ทดลองและอธิ บายการเกิด - สายไฟที่มีกระแสไฟฟ้ าผ่านจะเกิดสนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มี รอบสายไฟ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ กระแสไฟฟ้ าผ่าน และนา เช่น การทาแม่เหล็กไฟฟ้ า ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ม. ๑ ๑. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิและ - การวัดอุณหภูมิเป็ นการวัดระดับความร้อน การวัดอุณหภูมิ ของสาร สามารถวัดด้วยเทอร์มอมิเตอร์ ๒. สังเกตและอธิ บายการถ่ายโอน - การถ่ายโอนความร้ อนมีสามวิธี คือ การนา ความร้อน และนาความรู้ไปใช้ ความร้อน การพาความร้อนและการแผ่รังสี ประโยชน์ ความร้อน - การน าความร้ อ น เป็ นการถ่ า ยโอนความ ร้อนโดยการสั่นของโมเลกุล - การพาความร้ อ น เป็ นการถ่ า ยโอนความ ร้อนโดยโมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปด้วย - การแผ่ รั ง สี ค วามร้ อ น เป็ นการถ่ า ยโอน ความร้อนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า - การนาความรู ้เรื่ องการถ่ายโอนความร้อนไป ใช้ประโยชน์ ๓. อธิบายการดูดกลืน การคาย - วัต ถุ ที่ แ ตกต่ า งกัน มี ส มบัติ ใ นการดู ดกลื น ความร้อน โดยการแผ่รังสี และ ความร้อนและคายความร้อนได้ต่างกัน นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ - การนาความรู้เรื่ องการดูดกลืนความร้อน และการคายความร้อนไปใช้ประโยชน์
  • 9. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๔. อธิบายสมดุลความร้อนและผล ่ - เมื่อวัตถุ สองสิ่ งอยูในสมดุ ลความร้ อน วัตถุ ของความร้อนต่อการขยายตัว ทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน ของสาร และนาความรู้ไปใช้ - การขยายตัวของวัตถุเป็ นผลจากความร้อนที่ ในชีวตประจาวัน ิ วัตถุได้รับเพิ่มขึ้น - การนาความรู้เรื่ องการขยายตัวของวัตถุเมื่อ ได้รับความร้อนไปใช้ประโยชน์ ม.๒ ๑. ทดลองและอธิ บายการสะท้อน - เมื่อแสงตกกระทบผิววัตถุหรื อตัวกลางอีก ของแสง การหั ก เหของแสง ตัว กลางหนึ่ ง แสงจะเปลี่ ย นทิ ศ ทางการ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เคลื่อนที่โดยการสะท้อนของแสง หรื อการ หักเหของแสง - การนาความรู ้ เกี่ ยวกับการสะท้อนของแสง และการหักเหของแสงไปใช้อธิ บายแว่นตา ทัศนอุปกรณ์ กระจก เส้นใยนาแสง ๒. อธิ บายผลของความสว่างที่มีต่อ - นัย น์ ตาของคนเราเป็ นอวัย วะใช้ม องดู สิ่ ง มนุษย์และสิ่ งมีชีวตอื่น ๆ ิ ต่างๆ นัยน์ตามีองค์ประกอบสาคัญหลายอย่าง - ความสว่า งมี ผ ลต่ อนัย น์ตามนุ ษย์ จึ ง มี ก าร นาความรู ้ เกี่ยวกับความสว่างมาช่ วยในการ จัดความสว่างให้เหมาะสมกับการทางาน - ออกแบบวิธีการตรวจสอบว่าความสว่างมี ผลต่อสิ่ งมีชีวตอื่น ิ ๓. ทดลองและอธิ บายการดูดกลืน - เมื่อแสงตกกระทบวัตถุ วัตถุจะดูดกลืนแสง แสงสี การมองเห็นสี ของวัตถุ สี บางสี ไว้ และสะท้อนแสงสี ที่เหลือออกมา และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ทาให้เรามองเห็นวัตถุเป็ นสี ต่าง ๆ - การนาความรู ้เกี่ยวกับการดูดกลืนแสงสี การ มองเห็นสี ของวัตถุไปใช้ประโยชน์ในการ ถ่ายรู ปและในการแสดง ม.๓ ๑. อธิ บายงาน พลังงานจลน์ พลังงาน - การให้งานแก่วตถุเป็ นการถ่ายโอนพลังงาน ั ศัก ย์โ น้ม ถ่ วง กฎการอนุ รั ก ษ์ ให้ ว ัต ถุ พลั ง งานนี้ เป็ นพลั ง งานกลซึ่ ง พลัง งาน และความสั ม พัน ธ์ ประกอบด้วยพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ ระหว่างปริ มาณเหล่านี้ รวมทั้ง พลังงานจลน์เป็ นพลังงานของวัตถุขณะวัตถุ
