SlideShare a Scribd company logo
รายงาน
การใช้สื่อบทเรียนออนไลน์
เรื่อง “Blogเรียนออนไลน์ General science by ครูพรเพ็ญ”
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
นางสาวพรเพ็ญ อินต๊ะ
ครู ชานาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา พะเยา
2
บทที่ 1
บทนา
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคตเพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้อง
กับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดารงชีวิตประจาวัน และในงานอาชีพต่าง ๆ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจน
ผลผลิตต่าง ๆ ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและในการทางาน ล้วนเป็นผลของ ความรู้
วิทยาศาสตร์ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยให้เกิดการ
พัฒนาเทคโนโลยีอย่างมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีก็ส่วนสาคัญมากที่จะให้มีการศึกษาค้นคว้า
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง วิทยาศาสตร์ทาให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็น
เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มี
ความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์
พยานที่ตรวจสอบได้วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ ซึ่งเป็นสังคมแห่งความรู้
(knowledge based society) ทุกคนจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนา ให้รู้วิทยาศาสตร์ (scientific
literacy for all) เพื่อที่จะมีความรู้ ความเข้าใจ โลกธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น
และนาความรู้ไปใช้อย่าง มีเหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรมความรู้วิทยาศาสตร์ไม่เพียงแต่นามาใช้ใน
การ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีแต่ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ การใช้ประโยชน์การ
ดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างสมดุลและยั่งยืนและที่
สาคัญอย่างยิ่งคือ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถ
แข่งขันกับนานา ประเทศและดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต เข้ามามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของเรามาก
ขึ้นนับตั้งแต่ตื่นขึ้นมาเราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์เน็ตกลายเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงชีวิต ในยุคที่
ข้อมูลข่าวสารมีความสาคัญ คนหันมาบริโภคข้อมูลข่าวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ตที่เปรียบเสมือนถนนสาหรับการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ เรายังต้องการเครื่องสาหรับที่จะ
สร้างเนื้อหาและข้อมูลต่างๆไว้รองรับการเข้าถึง ซึ่งนั่นก็คือเทคโนโลยีเว็บไซด์ ที่เป็นตัวกลางคอยให้
ข้อมูลต่างๆแก่ผู้ใช้โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเว็บไซด์ได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
มาก Wikipedia (www,2011) ได้แบ่งลักษณะการพัฒนาเทคโนโลยีได้เป็น 3 ยุค คือ
1. ยุคเว็บ 1.0 (2537 – 2547) เน้นการนาเสนอเนื้อหาให้กับผู้ใช้งานเพียงทางเดียว ไม่เปิด
โอกาสให้ผู้ใช้งานมีส่วนร่วมกับเนื้อหา ผู้พัฒนาเว็บไซด์จะเป็นผู้กาหนดเนื้อหาเพียงผู้เดียว และ
ความเร็วเฉลี่ยของอินเทอร์เน็ตในยุค 1.0 คือ 50 Kbps
2. ยุคเว็บ 2.0 (2547 – 2552) มีลักษณะการทางานของเว็บไซต์ที่เป็นเครือข่ายทางสังคม
(social network) เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานที่อยู่ในเครือข่ายหรือกลุ่มบุคคลที่มีความ
สนใจในเรื่องเดียวกัน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้งานทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการเนื้อหา มีการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน จึงก่อให้เกิดสังคมออนไลน์ทางความรู้ที่ประกอบไปด้วยองค์ความรู้
ใหม่ๆมากมาย มีคุณสมบัติที่เรียกว่า Rich Internet Application (RIA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทาให้เว็บ
ไซด์มีประสิทธิภาพการทางานเทียบเท่ากับแอพลิเคชั่นทั่วๆไป (Desktop Application) โดยมี
ลักษณะหน้าตา (User Interface) ที่สวยงามมากขึ้น ตัวอย่างเว็บไซต์ในยุค 2.0 ก็คือเว็บบล็อก
3
(Weblog) สารานุกรมออนไลน์ (Wiki) เป็นต้น โดยความเร็วเฉลี่ยของอินเทอร์เน็ตในยุคนี้คือ 1
Mbps
3. ยุคเว็บ 3.0 ( 2553 เป็นต้นไป) เป็นการพัฒนาเว็บไซด์ให้เหมือนมีความฉลาดเทียม
(Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรู้พฤติกรรมของผู้ใช้งานเว็บไซด์ได้ ใช้ข้อมูลบางส่วนเพื่อ
อธิบายความหมายของข้อมูลในส่วนใหญ่ (Tag) เว็บไซด์ในยุค 3.0 นั้นกล่าวไว้ว่าเป็นการพัฒนาต่อมา
จากยุคเว็บ 2.0 หลังจากเว็บไซด์กลายเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่ ดังนั้นเนื้อหาและข้อมูล
ต่างๆจึงมากขึ้นตามมาด้วย ก่อให้เกิดการพัฒนาเว็บไซด์ที่สามารถตอบสนองความต้องการในการ
บริโภคข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเรามีข้อมูลมากมายในเว็บไซด์จึงต้องเกิดการวิเคราะห์
และคัดแยกข้อมูลให้ตรงกับผู้ใช้งานต้องการมากที่สุด โดยตัวอย่างของลักษณะเว็บไซด์ในยุค 3.0 นั้นก็
คือ Sematic Web โดยความเร็วอินเทอร์เน็ตในยุคนี้คือ 2.0 Mbps
สืบเนื่องจากการที่ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาท
สาคัญต่อการดาเนินงาน ทั้งการบริหารและการจัดการของหน่วยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งจาเป็นที่ทุกหน่วยงานต้องจัดหามาใช้ในการดาเนินงาน
เพราะจะช่วยให้การบริหารงานและการจัดการทางการศึกษาเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว มี
ประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องมีความรู้ ความสามารถ
มีทักษะและมีความเข้าใจในกรวนการทางานการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต สามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในการบริหารการจัดการศึกษา และที่สาคัญคือการนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ได้เข้ามีบทบาทในการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆนับแต่เริ่มใช้เพื่อการศึกษา เช่น
การศึกษาการเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งยังได้
พัฒนาให้มีความสามารถในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer
Assisted Instruction : CAI) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) แต่ปัญหาของการใช้เครื่องมือดัง
กล่าวคือการไม่ได้ตอบรับจากนักเรียน ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝ่เรียนรู้ อีกทั้งนักเรียน
สามารถเข้าถึงสื่อเหล่านั้นได้ยาก เพราะเป็นสื่อที่ไม่สามารถใช้งานได้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ดังนั้นการพัฒนาสื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนในปัจจุบันจึงควรเป็นสื่อออนไลน์ที่นักเรียน
สามารถเข้าถึงและเรียนรู้ได้จากทุกหนทุกแห่งหรือทุกสถานที่ ซึ่งสื่อที่ได้รับความนิยมและนักเรียน
สามารถเข้าถึงได้ง่ายในปัจจุบันก็เป็นสื่อประเภท Social Media และเว็บไซด์ แต่การที่จะนาสื่อ
Social Media และสื่อออนไลน์ต่างๆมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้นั้น สิ่งสาคัญคือครูผู้สอน
จะต้องรู้และเข้าใจ และสามารถใช้สื่อเหล่านั้นได้เป็นอย่างดี สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อ
เผยแพร่ให้กับนักเรียนได้เรียนรู้ และต้องมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนอยู่เสมอๆ เช่นการตั้งประเด็นคาถาม
การตอบคาถามข้อสงสัย การติดตามผลงาน การให้คาแนะนาที่เหมาะสม นั่นคือจะต้องมีการพัฒนา
ครูให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนได้นั่นเอง
จากความสาคัญของ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้
ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทาการวิจัยเรื่องบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน
4
ปิโตรเลียม) เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของตนเอง
อีกทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพอีก
ด้วย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาระการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หิน
น้้ามัน ปิโตรเลียม)มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ใน
กิจกรรมการเรียนรู้ เนื่องจากการเรียนรู้ เรื่อง ดิน หิน แร่ มีเนื้อหาจานวนมากและต้องมีรูปภาพสี
หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งทรัพยากรบางอย่างไม่มีให้เห็นจริงชีวิตประจาวัน เพื่อให้เกิดเข้าใจมากขึ้น
และเพื่อสนองความต้องการของนักเรียน ได้ด้วยตนเองทุกเวลา การใช้สื่อออนไลน์จะช่วยการจัด
กิจกรรมการสอนเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากยิ่งขึ้น
ดังนั้น ผู้สอนจึงเลือกใช้สื่อบทเรียนออนไลน์มาจัดกิจกรรมการสอน สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพื่อให้
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
2.วัตถุประสงค์ของการจัดทาสื่อ
1. เพื่อความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อการจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว 22102 เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) โดยใช้สื่อ
บทเรียนออนไลน์
2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ว 22102 เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) โดยใช้สื่อบทเรียนออนไลน์
3. สมมติฐาน
1. บทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่องแร่เชื้อเพลิง
(ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน
ปิโตรเลียม)มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โดยใช้สื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) รายวิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดีหรือดีมาก
4. ขอบเขตของการพัฒนา
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
ปีการศึกษา 2563 จานวน 4 ห้อง
1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนฟากกว๊าน
วิทยาคม ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
5
2. เนื้อหา
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)
5. ตัวแปรที่ศึกษา
1.ตัวแปรอิสระ คือ บทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102)
เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)
2. ตัวแปรตาม คือ
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) สาระ
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)
2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชา
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)
6. นิยามศัพท์เฉพาะ
บทเรียนออนไลน์ (Online) หมายถึงบทเรียนเรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน
ปิโตรเลียม)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)ซึ่งจะประกอบไปด้วยเนื้อหาของ แร่เชื้อเพลิง
(ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)ทั้งหมด รวมถึงสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบวีดีโอที่เกี่ยวข้องกับ
เนื้อหาการเรียนรู้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
ความคิดเห็นต่อสื่อ หมายถึง ระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อข้อความที่
กาหนด แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีแหล่งเรียนรู้ http://pronpen.wordpress.com
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หิน
น้้ามัน ปิโตรเลียม)รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สูงขึ้น
3. นักเรียนที่มีเจตคติที่ดีต่อสื่อการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน โดยใช้สื่อบทเรียน
ออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
6
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่อง บทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่
เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนฟากกว๊าน
วิทยาคม จังหวัดพะเยา ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ โดยมีสาระสาคัญ
ตามลาดับหัวข้อดังนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนออนไลน์ (Online)
2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
3. การเรียนการสอนผ่านออนไลน์
4. ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
5. การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ
6. ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
7. การประเมินผลการเรียนการสอนผ่านเว็บ
8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนออนไลน์ (Online)
ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีการพัฒนา
เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีเทคโนโลยีต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อช่วยอานวยความสะดวก รวมทั้ง
ให้ความบันเทิง หรือแม้กระทั่งการเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย โดยที่ทุกคนทั่วโลกสามารถเป็นเพื่อกัน
พบปะพูดคุยกันได้ตลอดเวลา เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ต กับอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ เช่น คอมพิวเตอร์
หรือโทรศัพท์มือถือ ทาให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไม่จาเป็นที่จะต้องเดินทาง
ไปพบปะกันโดยตรง
ถ้าพูดถึงคาว่า Social Media หรือ Social Network ในปัจจุบัน หลายคนอาจจะสงสัยว่า
สิ่งเหล่านี้คืออะไร แต่ถ้าพูดถึง Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ เชื่อว่าหลายคนคงจะ
ปฏิเสธไม่ได้ที่จะไม่รู้จัก ยิ่งโดยเฉพาะในวัยรุ่นหรือเยาวชนที่อยู่ในระหว่างการศึกษาเล่าเรียน คงจะ
คุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ (Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ ) ที่ถูกเรียกว่า
Social Media หรือ Social Network ดังนั้นถ้าจะให้ความหมายของคาว่า Social Media หรือ
Social Network นั้น จะได้ว่า
Social Media หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว
ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้ว
นามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบน
โลกออนไลน์ ปัจจุบันการสื่อสารแบบนี้จะทาผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านั้น
Social Networkคือ การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทาง
หนึ่ง หากเป็นเว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็นเว็บ Social Network ก็คือเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกัน
นั่นเอง ( สถาบันคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2552 )
7
กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ( 2553 ) ได้กล่าวว่า ปัจจุบัน Social Media ได้กลายเป็นเครื่องมือ
ที่สาคัญในการสร้างให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้
เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก
โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อลิขสิทธิ์แต่อย่างใด ดังนั้น การนาเทคโนโลยี Social Media มาใช้เป็น
เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนจะเป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน
และสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ได้อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการ
เรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้สอนกับผู้สอน ผู้สอนกับผู้เรียน และ
ผู้เรียนกับผู้เรียน ที่มีการแบ่งปันความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการศึกษา
ตามอัธยาศัย ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2545 ที่
จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสาคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ( พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ, 2545 ) และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน2551 ที่มุ่งพัฒนาการเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ โดยให้เกิด
สมรรถนะสาคัญข้อที่ 5 คือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นความสามารถในการเลือกใช้
เทคโนโลยีต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ
เรียนรู้ การสื่อสาร การทางานและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม (
กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ) โดยการผู้เรียนจะสามารถก้าวสั่งคมการเรียนรู้ได้นั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่
จะต้องทีพื้นฐานที่เหมาะสม และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลายจะต้องช่วยกันสร่างพื้นฐาน ตลอดจนปัจจัยต่าง
ๆ ให้พร้อมที่จะสร้างสังคมแหล่งความรู้ขึ้นได้ พื้นฐานและปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยก้าวไปสู่
สังคมแห่งการเรียนรู้ได้ คือ ครู อาจารย์ และสังคมการศึกษา สถาบันการศึกษาจะต้องปรับปรุงการ
เรียนรู้ของครู อาจารย์ และส่งเสริมการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างนิสัยใน
ด้านการใฝ่รู้และรักความรู้ให้เกิดขึ้นกับเยาวชน ( ครรชิต มาลัยวงศ์และคณะ, 2544 )
จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่อินเตอร์เข้าถึงเกือบทุกพื้นที่ ทาให้เยาวชนไทยส่วนใหญ่สามารถ
เข้าสู่ระบบเครือข่ายสารสนเทศได้ สามารถสืบค้นข้อมูลผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี
ประกอบกับมีเครื่องมือจาพวก Social Media ออกมามากมาย ยิ่งเป็นการทาให้เยาวชนเข้าสู่ระบบ
ของโลกอินเตอร์เน็ตมากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากปัญหาที่ปรากฏทางหน้าจอโทรทัศน์เกี่ยวกับการใช้
งาน Social Media ที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม ซึ่งการจะแก้ปัญหาเหล่านี้ไม่ใช่การแก้โดยการปิด
กั้นไม่ให้เยาวชนเข้าสู่โลกอินเตอร์เน็ตไม่ให้เข้าถึงตัวเยาวชนได้นั่นเอง แต่ทางแก้ที่ดีและตรงกับปัญหา
มากที่สุดก็คือ การปลูกฝังและแนะนาให้เยาวชนใช้เครื่องมือ Social Media เหล่านี้ในทางที่
เหมาะสม เช่น ใช้ในเชิงการศึกษา ได้แก่ การสอบถามปัญหาการเรียนกับเพื่อนหรือครูผู้สอน การสรุป
ความรู้เก็บไว้บนเว็บส่วนตัว หรือเผยแพร่ความรู้ต่างๆ ตามความเข้าใจบนสื่อทางอินเตอร์เน็ต รวมทั้ง
การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถปลูกฝังได้โยผู้ปกครอง ครู/อาจารย์ รวมทั้ง
เพื่อนหรือคนรอบข้าง ยิ่งถ้าสังคมมีแนวโน้มที่ใช้ Social Media ในเชิงการศึกษามากขึ้นเท่าใด
เยาวชนทุกคนก็จะมีแนวโน้นที่จะคล้อยตามและปฏิบัติตามเป็นนิสัยและกิจวัตรมากขึ้น
8
2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
Wordpressหมายถึง โปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์
สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System)
เฟชบุ๊ก ( Facebook ) เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมสาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้
งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด
ในช่วงแรกนั้นเฟชบุ๊กเป็นให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวออกไป
สาหรับมหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสาหรับผู้ใช้
ทั่วไปทุกคนเหมือนในปัจจุบัน ( www, 2010 )
หลายท่านอาจจะสงสัยว่าเฟชบุ๊กนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร ซึ่งจะขอ
อธิบายว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media นั้น ไม่ได้หมายความว่าจะต้องใช้
Facebook เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียนการสอน แต่จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่เยาวชน
หรือนักเรียนส่วนใหญ่ สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้นั้น ทาให้หลายคนมีการใช้เฟชบุ๊กอยู่เป็นประจา
อยู่แล้ว ซึ่งจากปัญหาที่พบก็คือนักเรียนให้ความสนใจกับเฟชบุ๊กมากเกินไป เช่น ใช้ในการพูดคุยกับ
เพื่อน เล่มเกม แสดงความคิดเห็น หรือแสดงรูป และวีดีโอของตนเอง เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมต่างๆ
เหล่านี้เป็นกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์หากใช้เวลามากเกินไป หรืออาจเรียกได้ว่านักเรียนมีความ
หมกมุ่นกับสิ่งเหล่านี้มากเกินไป ความสนใจที่จะศึกษา ทบทวนบทเรียน จึงมีน้อยลงตามไปด้วย ดังนั้น
ถ้าครูผู้สอนสามารถใช้เครื่องมือเหล่านี้ เพื่อชักจูงให้นักเรียนใช้เฟชบุ๊กในเชิงที่สร้างสรรค์ เกิด
ประโยชน์ต่อตนเอง ในด้านการสร้างความรู้ พัฒนาสติปัญญา ก็จะเป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์อย่างยิ่ง
การใช้ Facebook ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ไม่ได้ใช้โดยตรง แต่จะใช้ในลักษณะของ
การติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียน การส่งงาน การบ้าน หรือการตอบปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ให้
นักเรียน อีกทั้งครูยังสามารถติดตามดูแลนักเรียนได้ เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือไม่ส่งงานตาม
กาหนดเวลา ซึ่งเป็นการกระตุ้นนักเรียนให้เกิดการเรียนรู้และป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีก
วิธีการหนึ่ง ซึ่งสามารถสรุปข้อดีและข้อจากัดของเฟชบุ๊กได้ดังนี้
ข้อดี
สามารถติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียนได้ตลอดเวลา
ช่วยให้ครูและนักเรียนสามารถพบปะ พูดคุย สอบถามปัญหาได้สะดวกมากขึ้น
ใช้ในการส่งงาน หรือส่งการบ้าน แสดงความคิดเห็น หรือทาแบบทดสอบได้
ข้อจากัด
นักเรียนและครูจาเป็นที่จะต้องมีอินเตอร์เน็ต
เปิดกว้างในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งต้องระมัดระวังในบางเรื่องหรือบางกรณี
การใช้เวลากับเฟชบุ๊กมากเกินไปอาจจะเกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมาได้
กติกา สายเสนีย์ ( 2552 ) ได้กล่าวว่าทวิตเตอร์ ( Twitter ) คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการ blog
9
สั้น หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า Micro-Blog ซึ่งสามาระให้ผู้ใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพื่อนๆ ที่
ติดตาม twitter ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตาม
เค้าอยู่ได้ ซึ่ง twitter ก็ถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ประเภท Social Mediaด้วยเช่นกัน
Slideshareและ Youtube
Slideshareและ Youtubeเป็นสื่อSocial Media อีกประเภทหนึ่งที่สามารถนาไปใช้
ประกอบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้ โดยการใช้งานร่วมกัน Blog นั่นก็คือ การนาเอกสาร
ต่างๆ ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ สไลด์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ฯลฯ จาก Slideshare มา
แสดงเป็นบทเรียนไว้ใน Blog หรือการนาวีดีโอที่น่าสนใจต่างๆ จาก Youtube มาแสดงไว้ใน Blog
เพื่อให้นักเรียนได้เข้ามาศึกษา แสดงความคิดเห็น หรือวิพากษ์วิจารณ์ จนเกิดเป็นข้อสรุปที่เป็นองค์
ความรู้ ความเข้าใจ ที่สร้างขึ้นด้วยตนเอง
3. การเรียนการสอนผ่านออนไลน์
การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ตมาออกแบบเพื่อใช้
ในการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ
เช่นการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based
Learning) เว็บฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training)
อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based
Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้
มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บเอาไว้หลายนิยามได้แก่
คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based
Instruction)ไว้ว่าเป็นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้
ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ตมาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
โดยส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้อย่างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกทาง
ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการใช้ทักษะ
หรือความรู้ต่างๆถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บเป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น
คาร์ลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นภาพที่
ชัดเจนของการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน
(Instructional Design) ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนาการศึกษาไปสู่ที่ด้อยโอกาสเป็นการ
จัดหาเครื่องมือใหม่ๆสาหรับส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มเครื่องมืออานวยความสะดวกที่ช่วยขจัดปัญหา
เรื่องสถานที่และเวลา
สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้เรียนภายในประเทศไทยการเรียนการสอนผ่านเว็บถือเป็น
รูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนที่เริ่มนาเข้ามาใช้ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการ
เรียนการสอนผ่านเว็บไว้ดังนี้
กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการ
เรียนการสอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร
หรือใช้เพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้รวมทั้งใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะ
10
ต่างๆของการสื่อสารที่มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่นการเขียนโต้ตอบกันทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
และการพูดคุยสดด้วยข้อความและเสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction)
เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบน
เว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและ
สนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของ
กระบวนการเรียนการสอนก็ได้
ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวก
คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียน
ในมิติที่ไม่มีขอบเขตจากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without
Boundary)
วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียน
บนเว็บเพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งผู้ออกแบบและสร้าง
โปรแกรมการสอนผ่านเว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถและบริการที่หลากหลายของอินเทอร์เน็ตและ
นาคุณสมบัติต่างๆเหล่านั้นมาใช้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนให้มากที่สุด
จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษาทั้งในต่างประเทศและภายใน
ประเทศไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการ
เรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ
มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด
เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือนามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช่วย
ขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานที่และเวลาอีกด้วย
4. ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาได้ในหลายลักษณะโดยแต่ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมี
วิธีการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บที่แตกต่างกันออกไปซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ดังต่อไปนี้
พาร์สัน(Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะคือ
1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือ
และแหล่งที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุดถ้าไม่มีการสื่อสารก็
สามารถที่จะไปผ่านระบบคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบ
วิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่เข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล
2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มี
ลักษณะเป็นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้
ทาบนเว็บ การกาหนดให้อ่านการสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่ง
ของแหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้
11
3. เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่
มีวัตถุดิบเครื่องมือซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุน
กิจกรรมทางการศึกษาซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความเป็น
ภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น
โดเฮอร์ตี้ (Doherty, 19100) แนะนาว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บ มีวิธีการใช้ใน 3 ลักษณะ
คือ
1. การนาเสนอ (Presentation) ในลักษณะของเว็บไซต์ที่ประกอบไปด้วยข้อความ
ภาพกราฟิกโดยมีวิธี การนาเสนอ คือ
1.1 การนาเสนอแบบสื่อเดี่ยว เช่น ข้อความ หรือ รูปภาพ
1.2 การนาเสนอแบบสื่อคู่ เช่น ข้อความกับรูปภาพ
1.3 การนาเสนอแบบมัลติมีเดีย คือ ประกอบด้วยข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง
2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องใช้ทุกวันในชีวิตซึ่งเป็น
ลักษณะสาคัญของอินเทอร์เน็ต โดยมีการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตหลายแบบ เช่น
2.1 การสื่อสารทางเดียว เช่น การดูข้อมูลจากเว็บเพจ
2.2 การสื่อสารสองทาง เช่น การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์โต้ตอบกัน
2.3 การสื่อสารแบบหนึ่งแหล่งไปหลายที่เป็นการส่งข้อความจากแหล่งเดียวแพร่กระจายไป
หลายแหล่ง เช่นการอภิปรายจากคนเดียวให้คนอื่นๆ ได้รับฟังด้วยหรือการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์
(Computer conferencing)
2.4 การสื่อสารหลายแหล่งไปสู่หลายแหล่ง เช่น การใช้กระบวนการกลุ่มในการสื่อสารบน
เว็บ โดยมีคนใช้หลายคนและคนรับหลายคนเช่นกัน
3. การทาให้เกิดความสัมพันธ์ (Dynamic Interaction) เป็นคุณลักษณะที่สาคัญของ
อินเทอร์เน็ตและสาคัญที่สุด ซึ่งมี 3 ลักษณะคือ
3.1 การสืบค้นข้อมูล
3.2 การหาวิธีการเข้าสู่เว็บ
3.3 การตอบสนองของมนุษย์ต่อการใช้เว็บ
นอกจากนี้ แฮนนัม (Hannum, 19100) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
ออกเป็น 4 ลักษณะ ใหญ่ๆ คือ
1. รูปแบบการเผยแพร่ รูปแบบนี้สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 ชนิด คือ
1.1 รูปแบบห้องสมุด (Library Model) เป็นรูปแบบที่ใช้ประโยชน์จากความสามารถในการ
เข้าไปยังแหล่งทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่หลากหลายโดยวิธีการจัดหาเนื้อหาให้ผู้เรียนผ่านการ
เชื่อมโยงไปยังแหล่งเสริมต่างๆเช่นสารานุกรม วารสาร หรือหนังสือออนไลน์ทั้งหลาย ซึ่งถือได้ว่าเป็น
การนาเอาลักษณะทางกายภาพของห้องสมุดที่มีทรัพยากรจานวนมหาศาลมาประยุกต์ใช้ ส่วน
ประกอบของรูปแบบนี้ ได้แก่ สารานุกรมออนไลน์ วารสารออนไลน์หนังสือออนไลน์ สารบัญการอ่าน
ออนไลน์ (Online Reading List) เว็บห้องสมุดเว็บงานวิจัย รวมทั้งการรวบรวมรายชื่อเว็บที่สัมพันธ์
กับวิชาต่างๆ
12
1.2 รูปแบบหนังสือเรียน (Textbook Model) การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการ
จัดเนื้อหาของหลักสูตรในลักษณะออนไลน์ให้แก่ผู้เรียน เช่น คาบรรยายสไลด์ นิยามคาศัพท์และส่วน
เสริมผู้สอนสามารถเตรียมเนื้อหาออนไลน์ที่ใช้เหมือนกับที่ใช้ในการเรียนในชั้นเรียนปกติและสามารถ
ทาสาเนาเอกสารให้กับผู้เรียนได้รูปแบบนี้ต่างจากรูปแบบห้องสมุดคือรูปแบบนี้จะเตรียมเนื้อหา
สาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะขณะที่รูปแบบห้องสมุดช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหาที่ต้องการจาก
การเชื่อมโยงที่ได้เตรียมเอาไว้ส่วนประกอบของรูปแบบหนังสือเรียนนี้ประกอบด้วยบันทึกของ
หลักสูตรบันทึกคาบรรยาย ข้อแนะนาของห้องเรียน สไลด์ที่นาเสนอ วิดีโอและภาพที่ใช้ในชั้นเรียน
เอกสารอื่นที่มีความสัมพันธ์กับชั้นเรียน เช่นประมวลรายวิชา รายชื่อในชั้นกฏเกณฑ์ข้อตกลงต่างๆ
ตารางการสอบและตัวอย่างการสอบครั้งที่แล้วความคาดหวังของชั้นเรียน งานที่มอบหมาย เป็นต้น
1.3 รูปแบบการสอนที่มีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Instruction Model) รูปแบบนี้จัดให้
ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับเนื้อหาที่ได้รับ โดยนาลักษณะของ
บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มาประยุกต์ใช้เป็นการสอนแบบออนไลน์ที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์
มีการให้คาแนะนา การปฏิบัติ การให้ผลย้อนกลับ รวมทั้งการให้สถานการณ์จาลอง
2. รูปแบบการสื่อสาร (Communication Model)
การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่อาศัยคอมพิวเตอร์มาเป็นสื่อเพื่อการสื่อสาร
(Computer - MediatedCommunications Model) ผู้เรียนสามารถที่จะสื่อสารกับผู้เรียนคนอื่นๆ
ผู้สอนหรือกับผู้เชี่ยวชาญได้โดยรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลายในอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้แก่ จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์กลุ่มอภิปรายการสนทนาและการอภิปรายและการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ เหมาะ
สาหรับการเรียนการสอนที่ต้องการส่งเสริมการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มีส่วนร่วมในการ
เรียนการสอน
3. รูปแบบผสม (Hybrid Model)
รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการนาเอารูปแบบ 2 ชนิด คือรูปแบบการ
เผยแพร่กับรูปแบบการสื่อสารมารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่นเว็บไซต์ที่รวมเอารูปแบบห้องสมุดกับรูปแบบ
หนังสือเรียนไว้ด้วยกันเว็บไซต์ที่รวบรวมเอาบันทึกของหลักสูตรรวมทั้งคาบรรยายไว้กับกลุ่มอภิปราย
หรือเว็บไซต์ที่รวมเอารายการแหล่งเสริมความรู้ต่างๆและความสามารถของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ไว้
ด้วยกันเป็นต้นรูปแบบนี้มีประโยชน์เป็นอย่างมากกับผู้เรียนเพราะผู้เรียนจะได้ใช้ประโยชน์ของ
ทรัพยากรที่มีในอินเทอร์เน็ตในลักษณะที่หลากหลาย
4. รูปแบบห้องเรียนเสมือน (Virtual classroom model)
รูปแบบห้องเรียนเสมือนเป็นการนาเอาลักษณะเด่นหลายๆประการของแต่ละรูปแบบที่กล่าว
มาแล้วข้างต้นมาใช้ ฮิลทซ์ (Hiltz, 1993) ได้นิยามว่าห้องเรียนเสมือนเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการ
สอนที่นาแหล่งทรัพยากรออนไลน์มาใช้ในลักษณะการเรียนการสอนแบบร่วมมือโดยการร่วมมือ
ระหว่างนักเรียนด้วยกัน นักเรียนกับผู้สอนชั้นเรียนกับสถาบันการศึกษาอื่น และกับชุมชนที่ไม่เป็นเชิง
วิชาการ (Khan, 1997) ส่วนเทอรอฟฟ์ (Turoff, 1995)กล่าวถึงห้องเรียนเสมือนว่าเป็นสภาพแวดล้อม