  • 10. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เคลื่อนที่ ส่ วนพลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ ่ เป็ นพลังงานของวัตถุที่อยูสูงจากพื้นโลก - กฎการอนุรักษ์พลังงานกล่าวว่า พลังงานรวม ของวัตถุ ไม่สูญหาย แต่สามารถเปลี่ ยนจาก รู ปหนึ่งไปเป็ นอีกรู ปหนึ่งได้ - การนากฎการอนุ รักษ์พลังงานไปใช้ประโยชน์ ในการอธิ บายปรากฏการณ์ เช่ น พลังงานน้ า เหนื อเขื่อนเปลี่ ยนรู ปจากพลังงานศักย์โน้มถ่ วง เป็ นพลังงานจลน์, ปั้ นจันตอกเสาเข็ม ่ ๒. ทดลองและอธิ บ ายความสั ม พัน ธ์ - ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้ าและความต้านทาน ระหว่ างความต่ างศักย์ กระแสไฟฟ้ า ั มีความสัมพันธ์กนตามกฎของโอห์ม ความต้านทาน และนาความรู้ ไป - การนากฎของโอห์มไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้ า ใช้ประโยชน์ อย่างง่าย ๓. ค านวณพลั ง งานไฟฟ้ าของ - การค านวณพลัง งานไฟฟ้ าของเครื่ อ งใช้ไ ฟฟ้ า เครื่ องใช้ไ ฟฟ้ า และนาความรู้ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการคิ ดค่ า ไฟฟ้ าและเป็ น ไปใช้ประโยชน์ แนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้ าในบ้าน ๔. สั ง เกตและอภิ ป รายการต่ อ - การต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้านต้องออกแบบวงจร ติดตั้ง วงจรไฟฟ้ าในบ้านอย่างถูกต้อง เครื่ องใช้ไฟฟ้ า อุ ปกรณ์ ไฟฟ้ าอย่างถู กต้อง โดย ปลอดภัย และประหยัด การต่อสวิตช์แบบอนุ กรม ต่อเต้ารั บแบบขนาน และเพื่อความปลอดภัยต้องต่อสายดิ นและฟิ วส์ รวมทั้งต้องคานึงถึงการใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยัด ๕. อธิ บายตั ว ต้ า นทาน ไดโอด - ชิ้ นส่ วนอิเล็กทรอนิ กส์ เช่ น ตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิ ส เตอร์ และทดลองต่ อ ทรานซิ สเตอร์ มี สมบั ติ ทางไฟฟ้ าแตกต่ างกั น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ตัวต้านทานทาหน้าที่ จากัดกระแสไฟฟ้ าในวงจร ทรานซิสเตอร์ ไดโอดมี สมบัติให้กระแสไฟฟ้ าผ่านได้ทิ ศทาง เดี ยวและทรานซิ สเตอร์ ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์ปิด- เปิ ดวงจร - การประกอบวงจรอิ เล็ กทรอนิ กส์ เบื้ องต้นที่ มี ทรานซิสเตอร์ ๑ ตัวทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์ ม.๔-ม.๖ ๑. ทดลองและอธิ บายสมบัติของคลื่นกล - คลื่นกลมีสมบัติ การสะท้อน การหักเห การแทรก และอธิ บ ายความสั มพันธ์ ระหว่าง สอด และการเลี้ยวเบน