การเรียนการสอนที่ตั้งขึ้นภายใต้ระบบการสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ในลักษณะของการเรียนแบบ
ร่วมมือซึ่งเป็นกระบวนการที่เน้นความสาคัญของกลุ่มที่จะร่วมมือทากิจกรรมร่วมกันนักเรียนและ
ผู้สอนจะได้รับความรู้ใหม่ๆจากกิจกรรมการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลลักษณะเด่น
13
ของการเรียนการสอนรูปแบบนี้ก็คือความสามารถในการลอกเลียนลักษณะของห้องเรียนปกติมาใช้ใน
การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยอาศัยความสามารถต่างๆ ของ
อินเทอร์เน็ต โดยมีส่วนประกอบคือ ประมวลรายวิชาเนื้อหาในหลักสูตร รายชื่อแหล่งเนื้อหาเสริม
กิจกรรมระหว่างผู้เรียนผู้สอน คาแนะนาและการให้ผลป้อนกลับ การนาเสนอในลักษณะมัลติมีเดีย
การเรียนแบบร่วมมือ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกันรูปแบบนี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการ
เรียนโดยไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่
5. การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ
ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ่านให้มีประสิทธิภาพนั้นมีนักการศึกษาหลาย
ท่านให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้
ดิลลอน (Dillon,1991) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร้างบทเรียนที่มีลักษณะเป็นสื่อ
หลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อ
การเรียนการสอน แนวคิดดังกล่าวมีขั้นตอน ดังนี้
1.ศึกษาเกี่ยวกับผู้เรียนและเนื้อหาที่จะนามาพัฒนาเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์และหาแนวทางใน
การจัดกิจกรรมการเรียน
2.วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างของเนื้อหาศึกษาคุณลักษณะของเนื้อหาที่จะนา มา
ใช้เป็นบทเรียนว่าควรจะนาเสนอในลักษณะใด
3.ออกแบบโครงสร้างเพื่อการเข้าถึงข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพโดยผู้ออกแบบควรศึกษาทา
ความเข้าใจกับโครงสร้างของบทเรียนแบบต่างๆโดยพิจารณาจากลักษณะผู้เรียนและเนื้อหาว่า
โครงสร้างลักษณะใดจะเอื้ออานวยต่อการเข้าถึงข้อมูลของผู้เรียนได้ดีที่สุด
4.ทดสอบรูปแบบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากนั้นทาการปรับปรุงแก้ไขและทดสอบซ้าอีกครั้งจน
แน่ใจว่าเป็นบทเรียนที่มีประสิทธิภาพก่อนที่จะนาไปใช้งาน
อาแวนิติส (Arvanitis, 1997) ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าในการสร้างเว็บไซต์นั้น ควรจะดาเนินการ
ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.กาหนดวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาว่าเป้าหมายของการสร้างเว็บไซต์นี้เพื่ออะไร
2.ศึกษาคุณลักษณะของผู้ที่จะเข้ามาใช้ว่ากลุ่มเป้าหมายใดที่ผู้สร้างต้องการสื่อสาร ข้อมูล อะไร
ที่พวกเขาต้องการโดยขั้นตอนนี้ควรจะปฏิบัติควบคู่ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง
3.วางลักษณะโครงสร้างของเว็บ
4.กาหนดรายละเอียดให้กับโครงสร้างซึ่งพิจารณาจากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยตั้งเกณฑ์ใน การ
ใช้ เช่นผู้ใช้ควรจะทาอะไรบ้าง จานวนหน้าควรมีเท่าใด มีการเชื่อมโยงมากน้อยเพียงไร
5.หลังจากนั้นจึงทาการสร้างเว็บแล้วนาไปทดลองเพื่อหาข้อผิดพลาดและทาการปรับปรุง แก้ไข
แล้วจึงค่อยนาเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นขั้นตอนสุดท้าย ควินแลน (Quinlan, 1997) เสนอ
วิธีดาเนินการ 5 ขั้นตอนเพื่อการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บที่มีประสิทธิภาพ คือ
1.ทาการวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน รวมทั้งจุดแข็งและจุดอ่อน ของผู้เรียน
2.การกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกิจกรรม
3.ควรเลือกเนื้อหาที่จะใช้นาเสนอพร้อมกับหางานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและช่วยสนับสนุน
เนื้อหา
14
4.การวางโครงสร้างและจัดเรียงลาดับข้อมูลรวมทั้งกาหนดสารบัญ เครื่องมือการเข้าสู่เนื้อหา
(Navigational Aids) โครงร่างหน้าจอและกราฟิกประกอบ
5.ดาเนินการสร้างเว็บไซต์โดยอาศัยแผนโครงเรื่อง
คาน (Khan, 1997) ได้กล่าวไว้ว่าการออกแบบเว็บที่ดีมีความสาคัญต่อการเรียนการสอนเป็น
อย่างมากดังนั้นจึงควรทาความเข้าใจถึงคุณลักษณะ 2 ประการของโปรแกรมการเรียนการสอน ผ่าน
เว็บ
1. คุณลักษณะหลัก (Key Features) เป็นคุณลักษณะพื้นฐานของโปรแกรมการเรียนการสอน
ผ่านเว็บทุกโปรแกรมตัวอย่างเช่น การสนับสนุนให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน ผู้สอนหรือผู้เรียน
คนอื่นๆ การนาเสนอบทเรียนในลักษณะของสื่อหลายมิติ (Multimedia) การนาเสนอบทเรียนระบบ
เปิด (Open System) กล่าวคืออนุญาตให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงเข้าสู่เว็บเพจอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้
ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลบนเครือข่ายได้ (Online Search) ผู้เรียนควรที่จะสามารถเข้าสู่โปรแกรม
การสอนผ่านเว็บจากที่ใดก็ได้ทั่วโลกรวมทั้งผู้เรียนควรที่จะสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้
2. คุณลักษณะเพิ่มเติม (Additional Features) เป็นคุณลักษณะประกอบเพิ่มเติม ซึ่งขึ้นอยู่กับ
คุณภาพและความยากง่ายของการออกแบบเพื่อนามาใช้งานและการนามาประกอบกับคุณลักษณะ
หลักของโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ ตัวอย่างเช่นความง่ายในการใช้งานของโปรแกรมมีระบบ
ป้องกันการลักลอบข้อมูลรวมทั้งระบบให้ความช่วยเหลือบนเครือข่ายมีความสะดวกในการแก้ไข
ปรับปรุงโปรแกรม เป็นต้น
ฮอลล์ (Hall, 19100) ได้กล่าวถึงการใช้เว็บในด้านการเรียนการสอนว่า การศึกษาทดลองหา
วิธีการสร้างเว็บอย่างมีประสิทธิภาพยังอยู่ในระดับที่น้อยแต่จากการรวบรวมจากประสบการณ์และ
การนาเสนอของบรรดานักออกแบบเว็บเพื่อการเรียนการสอนสรุปได้ว่าเว็บเพื่อการเรียนการสอนที่ดี
จะต้องมีลักษณะดังนี้
1.ต้องสะดวกและไม่ยุ่งยากต่อการสืบค้นของผู้เรียน
2.ต้องมีความสอดคล้องตรงกันในแต่ละเว็บรวมถึงการเชื่อมโยงระหว่างเว็บต่างๆ
3.เวลาในการแสดงผลแต่ละหน้าจอจะต้องน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช้ภาพกราฟิกขนาดใหญ่ ที่
จะทาให้เสียเวลาในการดาวน์โหลด
4.มีส่วนที่ทาหน้าที่ในการจัดระบบในการเข้าสู่เว็บนักออกแบบควรกาหนดให้ผู้เรียนได้เข้าสู่
หน้าจอแรกที่มีคาอธิบายมีการแสดงโครงสร้างภายในเว็บ เพื่อทราบถึงขอบเขตที่ผู้เรียนจะสืบค้น
5.ควรมีความยืดหยุ่นในการสืบค้นแม้จะมีการแนะนาว่าผู้เรียนควรจะเรียนอย่างไรตามลาดับ
ขั้นตอนก่อนหลังแต่ก็ควรเพิ่มความยืดหยุ่นให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเส้นทางการเรียนรู้ได้เอง
6.ต้องมีความยาวในหน้าจอให้น้อยแม้นักออกแบบส่วนใหญ่จะบอกว่าสามารถใช้ไฮเปอร์เท็กซ์
ช่วยในการเลื่อนไปมาในพื้นที่ส่วนต่างๆ ในหน้าจอแต่ในความเป็นจริงแล้วหน้าจอที่สั้น เป็นสิ่งที่ดีที่สุด
7.ไม่ควรมีจุดจบหรือกาหนดจุดสิ้นสุดที่ผู้เรียนไปไหนต่อไม่ได้ควรมีการสร้างในแบบวนเวียนให้
ผู้เรียนสามารถหาเส้นทางไปกลับระหว่างหน้าต่างๆได้ง่าย นอกจากนี้ยังควรให้ผู้เรียนสามารถกลับไป
เรียนในจุดเริ่มต้นได้ด้วยโดยการคลิกเพียงครั้งเดียว
สาหรับนักวิชาการศึกษาในประเทศไทยได้กล่าวถึง การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้
หลายท่านดังนี้
15
ปทีป เมธาคุณวุฒิ (2540) กล่าวว่าการออกแบบโครงสร้างของการเรียนการสอนผ่านเว็บควร
จะประกอบด้วย
1. ข้อมูลเกี่ยวกับรายวิชา ภาพรวมรายวิชา (Course Overview) แสดงวัตถุประสงค์ของ
รายวิชา สังเขปรายวิชาคาอธิบาย เกี่ยวกับหัวข้อการเรียนหรือหน่วยการเรียน
2. การเตรียมตัวของผู้เรียนหรือการปรับพื้นฐานผู้เรียน เพื่อที่จะเตรียมตัวเรียน
3. เนื้อหาบทเรียน พร้อมทั้งการเชื่อมโยงไปยังสื่อสนับสนุนต่างๆในเนื้อหาบทเรียนนั้นๆ
4. กิจกรรมที่มอบหมายให้ทาพร้อมทั้งการประเมินผล การกาหนดเวลาเรียนการส่งงาน
5. แบบฝึกหัดที่ผู้เรียนต้องการฝึกฝนตนเอง
6. การเชื่อมโยงไปแหล่งทรัพยากรที่สนับสนุนการศึกษาค้นคว้า
7. ตัวอย่างแบบทดสอบ ตัวอย่างรายงาน
8. ข้อมูลทั่วไป (Vital Information) แสดงข้อความที่จะติดต่อผู้สอนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องการ
ลงทะเบียนค่าใช้จ่ายการได้รับหน่วยกิตและการเชื่อมโยงไปยังสถานศึกษาหรือหน่วยงานและมีการ
เชื่อมโยงไปสู่รายละเอียดของหน้าที่เกี่ยวข้อง
9. ส่วนแสดงประวัติของผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
10. ส่วนของการประกาศข่าว (Bulletin Board)
11. ห้องสนทนา (Chat Room) ที่เป็นการสนทนาในกลุ่มผู้เรียนและผู้สอน
จากที่กล่าวมาการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดการอย่างจงใจและนาเสนอข้อมูลที่มี
เป้าหมายเพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยเฉพาะดังนั้นการออกแบบเว็บช่วยสอนจึงต้องพิจารณาให้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์และการจัดระเบียบของเนื้อหาในบทเรียนที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียน
เป็นไปอย่างมีระบบ
6. ประโยชน์การเรียนการสอนผ่านเว็บ
ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บมีมากมายหลายประการทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
ของการนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป็นมิติใหม่ของเครื่องมือและกระบวนการในการเรียน
การสอนโดยมีผู้กล่าวถึงประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ดังนี้
ถนอมพร เลาหจรัสแสง(2544) ได้กล่าวถึงการสอนบนเว็บมีข้อดีอยู่หลายประการ กล่าวคือ
1. การสอนบนเว็บเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกลหรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชั้นเรียน
ได้เรียนในเวลาและสถานที่ ๆ ต้องการซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทางานหรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียน
สามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้การที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่
กาหนดไว้จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาในด้านของข้อจากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ศึกษาของผู้เรียนเป็น
อย่างดี
2. การสอนบนเว็บยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษาผู้เรียนที่ศึกษาอยู่
ในสถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับอาจารย์
ครูผู้สอนซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต่างประเทศก็ตาม
3. การสอนบนเว็บนี้ยังช่วยส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิตเนื่องจากเว็บเป็น
แหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งสามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564

More Related Content

What's hot

ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
NATTAWANKONGBURAN
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกwadsana123
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
บุญรักษา ของฉัน
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
NATTAWANKONGBURAN
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
พัน พัน
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
มาณวิกา นาคนอก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5โครงงานคอมพิวเตอร์ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5
May Saksit
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูโครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
Panuwat Poowichai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
Phai Trinod