  • 11. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง อัตราเร็ ว ความถี่และความยาวคลื่น - อัตราเร็ ว ความถี่และความยาวคลื่นมี ั ความสัมพันธ์กนดังนี้ อัตราเร็ ว = ความถี่  ความยาวคลื่น ๒. อธิ บ ายการเกิ ดคลื่ น เสี ย งบี ต ส์ - คลื่ นเสี ยงเกิ ดจากการสั่นของแหล่งกาเนิ ด ของเสี ยง ความเข้ม เสี ยง เสี ยง ระดับความเข้มเสี ยง การได้ยิน - บี ต ส์ ข องเสี ยงเกิ ด จากคลื่ น เสี ยงจาก เสี ยง คุ ณ ภาพเสี ยง และน า แหล่ ง กาเนิ ดสองแหล่ งที่ มีความถี่ ต่างกัน ความรู้ไปใช้ประโยชน์ เล็ ก น้อ ย มารวมกัน ท าให้ ไ ด้ยิ นเสี ย งดัง ค่อยเป็ นจังหวะ - ความเข้ม เสี ย ง คื อ พลัง งานเสี ย งที่ ตกตั้ง ฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา - ระดับ ความเข้ม เสี ย งจะบอกความดัง ค่ อ ย ของเสี ยงที่ได้ยน ิ - เครื่ องดนตรี แต่ ล ะชนิ ดที่ ใ ช้ ต ั ว โน้ ต เดี ย วกั น จะให้ รู ปคลื่ น ที่ แ ตกต่ า งกั น เรี ยกว่ามีคุณภาพเสี ยงต่างกัน ๓. อภิ ป รายผลการสื บ ค้น ข้อ มู ล - มลพิษทางเสี ยงมีผลต่อสุ ขภาพของมนุ ษย์ เกี่ ยวกับมลพิษทางเสี ยงที่ มีต่อ ถ้าฟั งเสี ยงที่มีระดับความเข้มเสี ยงสู งกว่า สุ ขภาพของมนุ ษ ย์ และการ มาตรฐานเป็ นเวลานาน อาจก่ อ ให้ เ กิ ด เสนอวิธีป้องกัน อันตรายต่อการได้ยินและสภาพจิ ตใจได้ การป้ องกันโดยการหลีกเลี่ยงหรื อใช้เครื่ อง ครอบหู ห รื อลดการสั่ นของแหล่ ง ก าเนิ ด เสี ยง เช่น เครื่ องจักร ๔. อธิ บ ายคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า - คลื่ นแม่ เหล็กไฟฟ้ าประกอบด้วยสนามแม่ เหล็ก สเปกตรั ม คลื่ นแม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า และสนามไฟฟ้ าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และน าเสนอผลการสื บค้ น สเปกตรั ม คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ ามี ค วามถี่ ข้อมู ล เกี่ ย วกับ ประโยชน์ และ ต่ อเนื่ องกัน โดยคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ าช่ ว ง การป้ องกัน อัน ตรายจากคลื่ น ความถี่ ต่ า งๆ มี ล ั ก ษณะเฉพาะตั ว ซึ่ ง แม่เหล็กไฟฟ้ า สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน เช่ น การรับส่ งวิทยุ โทรทัศน์ การป้ องกัน
  • 12. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง อันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เช่น ไม่อยู่ ใกล้เตาไมโครเวฟขณะเตาทางาน ๕. อธิ บ ายปฏิ กิ ริย านิ ว เคลี ย ร์ ฟิ ช - ปฏิ กิ ริ ยานิ ว เคลี ย ร์ เ ป็ นปฏิ กิ ริ ยาที่ ท าให้ ชัน ฟิ วชัน และความสัม พัน ธ์ นิ วเคลี ยสเกิ ดการเปลี่ ยนแปลง ปฏิ กิริยาที่ ระหว่างมวลกับพลังงาน นิ วเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลมากแตกตัว เรี ยกว่ า ฟิ ชชั น ปฏิ กิ ริ ยาที่ เ กิ ด จากการ หลอมรวมนิ วเคลี ย สของธาตุ ที่มีเลขมวล น้อย เรี ยกว่า ฟิ วชัน ความสัมพันธ์ระหว่าง มวลและพลั ง งานเป็ นไปตามสมการ E  mc2 ๖. สื บค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานที่ - ปฏิ กิริยานิ วเคลี ยร์ ทาให้เกิ ดผลกระทบต่อ ได้จ ากปฏิ กิ ริย านิ ว เคลี ย ร์ และ สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ ผ ล ต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ สิ่ งแวดล้อม ๗. อภิ ป รายผลการสื บ ค้น ข้อ มู ล - โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์ เป็ นโรงไฟฟ้ าพลังงาน เกี่ ย วกั บ โรงไฟฟ้ านิ ว เคลี ย ร์ ความร้ อ นประเภทหนึ่ ง ซึ่ งได้พ ลัง งาน และนาไปใช้ประโยชน์ ความร้อนจากพลังงานนิวเคลียร์ ๘. อธิบายชนิดและสมบัติของรังสี - รั ง สี จ ากธาตุ ก ัม มัน ตรั ง สี มี ๓ ชนิ ด คื อ ั จากธาตุกมมันตรังสี แอลฟา บีตาและแกมมา ซึ่ งมีอานาจทะลุ ผ่านต่างกัน ๙. อธิ บายการเกิดกัมมันตภาพรังสี - กั ม มั น ตภาพรั ง สี เกิ ด จากการสลายของ และบอกวิธีการตรวจสอบรังสี ไอโซโทปของธาตุ ที่ ไ ม่ เ สถี ย ร สามารถ ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ก า ร ใ ช้ ตรวจจั บ ได้ โ ดยเครื่ องตรวจวัด รั ง สี ใน ป ร ะ โ ย ช น์ ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ธรรมชาติมีรังสี แต่ส่วนใหญ่อยูในระดับต่า ่ สิ่ งมีชีวตและสิ่ งแวดล้อม ิ มาก - รั ง สี มี ป ระโยชน์ ใ นด้ า นอุ ต สาหกรรม การเกษตร การแพทย์ โบราณคดี รั งสี ใน ระดับสู งมีอนตรายต่อสิ่ งมีชีวต ั ิ
  • 13. สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสื บเสาะหาความรู้ การ ่ แก้ปัญหา รู ้วาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่ วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ ่ อธิ บายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเครื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า ้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่ งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ั ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ป. ๑ ๑. ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่จะ - ศึกษาตามที่กาหนดให้หรื อ ตาม ความสนใจ ๒. วางแผนการสังเกต สารวจ - ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดย ใช้ความคิดของตนเองและ ของครู ๓. ใช้วสดุอุปกรณ์ในการสารวจ ั - ตรวจสอบ และบันทึกผลด้วย วิธีง่ายๆ ๔. จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการ - สารวจตรวจสอบและนาเสนอผล ๕. แสดงความคิดเห็นในการ - สารวจ ตรวจสอบ ๖. บันทึกและอธิบายผลการ - สังเกต สารวจตรวจสอบ โดย เขียนภาพหรื อข้อความสั้นๆ ๗. นาเสนอผลงานด้วยวาจาให้ - ผูอื่นเข้าใจ ้ ป.๒ ๑. ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่จะ - ศึกษา ตามที่กาหนดให้และ ตามความสนใจ ๒. วางแผนการสังเกต สารวจ - ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดย
  • 14. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ใช้ความคิดของตนเองของ กลุ่มและของครู ๓. ใช้วสดุอุปกรณ์ เครื่ องมือที่ ั - เหมาะสมในการสารวจ ตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล ๔. จัดกลุ่มข้อมูล เปรี ยบเทียบ - และนาเสนอผล ๕. ตั้งคาถามใหม่จากผลการ - สารวจตรวจสอบ ๖. แสดงความคิดเห็นเป็ นกลุ่ม - และรวบรวมเป็ นความรู้ ๗. บันทึกและอธิบายผลการ - สังเกต สารวจ ตรวจสอบ อย่างตรงไปตรงมา โดยเขียน ภาพ แผนภาพหรื อคาอธิบาย ๘. นาเสนอผลงานด้วยวาจาให้ - ผูอื่น เข้าใจกระบวนการและ ้ ผลของงาน ป.๓ ๑. ตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่ องที่จะ - ศึกษา ตามที่กาหนดให้และ ตามความสนใจ ๒. วางแผนการสังเกต เสนอวิธี - สารวจตรวจสอบ ศึกษา ค้นคว้า โดยใช้ความคิดของ ตนเอง ของกลุ่มและ คาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการ สารวจ ตรวจสอบ ๓. เลือกใช้วสดุอุปกรณ์ ั - เครื่ องมือที่เหมาะสมในการ สารวจตรวจสอบ และบันทึก