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Pornarun Srihanat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 

What's hot (20)

ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อก
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงานตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
ตัวอย่างส่วนประกอบของโครงงาน
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5โครงงานคอมพิวเตอร์ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
3 บทคัดย่อ
3 บทคัดย่อ3 บทคัดย่อ
3 บทคัดย่อ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูโครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Similar to แบบรายงานประกวดสื่อปี2564

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Aobinta In
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Aobinta In
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
KruBeeKa
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
kruwaeo
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
Wiwat Ch
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
Sircom Smarnbua
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
Oommie Banthita
 

Similar to แบบรายงานประกวดสื่อปี2564 (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

แบบรายงานประกวดสื่อปี2564

  • 1. รายงาน การใช้สื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง “Blogเรียนออนไลน์ General science by ครูพรเพ็ญ” รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นางสาวพรเพ็ญ อินต๊ะ ครู ชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา พะเยา
  • 2. 2 บทที่ 1 บทนา วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคตเพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้อง กับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดารงชีวิตประจาวัน และในงานอาชีพต่าง ๆ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจน ผลผลิตต่าง ๆ ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและในการทางาน ล้วนเป็นผลของ ความรู้ วิทยาศาสตร์ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยให้เกิดการ พัฒนาเทคโนโลยีอย่างมาก ในทางกลับกันเทคโนโลยีก็ส่วนสาคัญมากที่จะให้มีการศึกษาค้นคว้า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง วิทยาศาสตร์ทาให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็น เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะที่สาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มี ความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์ พยานที่ตรวจสอบได้วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ ซึ่งเป็นสังคมแห่งความรู้ (knowledge based society) ทุกคนจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนา ให้รู้วิทยาศาสตร์ (scientific literacy for all) เพื่อที่จะมีความรู้ ความเข้าใจ โลกธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น และนาความรู้ไปใช้อย่าง มีเหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรมความรู้วิทยาศาสตร์ไม่เพียงแต่นามาใช้ใน การ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีแต่ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ การใช้ประโยชน์การ ดูแลรักษา ตลอดจนการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ธรรมชาติ อย่างสมดุลและยั่งยืนและที่ สาคัญอย่างยิ่งคือ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถ แข่งขันกับนานา ประเทศและดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต เข้ามามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของเรามาก ขึ้นนับตั้งแต่ตื่นขึ้นมาเราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์เน็ตกลายเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงชีวิต ในยุคที่ ข้อมูลข่าวสารมีความสาคัญ คนหันมาบริโภคข้อมูลข่าวสารกันมากขึ้น นอกจากเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตที่เปรียบเสมือนถนนสาหรับการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ เรายังต้องการเครื่องสาหรับที่จะ สร้างเนื้อหาและข้อมูลต่างๆไว้รองรับการเข้าถึง ซึ่งนั่นก็คือเทคโนโลยีเว็บไซด์ ที่เป็นตัวกลางคอยให้ ข้อมูลต่างๆแก่ผู้ใช้โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและเว็บไซด์ได้ถูกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มาก Wikipedia (www,2011) ได้แบ่งลักษณะการพัฒนาเทคโนโลยีได้เป็น 3 ยุค คือ 1. ยุคเว็บ 1.0 (2537 – 2547) เน้นการนาเสนอเนื้อหาให้กับผู้ใช้งานเพียงทางเดียว ไม่เปิด โอกาสให้ผู้ใช้งานมีส่วนร่วมกับเนื้อหา ผู้พัฒนาเว็บไซด์จะเป็นผู้กาหนดเนื้อหาเพียงผู้เดียว และ ความเร็วเฉลี่ยของอินเทอร์เน็ตในยุค 1.0 คือ 50 Kbps 2. ยุคเว็บ 2.0 (2547 – 2552) มีลักษณะการทางานของเว็บไซต์ที่เป็นเครือข่ายทางสังคม (social network) เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้งานที่อยู่ในเครือข่ายหรือกลุ่มบุคคลที่มีความ สนใจในเรื่องเดียวกัน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ใช้งานทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการเนื้อหา มีการ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน จึงก่อให้เกิดสังคมออนไลน์ทางความรู้ที่ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ ใหม่ๆมากมาย มีคุณสมบัติที่เรียกว่า Rich Internet Application (RIA) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทาให้เว็บ ไซด์มีประสิทธิภาพการทางานเทียบเท่ากับแอพลิเคชั่นทั่วๆไป (Desktop Application) โดยมี ลักษณะหน้าตา (User Interface) ที่สวยงามมากขึ้น ตัวอย่างเว็บไซต์ในยุค 2.0 ก็คือเว็บบล็อก
  • 3. 3 (Weblog) สารานุกรมออนไลน์ (Wiki) เป็นต้น โดยความเร็วเฉลี่ยของอินเทอร์เน็ตในยุคนี้คือ 1 Mbps 3. ยุคเว็บ 3.0 ( 2553 เป็นต้นไป) เป็นการพัฒนาเว็บไซด์ให้เหมือนมีความฉลาดเทียม (Artificial intelligence) โดยสามารถเรียนรู้พฤติกรรมของผู้ใช้งานเว็บไซด์ได้ ใช้ข้อมูลบางส่วนเพื่อ อธิบายความหมายของข้อมูลในส่วนใหญ่ (Tag) เว็บไซด์ในยุค 3.0 นั้นกล่าวไว้ว่าเป็นการพัฒนาต่อมา จากยุคเว็บ 2.0 หลังจากเว็บไซด์กลายเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่ ดังนั้นเนื้อหาและข้อมูล ต่างๆจึงมากขึ้นตามมาด้วย ก่อให้เกิดการพัฒนาเว็บไซด์ที่สามารถตอบสนองความต้องการในการ บริโภคข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเรามีข้อมูลมากมายในเว็บไซด์จึงต้องเกิดการวิเคราะห์ และคัดแยกข้อมูลให้ตรงกับผู้ใช้งานต้องการมากที่สุด โดยตัวอย่างของลักษณะเว็บไซด์ในยุค 3.0 นั้นก็ คือ Sematic Web โดยความเร็วอินเทอร์เน็ตในยุคนี้คือ 2.0 Mbps สืบเนื่องจากการที่ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาท สาคัญต่อการดาเนินงาน ทั้งการบริหารและการจัดการของหน่วยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งจาเป็นที่ทุกหน่วยงานต้องจัดหามาใช้ในการดาเนินงาน เพราะจะช่วยให้การบริหารงานและการจัดการทางการศึกษาเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะและมีความเข้าใจในกรวนการทางานการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในการบริหารการจัดการศึกษา และที่สาคัญคือการนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ได้เข้ามีบทบาทในการศึกษามากขึ้นเรื่อยๆนับแต่เริ่มใช้เพื่อการศึกษา เช่น การศึกษาการเรียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อีกทั้งยังได้ พัฒนาให้มีความสามารถในการสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) แต่ปัญหาของการใช้เครื่องมือดัง กล่าวคือการไม่ได้ตอบรับจากนักเรียน ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจใฝ่เรียนรู้ อีกทั้งนักเรียน สามารถเข้าถึงสื่อเหล่านั้นได้ยาก เพราะเป็นสื่อที่ไม่สามารถใช้งานได้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการพัฒนาสื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนในปัจจุบันจึงควรเป็นสื่อออนไลน์ที่นักเรียน สามารถเข้าถึงและเรียนรู้ได้จากทุกหนทุกแห่งหรือทุกสถานที่ ซึ่งสื่อที่ได้รับความนิยมและนักเรียน สามารถเข้าถึงได้ง่ายในปัจจุบันก็เป็นสื่อประเภท Social Media และเว็บไซด์ แต่การที่จะนาสื่อ Social Media และสื่อออนไลน์ต่างๆมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้นั้น สิ่งสาคัญคือครูผู้สอน จะต้องรู้และเข้าใจ และสามารถใช้สื่อเหล่านั้นได้เป็นอย่างดี สามารถพัฒนาผลงาน สื่อและเนื้อหาเพื่อ เผยแพร่ให้กับนักเรียนได้เรียนรู้ และต้องมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนอยู่เสมอๆ เช่นการตั้งประเด็นคาถาม การตอบคาถามข้อสงสัย การติดตามผลงาน การให้คาแนะนาที่เหมาะสม นั่นคือจะต้องมีการพัฒนา ครูให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนได้นั่นเอง จากความสาคัญของ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทาการวิจัยเรื่องบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน
  • 4. 4 ปิโตรเลียม) เพื่อส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของตนเอง อีกทั้งยังช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพอีก ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาระการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หิน น้้ามัน ปิโตรเลียม)มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ใน กิจกรรมการเรียนรู้ เนื่องจากการเรียนรู้ เรื่อง ดิน หิน แร่ มีเนื้อหาจานวนมากและต้องมีรูปภาพสี หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งทรัพยากรบางอย่างไม่มีให้เห็นจริงชีวิตประจาวัน เพื่อให้เกิดเข้าใจมากขึ้น และเพื่อสนองความต้องการของนักเรียน ได้ด้วยตนเองทุกเวลา การใช้สื่อออนไลน์จะช่วยการจัด กิจกรรมการสอนเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น ผู้สอนจึงเลือกใช้สื่อบทเรียนออนไลน์มาจัดกิจกรรมการสอน สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพื่อให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2.วัตถุประสงค์ของการจัดทาสื่อ 1. เพื่อความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว 22102 เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) โดยใช้สื่อ บทเรียนออนไลน์ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว 22102 เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) โดยใช้สื่อบทเรียนออนไลน์ 3. สมมติฐาน 1. บทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่องแร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้สื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) รายวิชาวิทยาศาสตร์ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดีหรือดีมาก 4. ขอบเขตของการพัฒนา 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ปีการศึกษา 2563 จานวน 4 ห้อง 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนฟากกว๊าน วิทยาคม ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