  • 15. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ข้อมูล ๔. จัดกลุ่มข้อมูล เปรี ยบเทียบกับ - สิ่ งที่คาดการณ์ไว้และ นาเสนอผล ๕. ตั้งคาถามใหม่จากผลการ - สารวจตรวจสอบ ๖. แสดงความคิดเห็นและ - รวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม นาไปสู่ การสร้างความรู ้ ๗. บันทึกและ อธิบายผลการ - สังเกต สารวจตรวจสอบตาม ความเป็ นจริ ง มีแผนภาพ ประกอบคาอธิบาย ๘. นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย - อธิบายด้วยวาจา และเขียน แสดงกระบวนการและผล ของงานให้ ผูอื่นเข้าใจ ้ ป.๔ ๑. ตั้ง ค าถามเกี่ ย วกั บ ประเด็ น - หรื อเรื่ อง หรื อสถานการณ์ ที่ จะศึกษา ตามที่กาหนดให้และ ตามความสนใจ ๒. วางแผนการสัง เกต เสนอวิธี - สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา ค้นคว้า และคาดการณ์สิ่งที่จะ พบจากการสารวจตรวจสอบ ๓. เลื อ กอุ ป กรณ์ ที่ ถู ก ต้อ ง - เหมาะสมในการสารวจ ตรวจสอบ ๔. บัน ทึ ก ข้อ มู ล ในเชิ ง ปริ ม าณ - นาเสนอ ผลสรุ ปผล
  • 16. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๕. สร้ างค าถามใหม่ เ พื่ อ การ - สารวจตรวจสอบ ต่อไป ๖. แสดงความคิ ดเห็ น และสรุ ป - สิ่ งที่ได้ เรี ยนรู้ ๗. บั น ทึ ก และอธิ บายผลการ - ส า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ อ ย่ า ง ตรงไปตรงมา ๘. นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย - อธิ บ ายด้ว ยวาจา หรื อเขี ย น อธิบายกระบวนการและผลของ งานให้ผอื่นเข้าใจ ู้ ป.๕ ๑. ตั้งคาถาม เกี่ ยวกับประเด็น - หรื อเรื่ อง หรื อสถานการณ์ ที่ จะศึกษา ตามที่กาหนดให้และ ตามความสนใจ ๒. วางแผนการสังเกต เสนอการ - สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา ค้นคว้า และคาดการณ์สิ่งที่จะ พบจากการสารวจตรวจสอบ ๓. เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสม - ในการสารวจ ตรวจสอบให้ ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้ ้ ๔. บัน ทึ ก ข้อ มู ล ในเชิ ง ปริ ม าณ - และคุ ณ ภาพ และตรวจสอบผล กับสิ่ งที่คาดการณ์ไว้ นาเสนอ ผลและข้อสรุ ป ๕. สร้ างค าถามใหม่ เ พื่ อ การ - สารวจตรวจสอบต่อไป ๖. แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ - อธิ บาย แล ะส รุ ปสิ่ งที่ ได้
  • 17. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง เรี ยนรู้ ๗. บันทึกและอธิบายผลการสารวจ - ตรวจสอบตามความเป็ นจริ ง มี การอ้างอิง ๘. น าเสนอ จัด แสดง ผลงาน - โดยอธิ บ ายด้ ว ยวาจา หรื อ เขียนอธิ บายแสดงระบวนการ และผลของงานให้ผอื่นเข้าใจ ู้ ป.