  • 5. 5 2. เนื้อหา สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) 5. ตัวแปรที่ศึกษา 1.ตัวแปรอิสระ คือ บทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) 2. ตัวแปรตาม คือ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) สาระ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) 2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) 6. นิยามศัพท์เฉพาะ บทเรียนออนไลน์ (Online) หมายถึงบทเรียนเรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)ซึ่งจะประกอบไปด้วยเนื้อหาของ แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม)ทั้งหมด รวมถึงสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบวีดีโอที่เกี่ยวข้องกับ เนื้อหาการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ความคิดเห็นต่อสื่อ หมายถึง ระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อข้อความที่ กาหนด แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีแหล่งเรียนรู้ http://pronpen.wordpress.com 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนจากสื่อบทเรียนออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หิน น้้ามัน ปิโตรเลียม)รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สูงขึ้น 3. นักเรียนที่มีเจตคติที่ดีต่อสื่อการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน โดยใช้สื่อบทเรียน ออนไลน์ เรื่อง แร่เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  • 6. 6 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเรื่อง บทเรียนออนไลน์ (Online) สาระวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22102) เรื่อง แร่ เชื้อเพลิง (ถ่านหิน หินน้้ามัน ปิโตรเลียม) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนฟากกว๊าน วิทยาคม จังหวัดพะเยา ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ โดยมีสาระสาคัญ ตามลาดับหัวข้อดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนออนไลน์ (Online) 2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 3. การเรียนการสอนผ่านออนไลน์ 4. ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ 5. การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ 6. ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บ 7. การประเมินผลการเรียนการสอนผ่านเว็บ 8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างบทเรียนออนไลน์ (Online) ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีการพัฒนา เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีเทคโนโลยีต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เพื่อช่วยอานวยความสะดวก รวมทั้ง ให้ความบันเทิง หรือแม้กระทั่งการเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย โดยที่ทุกคนทั่วโลกสามารถเป็นเพื่อกัน พบปะพูดคุยกันได้ตลอดเวลา เพียงแค่มีอินเตอร์เน็ต กับอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ เช่น คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือ ทาให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไม่จาเป็นที่จะต้องเดินทาง ไปพบปะกันโดยตรง ถ้าพูดถึงคาว่า Social Media หรือ Social Network ในปัจจุบัน หลายคนอาจจะสงสัยว่า สิ่งเหล่านี้คืออะไร แต่ถ้าพูดถึง Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ เชื่อว่าหลายคนคงจะ ปฏิเสธไม่ได้ที่จะไม่รู้จัก ยิ่งโดยเฉพาะในวัยรุ่นหรือเยาวชนที่อยู่ในระหว่างการศึกษาเล่าเรียน คงจะ คุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ซึ่งสิ่งเหล่านี้ (Facebook, Twitter , Blog , Youtubeฯลฯ ) ที่ถูกเรียกว่า Social Media หรือ Social Network ดังนั้นถ้าจะให้ความหมายของคาว่า Social Media หรือ Social Network นั้น จะได้ว่า Social Media หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวีดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้ว นามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบน โลกออนไลน์ ปัจจุบันการสื่อสารแบบนี้จะทาผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านั้น Social Networkคือ การที่ผู้คนสามารถทาความรู้จักและเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทาง หนึ่ง หากเป็นเว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็นเว็บ Social Network ก็คือเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกัน นั่นเอง ( สถาบันคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2552 )
  • 7. 7 กอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ( 2553 ) ได้กล่าวว่า ปัจจุบัน Social Media ได้กลายเป็นเครื่องมือ ที่สาคัญในการสร้างให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้ เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อลิขสิทธิ์แต่อย่างใด ดังนั้น การนาเทคโนโลยี Social Media มาใช้เป็น เครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนจะเป็นการผลักดันบุคลากรครูให้ก้าวทันเทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน และสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ได้อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการ เรียนรู้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่มีการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้สอนกับผู้สอน ผู้สอนกับผู้เรียน และ ผู้เรียนกับผู้เรียน ที่มีการแบ่งปันความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการศึกษา ตามอัธยาศัย ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2545 ที่ จัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี ความสาคัญที่สุด โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ( พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ, 2545 ) และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน2551 ที่มุ่งพัฒนาการเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ โดยให้เกิด สมรรถนะสาคัญข้อที่ 5 คือ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นความสามารถในการเลือกใช้ เทคโนโลยีต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เรียนรู้ การสื่อสาร การทางานและการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม ( กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 ) โดยการผู้เรียนจะสามารถก้าวสั่งคมการเรียนรู้ได้นั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องทีพื้นฐานที่เหมาะสม และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลายจะต้องช่วยกันสร่างพื้นฐาน ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ให้พร้อมที่จะสร้างสังคมแหล่งความรู้ขึ้นได้ พื้นฐานและปัจจัยสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยก้าวไปสู่ สังคมแห่งการเรียนรู้ได้ คือ ครู อาจารย์ และสังคมการศึกษา สถาบันการศึกษาจะต้องปรับปรุงการ เรียนรู้ของครู อาจารย์ และส่งเสริมการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างนิสัยใน ด้านการใฝ่รู้และรักความรู้ให้เกิดขึ้นกับเยาวชน ( ครรชิต มาลัยวงศ์และคณะ, 2544 ) จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่อินเตอร์เข้าถึงเกือบทุกพื้นที่ ทาให้เยาวชนไทยส่วนใหญ่สามารถ เข้าสู่ระบบเครือข่ายสารสนเทศได้ สามารถสืบค้นข้อมูลผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี ประกอบกับมีเครื่องมือจาพวก Social Media ออกมามากมาย ยิ่งเป็นการทาให้เยาวชนเข้าสู่ระบบ ของโลกอินเตอร์เน็ตมากยิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากปัญหาที่ปรากฏทางหน้าจอโทรทัศน์เกี่ยวกับการใช้ งาน Social Media ที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม ซึ่งการจะแก้ปัญหาเหล่านี้ไม่ใช่การแก้โดยการปิด กั้นไม่ให้เยาวชนเข้าสู่โลกอินเตอร์เน็ตไม่ให้เข้าถึงตัวเยาวชนได้นั่นเอง แต่ทางแก้ที่ดีและตรงกับปัญหา มากที่สุดก็คือ การปลูกฝังและแนะนาให้เยาวชนใช้เครื่องมือ Social Media เหล่านี้ในทางที่ เหมาะสม เช่น ใช้ในเชิงการศึกษา ได้แก่ การสอบถามปัญหาการเรียนกับเพื่อนหรือครูผู้สอน การสรุป ความรู้เก็บไว้บนเว็บส่วนตัว หรือเผยแพร่ความรู้ต่างๆ ตามความเข้าใจบนสื่อทางอินเตอร์เน็ต รวมทั้ง การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น สิ่งเหล่านี้สามารถปลูกฝังได้โยผู้ปกครอง ครู/อาจารย์ รวมทั้ง เพื่อนหรือคนรอบข้าง ยิ่งถ้าสังคมมีแนวโน้มที่ใช้ Social Media ในเชิงการศึกษามากขึ้นเท่าใด เยาวชนทุกคนก็จะมีแนวโน้นที่จะคล้อยตามและปฏิบัติตามเป็นนิสัยและกิจวัตรมากขึ้น
  • 8. 8 2. เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) Wordpressหมายถึง โปรแกรมสาเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไว้สาหรับสร้างบล็อก หรือ เว็บไซต์ สามารถใช้งานได้ฟรี ถูกจัดอยู่ในประเภท CMS (Contents Management System) เฟชบุ๊ก ( Facebook ) เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมสาหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิดใช้ งานเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ในช่วงแรกนั้นเฟชบุ๊กเป็นให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ซึ่งต่อมาได้ขยายตัวออกไป สาหรับมหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐอเมริกา และตั้งแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสาหรับผู้ใช้ ทั่วไปทุกคนเหมือนในปัจจุบัน ( www, 2010 ) หลายท่านอาจจะสงสัยว่าเฟชบุ๊กนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างไร ซึ่งจะขอ อธิบายว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media นั้น ไม่ได้หมายความว่าจะต้องใช้ Facebook เป็นเครื่องมือหลักในการจัดการเรียนการสอน แต่จากสภาพสังคมในปัจจุบันที่เยาวชน หรือนักเรียนส่วนใหญ่ สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้นั้น ทาให้หลายคนมีการใช้เฟชบุ๊กอยู่เป็นประจา อยู่แล้ว ซึ่งจากปัญหาที่พบก็คือนักเรียนให้ความสนใจกับเฟชบุ๊กมากเกินไป เช่น ใช้ในการพูดคุยกับ เพื่อน เล่มเกม แสดงความคิดเห็น หรือแสดงรูป และวีดีโอของตนเอง เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์หากใช้เวลามากเกินไป หรืออาจเรียกได้ว่านักเรียนมีความ หมกมุ่นกับสิ่งเหล่านี้มากเกินไป ความสนใจที่จะศึกษา ทบทวนบทเรียน จึงมีน้อยลงตามไปด้วย ดังนั้น ถ้าครูผู้สอนสามารถใช้เครื่องมือเหล่านี้ เพื่อชักจูงให้นักเรียนใช้เฟชบุ๊กในเชิงที่สร้างสรรค์ เกิด ประโยชน์ต่อตนเอง ในด้านการสร้างความรู้ พัฒนาสติปัญญา ก็จะเป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์อย่างยิ่ง การใช้ Facebook ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ไม่ได้ใช้โดยตรง แต่จะใช้ในลักษณะของ การติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียน การส่งงาน การบ้าน หรือการตอบปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ให้ นักเรียน อีกทั้งครูยังสามารถติดตามดูแลนักเรียนได้ เมื่อนักเรียนขาดเรียน หรือไม่ส่งงานตาม กาหนดเวลา ซึ่งเป็นการกระตุ้นนักเรียนให้เกิดการเรียนรู้และป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีก วิธีการหนึ่ง ซึ่งสามารถสรุปข้อดีและข้อจากัดของเฟชบุ๊กได้ดังนี้ ข้อดี สามารถติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียนได้ตลอดเวลา ช่วยให้ครูและนักเรียนสามารถพบปะ พูดคุย สอบถามปัญหาได้สะดวกมากขึ้น ใช้ในการส่งงาน หรือส่งการบ้าน แสดงความคิดเห็น หรือทาแบบทดสอบได้ ข้อจากัด นักเรียนและครูจาเป็นที่จะต้องมีอินเตอร์เน็ต เปิดกว้างในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งต้องระมัดระวังในบางเรื่องหรือบางกรณี การใช้เวลากับเฟชบุ๊กมากเกินไปอาจจะเกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมาได้ กติกา สายเสนีย์ ( 2552 ) ได้กล่าวว่าทวิตเตอร์ ( Twitter ) คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการ blog