๖ ๑. ตั้ง ค าถามเกี่ ย วกั บ ประเด็ น - หรื อเรื่ อง หรื อสถานการณ์ ที่ จะศึกษา ตามที่กาหนดให้และ ตามความสนใจ ๒. วางแผนการสังเกต เสนอการ - สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา ค้น คว้า คาดการณ์ สิ่ ง ที่ จ ะ พบจากการสารวจตรวจสอบ ๓. เลื อ กอุ ป กรณ์ และวิ ธี ก าร - ส ารวจตรวจสอบที่ ถู ก ต้อ ง เ ห ม า ะ ส ม ใ ห้ ไ ด้ ผ ล ที่ ครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๔. บัน ทึ ก ข้อ มู ล ในเชิ ง ปริ ม าณ - และคุ ณ ภาพ วิเ คราะห์ และ ต ร ว จ ส อ บ ผ ล กั บ สิ่ ง ที่ คาดการณ์ไว้ นาเสนอผลและ ข้อสรุ ป ๕. สร้ างค าถามใหม่ เ พื่ อ การ - สารวจ ตรวจสอบต่อไป ๖. แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ - อธิ บาย ลงความเห็นและสรุ ป สิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้
  • 18. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๘. บันทึกและอธิบายผลการสารวจ - ตรวจสอบตามความเป็ นจริ ง มี เหตุ ผ ล และมี ป ระจัก ษ์ พ ยาน อ้างอิง ๘. นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดย - อธิ บ ายด้ว ยวาจา และเขี ย น รายงานแสดงกระบวนการ และผลของงานให้ผอื่นเข้าใจู้ ม. ๑-ม.๓ ๑. ตั้ง ค าถามที่ ก าหนดประเด็ น - หรื อตัว แปรที่ ส าคัญ ในการ สารวจตรวจสอบ หรื อศึก ษา ค้น คว้า เรื่ อ งที่ ส นใจได้อ ย่า ง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๒. สร้ า งสมมติ ฐ านที่ ส ามารถ - ตรวจสอบได้และวางแผนการ สารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ๓. เลื อ กเทคนิ ค วิ ธี ก ารส ารวจ - ตรวจสอบทั้งเชิ งปริ มาณและ เชิ ง คุ ณภาพที่ ไ ด้ผลเที่ ย งตรง และปลอดภัย โดยใช้วสดุและ ั เครื่ องมือที่เหมาะสม ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูล - เชิงปริ มาณและคุณภาพ ๕. วิเ คราะห์ แ ละประเมิ น ความ - สอดคล้องของประจักษ์พยาน กับ ข้ อ สรุ ป ทั้ง ที่ ส นั บ สนุ น หรื อขั ด แย้ ง กั บ สมมติ ฐ าน และความผิดปกติ ข องข้อมู ล จากการสารวจตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจาลอง หรื อรู ปแบบ -
  • 19. ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ที่อธิ บายผลหรื อแสดงผลของ การสารวจตรวจสอบ ๗. สร้ า งค าถามที่ น าไปสู่ การ - ส ารวจตรวจสอบ ในเรื่ องที่ เกี่ ยวข้อง และนาความรู ้ ท่ี ไ ด้ ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรื อ อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ แ น ว คิ ด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ ู้ ๘. บั น ทึ ก และอธิ บายผลการ - สังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้ น คว้ า เพิ่ ม เติ ม จากแหล่ ง ความรู ้ ต่ า ง ๆ ให้ ไ ด้ข ้อ มู ล ที่ เชื่ อ ถื อ ได้ และยอมรั บ การ เปลี่ ย นแปลงความรู้ ที่ ค้นพบ เมื่ อ มี ข ้ อ มู ล และประจั ก ษ์ พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้ง จากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน - และ/หรื ออธิ บายเกี่ ย วกั บ แนวคิด กระบวนการ และผล ของโครงงานหรื อชิ้ นงานให้ ผูอื่นเข้าใจ ้ ม.๔-ม.๖ ๑. ่ ตั้งคาถามที่อยูบนพื้นฐานของ - ความรู้ แ ละความเข้า ใจทาง วิทยาศาสตร์ หรื อความสนใจ หรื อจากประเด็นที่ เกิ ดขึ้ นใน ขณะนั้ น ที่ ส ามารถท าการ ส ารวจตรวจสอบหรื อ ศึ ก ษา ค้ น คว้า ได้ อ ย่ า งครอบคลุ ม และเชื่อถือได้