  • 9. 9 สั้น หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า Micro-Blog ซึ่งสามาระให้ผู้ใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพื่อนๆ ที่ ติดตาม twitter ของเราอยู่อ่านได้ และเราเองก็สามารถอ่านข้อความของเพื่อน หรือคนที่เราติดตาม เค้าอยู่ได้ ซึ่ง twitter ก็ถือได้ว่าเป็นเว็บไซต์ประเภท Social Mediaด้วยเช่นกัน Slideshareและ Youtube Slideshareและ Youtubeเป็นสื่อSocial Media อีกประเภทหนึ่งที่สามารถนาไปใช้ ประกอบการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้ โดยการใช้งานร่วมกัน Blog นั่นก็คือ การนาเอกสาร ต่างๆ ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ สไลด์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ฯลฯ จาก Slideshare มา แสดงเป็นบทเรียนไว้ใน Blog หรือการนาวีดีโอที่น่าสนใจต่างๆ จาก Youtube มาแสดงไว้ใน Blog เพื่อให้นักเรียนได้เข้ามาศึกษา แสดงความคิดเห็น หรือวิพากษ์วิจารณ์ จนเกิดเป็นข้อสรุปที่เป็นองค์ ความรู้ ความเข้าใจ ที่สร้างขึ้นด้วยตนเอง 3. การเรียนการสอนผ่านออนไลน์ การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนเป็นการนาเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ตมาออกแบบเพื่อใช้ ในการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช่นการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้ มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บเอาไว้หลายนิยามได้แก่ คาน (Khan, 1997) ได้ให้คาจากัดความของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)ไว้ว่าเป็นการเรียนการสอนที่อาศัยโปรแกรมไฮเปอร์มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ตมาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้อย่างมากมายและสนับสนุนการเรียนรู้ในทุกทาง ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการใช้ทักษะ หรือความรู้ต่างๆถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บเป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น คาร์ลสันและคณะ (Carlson et al., 19100) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นภาพที่ ชัดเจนของการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) ซึ่งก่อให้เกิดโอกาสที่ชัดเจนในการนาการศึกษาไปสู่ที่ด้อยโอกาสเป็นการ จัดหาเครื่องมือใหม่ๆสาหรับส่งเสริมการเรียนรู้และเพิ่มเครื่องมืออานวยความสะดวกที่ช่วยขจัดปัญหา เรื่องสถานที่และเวลา สาหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้เรียนภายในประเทศไทยการเรียนการสอนผ่านเว็บถือเป็น รูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนที่เริ่มนาเข้ามาใช้ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการ เรียนการสอนผ่านเว็บไว้ดังนี้ กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการ เรียนการสอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร หรือใช้เพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้รวมทั้งใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะ
  • 10. 10 ต่างๆของการสื่อสารที่มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่นการเขียนโต้ตอบกันทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และการพูดคุยสดด้วยข้อความและเสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ถนอมพร เลาจรัสแสง (2544) ให้ความหมายว่า การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบน เว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและ สนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของ กระบวนการเรียนการสอนก็ได้ ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวก คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียน ในมิติที่ไม่มีขอบเขตจากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary) วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการนาเสนอโปรแกรมบทเรียน บนเว็บเพจโดยนาเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งผู้ออกแบบและสร้าง โปรแกรมการสอนผ่านเว็บจะต้องคานึงถึงความสามารถและบริการที่หลากหลายของอินเทอร์เน็ตและ นาคุณสมบัติต่างๆเหล่านั้นมาใช้เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนให้มากที่สุด จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษาทั้งในต่างประเทศและภายใน ประเทศไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการ เรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือนามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช่วย ขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานที่และเวลาอีกด้วย 4. ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาได้ในหลายลักษณะโดยแต่ละเนื้อหาของหลักสูตรก็จะมี วิธีการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บที่แตกต่างกันออกไปซึ่งในประเด็นนี้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ให้ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ดังต่อไปนี้ พาร์สัน(Parson,1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะคือ 1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็นรายวิชาที่มีเครื่องมือ และแหล่งที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุดถ้าไม่มีการสื่อสารก็ สามารถที่จะไปผ่านระบบคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลักษณะเป็นแบบ วิทยาเขตมีนักศึกษาจานวนมากที่เข้ามาใช้จริงแต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล 2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็นรายวิชาที่มี ลักษณะเป็นรูปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น การกาหนดงานที่ให้ ทาบนเว็บ การกาหนดให้อ่านการสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์หรือการมีเว็บที่สามารถชี้ตาแหน่ง ของแหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้
  • 11. 11 3. เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Pedagogical Resources) เป็นชนิดของเว็บไซต์ที่ มีวัตถุดิบเครื่องมือซึ่งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็นแหล่งสนับสนุน กิจกรรมทางการศึกษาซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริการอย่างรูปแบบอย่างเช่น เป็นข้อความเป็น ภาพกราฟิก การสื่อสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น โดเฮอร์ตี้ (Doherty, 19100) แนะนาว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บ มีวิธีการใช้ใน 3 ลักษณะ คือ 1. การนาเสนอ (Presentation) ในลักษณะของเว็บไซต์ที่ประกอบไปด้วยข้อความ ภาพกราฟิกโดยมีวิธี การนาเสนอ คือ 1.1 การนาเสนอแบบสื่อเดี่ยว เช่น ข้อความ หรือ รูปภาพ 1.2 การนาเสนอแบบสื่อคู่ เช่น ข้อความกับรูปภาพ 1.3 การนาเสนอแบบมัลติมีเดีย คือ ประกอบด้วยข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง 2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องใช้ทุกวันในชีวิตซึ่งเป็น ลักษณะสาคัญของอินเทอร์เน็ต โดยมีการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ตหลายแบบ เช่น 2.1 การสื่อสารทางเดียว เช่น การดูข้อมูลจากเว็บเพจ 2.2 การสื่อสารสองทาง เช่น การส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์โต้ตอบกัน 2.3 การสื่อสารแบบหนึ่งแหล่งไปหลายที่เป็นการส่งข้อความจากแหล่งเดียวแพร่กระจายไป หลายแหล่ง เช่นการอภิปรายจากคนเดียวให้คนอื่นๆ ได้รับฟังด้วยหรือการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ (Computer conferencing) 2.4 การสื่อสารหลายแหล่งไปสู่หลายแหล่ง เช่น การใช้กระบวนการกลุ่มในการสื่อสารบน เว็บ โดยมีคนใช้หลายคนและคนรับหลายคนเช่นกัน 3. การทาให้เกิดความสัมพันธ์ (Dynamic Interaction) เป็นคุณลักษณะที่สาคัญของ อินเทอร์เน็ตและสาคัญที่สุด ซึ่งมี 3 ลักษณะคือ 3.1 การสืบค้นข้อมูล 3.2 การหาวิธีการเข้าสู่เว็บ 3.3 การตอบสนองของมนุษย์ต่อการใช้เว็บ นอกจากนี้ แฮนนัม (Hannum, 19100) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ออกเป็น 4 ลักษณะ ใหญ่ๆ คือ 1. รูปแบบการเผยแพร่ รูปแบบนี้สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 ชนิด คือ 1.1 รูปแบบห้องสมุด (Library Model) เป็นรูปแบบที่ใช้ประโยชน์จากความสามารถในการ เข้าไปยังแหล่งทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่หลากหลายโดยวิธีการจัดหาเนื้อหาให้ผู้เรียนผ่านการ เชื่อมโยงไปยังแหล่งเสริมต่างๆเช่นสารานุกรม วารสาร หรือหนังสือออนไลน์ทั้งหลาย ซึ่งถือได้ว่าเป็น การนาเอาลักษณะทางกายภาพของห้องสมุดที่มีทรัพยากรจานวนมหาศาลมาประยุกต์ใช้ ส่วน ประกอบของรูปแบบนี้ ได้แก่ สารานุกรมออนไลน์ วารสารออนไลน์หนังสือออนไลน์ สารบัญการอ่าน ออนไลน์ (Online Reading List) เว็บห้องสมุดเว็บงานวิจัย รวมทั้งการรวบรวมรายชื่อเว็บที่สัมพันธ์ กับวิชาต่างๆ
  • 12. 12 1.2 รูปแบบหนังสือเรียน (Textbook Model) การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการ จัดเนื้อหาของหลักสูตรในลักษณะออนไลน์ให้แก่ผู้เรียน เช่น คาบรรยายสไลด์ นิยามคาศัพท์และส่วน เสริมผู้สอนสามารถเตรียมเนื้อหาออนไลน์ที่ใช้เหมือนกับที่ใช้ในการเรียนในชั้นเรียนปกติและสามารถ ทาสาเนาเอกสารให้กับผู้เรียนได้รูปแบบนี้ต่างจากรูปแบบห้องสมุดคือรูปแบบนี้จะเตรียมเนื้อหา สาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะขณะที่รูปแบบห้องสมุดช่วยให้ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหาที่ต้องการจาก การเชื่อมโยงที่ได้เตรียมเอาไว้ส่วนประกอบของรูปแบบหนังสือเรียนนี้ประกอบด้วยบันทึกของ หลักสูตรบันทึกคาบรรยาย ข้อแนะนาของห้องเรียน สไลด์ที่นาเสนอ วิดีโอและภาพที่ใช้ในชั้นเรียน เอกสารอื่นที่มีความสัมพันธ์กับชั้นเรียน เช่นประมวลรายวิชา รายชื่อในชั้นกฏเกณฑ์ข้อตกลงต่างๆ ตารางการสอบและตัวอย่างการสอบครั้งที่แล้วความคาดหวังของชั้นเรียน งานที่มอบหมาย เป็นต้น 1.3 รูปแบบการสอนที่มีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Instruction Model) รูปแบบนี้จัดให้ ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับเนื้อหาที่ได้รับ โดยนาลักษณะของ บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มาประยุกต์ใช้เป็นการสอนแบบออนไลน์ที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ มีการให้คาแนะนา การปฏิบัติ การให้ผลย้อนกลับ รวมทั้งการให้สถานการณ์จาลอง 2. รูปแบบการสื่อสาร (Communication Model) การเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่อาศัยคอมพิวเตอร์มาเป็นสื่อเพื่อการสื่อสาร (Computer - MediatedCommunications Model) ผู้เรียนสามารถที่จะสื่อสารกับผู้เรียนคนอื่นๆ ผู้สอนหรือกับผู้เชี่ยวชาญได้โดยรูปแบบการสื่อสารที่หลากหลายในอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้แก่ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์กลุ่มอภิปรายการสนทนาและการอภิปรายและการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ เหมาะ สาหรับการเรียนการสอนที่ต้องการส่งเสริมการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มีส่วนร่วมในการ เรียนการสอน 3. รูปแบบผสม (Hybrid Model) รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บรูปแบบนี้เป็นการนาเอารูปแบบ 2 ชนิด คือรูปแบบการ เผยแพร่กับรูปแบบการสื่อสารมารวมเข้าไว้ด้วยกัน เช่นเว็บไซต์ที่รวมเอารูปแบบห้องสมุดกับรูปแบบ หนังสือเรียนไว้ด้วยกันเว็บไซต์ที่รวบรวมเอาบันทึกของหลักสูตรรวมทั้งคาบรรยายไว้กับกลุ่มอภิปราย หรือเว็บไซต์ที่รวมเอารายการแหล่งเสริมความรู้ต่างๆและความสามารถของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ไว้ ด้วยกันเป็นต้นรูปแบบนี้มีประโยชน์เป็นอย่างมากกับผู้เรียนเพราะผู้เรียนจะได้ใช้ประโยชน์ของ ทรัพยากรที่มีในอินเทอร์เน็ตในลักษณะที่หลากหลาย 4. รูปแบบห้องเรียนเสมือน (Virtual classroom model) รูปแบบห้องเรียนเสมือนเป็นการนาเอาลักษณะเด่นหลายๆประการของแต่ละรูปแบบที่กล่าว มาแล้วข้างต้นมาใช้ ฮิลทซ์ (Hiltz, 1993) ได้นิยามว่าห้องเรียนเสมือนเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการ สอนที่นาแหล่งทรัพยากรออนไลน์มาใช้ในลักษณะการเรียนการสอนแบบร่วมมือโดยการร่วมมือ ระหว่างนักเรียนด้วยกัน นักเรียนกับผู้สอนชั้นเรียนกับสถาบันการศึกษาอื่น และกับชุมชนที่ไม่เป็นเชิง วิชาการ (Khan, 1997) ส่วนเทอรอฟฟ์ (Turoff, 1995)กล่าวถึงห้องเรียนเสมือนว่าเป็นสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนที่ตั้งขึ้นภายใต้ระบบการสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ในลักษณะของการเรียนแบบ ร่วมมือซึ่งเป็นกระบวนการที่เน้นความสาคัญของกลุ่มที่จะร่วมมือทากิจกรรมร่วมกันนักเรียนและ ผู้สอนจะได้รับความรู้ใหม่ๆจากกิจกรรมการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลลักษณะเด่น