  • 20. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ๒. สร้ า งสมมติ ฐ านที่ มี ท ฤษฎี - รองรับ หรื อคาดการณ์สิ่งที่จะ พบ หรื อสร้ า งแบบจ าลอง หรื อสร้างรู ปแบบ เพื่อนาไปสู่ การสารวจตรวจสอบ ๓. ค้นคว้า รวบรวมข้อมู ล ที่ ต้อ ง - พิจารณาปั จจัยหรื อ ตัวแปร ส าคัญ ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ ปั จ จัย อื่น ปั จจัยที่ควบคุมไม่ได้ และ จ านวนครั้ งของการส ารวจ ตรวจสอบ เพื่ อ ให้ไ ด้ผ ลที่ มี ความเชื่อมันอย่างเพียงพอ ่ ๔. เลือกวัสดุ เทคนิ ควิธี อุปกรณ์ - ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การ สารวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้ง ทางกว้า งและลึ ก ในเชิ ง ปริ มาณและคุณภาพ ๕. รวบรวมข้อมูลและบันทึกผล - การส ารวจตรวจสอบอย่ า ง เป็ นระบบถูกต้อง ครอบคลุ ม ทั้งในเชิ งปริ มาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็ นไป ได้ ความเหมาะสมหรื อความ ผิดพลาดของข้อมูล ๖. จัดกระทาข้อมูล โดยคานึ งถึง - การรายงานผลเชิ งตัวเลขที่ มี ร ะ ดั บ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ นาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิ ควิธี ที่เหมาะสม ๗. วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล แ ป ล - ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ
  • 21. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ประเมินความสอดคล้องของ ข้อสรุ ป หรื อสาระสาคัญ เพื่อ ตรวจสอบกับสมมติฐานที่ต้ งไว้ ั ๘. พิ จารณาความน่ า เชื่ อถื อของ - วิ ธี การและผลการส ารวจ ตรวจสอบ โดยใช้หลักความ คลาดเคลื่ อนของการวัดและ การสั ง เกต เสนอแนะการ ป รั บ ป รุ ง วิ ธี ก า ร ส า ร ว จ ตรวจสอบ ๙. น า ผ ล ข อ ง ก า ร ส า ร ว จ - ตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและ องค์ ค ว าม รู้ ที่ ไ ด้ ไ ปส ร้ า ง ค า ถ า ม ใ ห ม่ น า ไ ป ใ ช้ แก้ปัญหาในสถานการณ์ ใหม่ และในชีวตจริ ง ิ ๑๐. ตระหนัก ถึ ง ความส าคัญ ใน - ก า ร ที่ จ ะ ต้ อ ง มี ส่ ว น ร่ ว ม รับผิดชอบการอธิ บาย การลง ความเห็ น และการสรุ ปผล การเรี ย นรู้ วิท ยาศาสตร์ ที่ นาเสนอต่ อ สาธารณชนด้ว ย ความถูกต้อง ๑๑. บัน ทึ ก และอธิ บ ายผลการ - ส า รว จต รว จ ส อ บอ ย่ า ง มี เหตุ ผ ล ใช้ พ ยานหลั ก ฐาน อ้า งอิ ง หรื อค้ น คว้า เพื่ อ เติ ม เพื่ อ หาห ลั ก ฐาน อ้ า งอิ ง ที่ เชื่ อถื อได้ และยอมรั บ ว่ า ค ว า ม รู้ เ ดิ ม อ า จ มี ก า ร เปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีขอมูล ้
  • 22. ชั้น ตัวชี้วด ั สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง แ ล ะ ป ร ะ จั ก ษ์ พ ย า น ใ ห ม่ เพิ่ ม เติ ม หรื อ โต้แ ย้ง จากเดิ ม ซึ่ งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การยอมรับเป็ นความรู ้ใหม่ ๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน - และ/หรื ออธิ บายเกี่ ย วกั บ แนวคิด กระบวนการ และผล ของโครงงานหรื อชิ้ นงานให้ ผูอื่นเข้าใจ ้