  • 13. 13 ของการเรียนการสอนรูปแบบนี้ก็คือความสามารถในการลอกเลียนลักษณะของห้องเรียนปกติมาใช้ใน การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยอาศัยความสามารถต่างๆ ของ อินเทอร์เน็ต โดยมีส่วนประกอบคือ ประมวลรายวิชาเนื้อหาในหลักสูตร รายชื่อแหล่งเนื้อหาเสริม กิจกรรมระหว่างผู้เรียนผู้สอน คาแนะนาและการให้ผลป้อนกลับ การนาเสนอในลักษณะมัลติมีเดีย การเรียนแบบร่วมมือ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกันรูปแบบนี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการ เรียนโดยไม่มีข้อจากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ 5. การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ ในการออกแบบและพัฒนาเว็บการเรียนการสอนผ่านให้มีประสิทธิภาพนั้นมีนักการศึกษาหลาย ท่านให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการที่จะใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดังนี้ ดิลลอน (Dillon,1991) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนในการสร้างบทเรียนที่มีลักษณะเป็นสื่อ หลายมิติ (Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อ การเรียนการสอน แนวคิดดังกล่าวมีขั้นตอน ดังนี้ 1.ศึกษาเกี่ยวกับผู้เรียนและเนื้อหาที่จะนามาพัฒนาเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์และหาแนวทางใน การจัดกิจกรรมการเรียน 2.วางแผนเกี่ยวกับการจัดรูปแบบโครงสร้างของเนื้อหาศึกษาคุณลักษณะของเนื้อหาที่จะนา มา ใช้เป็นบทเรียนว่าควรจะนาเสนอในลักษณะใด 3.ออกแบบโครงสร้างเพื่อการเข้าถึงข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพโดยผู้ออกแบบควรศึกษาทา ความเข้าใจกับโครงสร้างของบทเรียนแบบต่างๆโดยพิจารณาจากลักษณะผู้เรียนและเนื้อหาว่า โครงสร้างลักษณะใดจะเอื้ออานวยต่อการเข้าถึงข้อมูลของผู้เรียนได้ดีที่สุด 4.ทดสอบรูปแบบเพื่อหาข้อผิดพลาดจากนั้นทาการปรับปรุงแก้ไขและทดสอบซ้าอีกครั้งจน แน่ใจว่าเป็นบทเรียนที่มีประสิทธิภาพก่อนที่จะนาไปใช้งาน อาแวนิติส (Arvanitis, 1997) ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าในการสร้างเว็บไซต์นั้น ควรจะดาเนินการ ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.กาหนดวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาว่าเป้าหมายของการสร้างเว็บไซต์นี้เพื่ออะไร 2.ศึกษาคุณลักษณะของผู้ที่จะเข้ามาใช้ว่ากลุ่มเป้าหมายใดที่ผู้สร้างต้องการสื่อสาร ข้อมูล อะไร ที่พวกเขาต้องการโดยขั้นตอนนี้ควรจะปฏิบัติควบคู่ไปกับขั้นตอนที่หนึ่ง 3.วางลักษณะโครงสร้างของเว็บ 4.กาหนดรายละเอียดให้กับโครงสร้างซึ่งพิจารณาจากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยตั้งเกณฑ์ใน การ ใช้ เช่นผู้ใช้ควรจะทาอะไรบ้าง จานวนหน้าควรมีเท่าใด มีการเชื่อมโยงมากน้อยเพียงไร 5.หลังจากนั้นจึงทาการสร้างเว็บแล้วนาไปทดลองเพื่อหาข้อผิดพลาดและทาการปรับปรุง แก้ไข แล้วจึงค่อยนาเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นขั้นตอนสุดท้าย ควินแลน (Quinlan, 1997) เสนอ วิธีดาเนินการ 5 ขั้นตอนเพื่อการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บที่มีประสิทธิภาพ คือ 1.ทาการวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน รวมทั้งจุดแข็งและจุดอ่อน ของผู้เรียน 2.การกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกิจกรรม 3.ควรเลือกเนื้อหาที่จะใช้นาเสนอพร้อมกับหางานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและช่วยสนับสนุน เนื้อหา
  • 14. 14 4.การวางโครงสร้างและจัดเรียงลาดับข้อมูลรวมทั้งกาหนดสารบัญ เครื่องมือการเข้าสู่เนื้อหา (Navigational Aids) โครงร่างหน้าจอและกราฟิกประกอบ 5.ดาเนินการสร้างเว็บไซต์โดยอาศัยแผนโครงเรื่อง คาน (Khan, 1997) ได้กล่าวไว้ว่าการออกแบบเว็บที่ดีมีความสาคัญต่อการเรียนการสอนเป็น อย่างมากดังนั้นจึงควรทาความเข้าใจถึงคุณลักษณะ 2 ประการของโปรแกรมการเรียนการสอน ผ่าน เว็บ 1. คุณลักษณะหลัก (Key Features) เป็นคุณลักษณะพื้นฐานของโปรแกรมการเรียนการสอน ผ่านเว็บทุกโปรแกรมตัวอย่างเช่น การสนับสนุนให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน ผู้สอนหรือผู้เรียน คนอื่นๆ การนาเสนอบทเรียนในลักษณะของสื่อหลายมิติ (Multimedia) การนาเสนอบทเรียนระบบ เปิด (Open System) กล่าวคืออนุญาตให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงเข้าสู่เว็บเพจอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลบนเครือข่ายได้ (Online Search) ผู้เรียนควรที่จะสามารถเข้าสู่โปรแกรม การสอนผ่านเว็บจากที่ใดก็ได้ทั่วโลกรวมทั้งผู้เรียนควรที่จะสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ 2. คุณลักษณะเพิ่มเติม (Additional Features) เป็นคุณลักษณะประกอบเพิ่มเติม ซึ่งขึ้นอยู่กับ คุณภาพและความยากง่ายของการออกแบบเพื่อนามาใช้งานและการนามาประกอบกับคุณลักษณะ หลักของโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ ตัวอย่างเช่นความง่ายในการใช้งานของโปรแกรมมีระบบ ป้องกันการลักลอบข้อมูลรวมทั้งระบบให้ความช่วยเหลือบนเครือข่ายมีความสะดวกในการแก้ไข ปรับปรุงโปรแกรม เป็นต้น ฮอลล์ (Hall, 19100) ได้กล่าวถึงการใช้เว็บในด้านการเรียนการสอนว่า การศึกษาทดลองหา วิธีการสร้างเว็บอย่างมีประสิทธิภาพยังอยู่ในระดับที่น้อยแต่จากการรวบรวมจากประสบการณ์และ การนาเสนอของบรรดานักออกแบบเว็บเพื่อการเรียนการสอนสรุปได้ว่าเว็บเพื่อการเรียนการสอนที่ดี จะต้องมีลักษณะดังนี้ 1.ต้องสะดวกและไม่ยุ่งยากต่อการสืบค้นของผู้เรียน 2.ต้องมีความสอดคล้องตรงกันในแต่ละเว็บรวมถึงการเชื่อมโยงระหว่างเว็บต่างๆ 3.เวลาในการแสดงผลแต่ละหน้าจอจะต้องน้อยที่สุด หลีกเลี่ยงการใช้ภาพกราฟิกขนาดใหญ่ ที่ จะทาให้เสียเวลาในการดาวน์โหลด 4.มีส่วนที่ทาหน้าที่ในการจัดระบบในการเข้าสู่เว็บนักออกแบบควรกาหนดให้ผู้เรียนได้เข้าสู่ หน้าจอแรกที่มีคาอธิบายมีการแสดงโครงสร้างภายในเว็บ เพื่อทราบถึงขอบเขตที่ผู้เรียนจะสืบค้น 5.ควรมีความยืดหยุ่นในการสืบค้นแม้จะมีการแนะนาว่าผู้เรียนควรจะเรียนอย่างไรตามลาดับ ขั้นตอนก่อนหลังแต่ก็ควรเพิ่มความยืดหยุ่นให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเส้นทางการเรียนรู้ได้เอง 6.ต้องมีความยาวในหน้าจอให้น้อยแม้นักออกแบบส่วนใหญ่จะบอกว่าสามารถใช้ไฮเปอร์เท็กซ์ ช่วยในการเลื่อนไปมาในพื้นที่ส่วนต่างๆ ในหน้าจอแต่ในความเป็นจริงแล้วหน้าจอที่สั้น เป็นสิ่งที่ดีที่สุด 7.ไม่ควรมีจุดจบหรือกาหนดจุดสิ้นสุดที่ผู้เรียนไปไหนต่อไม่ได้ควรมีการสร้างในแบบวนเวียนให้ ผู้เรียนสามารถหาเส้นทางไปกลับระหว่างหน้าต่างๆได้ง่าย นอกจากนี้ยังควรให้ผู้เรียนสามารถกลับไป เรียนในจุดเริ่มต้นได้ด้วยโดยการคลิกเพียงครั้งเดียว สาหรับนักวิชาการศึกษาในประเทศไทยได้กล่าวถึง การออกแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ หลายท่านดังนี้
  • 15. 15 ปทีป เมธาคุณวุฒิ (2540) กล่าวว่าการออกแบบโครงสร้างของการเรียนการสอนผ่านเว็บควร จะประกอบด้วย 1. ข้อมูลเกี่ยวกับรายวิชา ภาพรวมรายวิชา (Course Overview) แสดงวัตถุประสงค์ของ รายวิชา สังเขปรายวิชาคาอธิบาย เกี่ยวกับหัวข้อการเรียนหรือหน่วยการเรียน 2. การเตรียมตัวของผู้เรียนหรือการปรับพื้นฐานผู้เรียน เพื่อที่จะเตรียมตัวเรียน 3. เนื้อหาบทเรียน พร้อมทั้งการเชื่อมโยงไปยังสื่อสนับสนุนต่างๆในเนื้อหาบทเรียนนั้นๆ 4. กิจกรรมที่มอบหมายให้ทาพร้อมทั้งการประเมินผล การกาหนดเวลาเรียนการส่งงาน 5. แบบฝึกหัดที่ผู้เรียนต้องการฝึกฝนตนเอง 6. การเชื่อมโยงไปแหล่งทรัพยากรที่สนับสนุนการศึกษาค้นคว้า 7. ตัวอย่างแบบทดสอบ ตัวอย่างรายงาน 8. ข้อมูลทั่วไป (Vital Information) แสดงข้อความที่จะติดต่อผู้สอนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องการ ลงทะเบียนค่าใช้จ่ายการได้รับหน่วยกิตและการเชื่อมโยงไปยังสถานศึกษาหรือหน่วยงานและมีการ เชื่อมโยงไปสู่รายละเอียดของหน้าที่เกี่ยวข้อง 9. ส่วนแสดงประวัติของผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง 10. ส่วนของการประกาศข่าว (Bulletin Board) 11. ห้องสนทนา (Chat Room) ที่เป็นการสนทนาในกลุ่มผู้เรียนและผู้สอน จากที่กล่าวมาการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดการอย่างจงใจและนาเสนอข้อมูลที่มี เป้าหมายเพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยเฉพาะดังนั้นการออกแบบเว็บช่วยสอนจึงต้องพิจารณาให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์และการจัดระเบียบของเนื้อหาในบทเรียนที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นไปอย่างมีระบบ 6. ประโยชน์การเรียนการสอนผ่านเว็บ ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บมีมากมายหลายประการทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ ของการนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป็นมิติใหม่ของเครื่องมือและกระบวนการในการเรียน การสอนโดยมีผู้กล่าวถึงประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ดังนี้ ถนอมพร เลาหจรัสแสง(2544) ได้กล่าวถึงการสอนบนเว็บมีข้อดีอยู่หลายประการ กล่าวคือ 1. การสอนบนเว็บเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกลหรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชั้นเรียน ได้เรียนในเวลาและสถานที่ ๆ ต้องการซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทางานหรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียน สามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้การที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่ กาหนดไว้จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาในด้านของข้อจากัดเกี่ยวกับเวลาและสถานที่ศึกษาของผู้เรียนเป็น อย่างดี 2. การสอนบนเว็บยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษาผู้เรียนที่ศึกษาอยู่ ในสถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับอาจารย์ ครูผู้สอนซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต่างประเทศก็ตาม 3. การสอนบนเว็บนี้ยังช่วยส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิตเนื่องจากเว็บเป็น แหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งสามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้