SlideShare a Scribd company logo
How to create a self-learning multimedia in Data Communication and network
จัดทำโดย
กมลพรรณ ศรีแก้ว
ครูชำนำญกำร
วิทยำลัยเทคนิคปรำจีนบุรี
จุดประสงค์รำยวิชำ เพื่อให้
1) เข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
2) มีทักษะในการใช้ ดูแลและบารุงรักษาระบบเครือข่าย
3) มีทักษะในการใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต
4) มีคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ และเจตคติที่ดีในวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สมรรถนะรำยวิชำ
1) แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
2) เลือกและติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายตามคู่มือ
3) ปรับแต่ง บารุงรักษาระบบปฏิบัติการเครือข่ายตามข้อกาหนด
Data Communication and network
คำอธิบำยรำยวิชำ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย การ
ติดตั้งระบบปฏิบัติการเครือข่ายการปรับแต่งและใช้งานระบบปฏิบัติการเครือข่าย การ
รับ-ส่งข้อมูลบนเครือข่าย การใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต การดูแลรักษาระบบเครือข่าย
และความปลอดภัยบนระบบเครือข่าย
HI!
มนุษย์เรำ ได้มีกำรคิดค้นและพัฒนำวิธีกำรสื่อสำรข้อมูลในรูปแบบต่ำง ๆ มำอย่ำง
ต่อเนื่องและยำวนำน นับตั้งแต่อดีตกำลจนถึงปัจจุบัน ซึ่งรูปแบบของกำรสื่อสำรข้อมูลจะแตกต่ำงกัน
ไป แยกตำมกลุ่มผู้ใช้และระยะเวลำแต่ลักษณะพื้นฐำนของกำรสื่อสำรที่เหมือนกัน คือ
1) ต้องมีอุปกรณ์สำหรับกำรส่งข่ำวสำร
2) วิธีกำรแปลงข่ำวสำรให้อยู่ในรูปแบบที่เหมำะสมเพื่อให้สำมำรถส่งผ่ำนอุปกรณ์ไปได้
ปัจจุบันนี้ กำรสื่อสำรข้อมูลทำให้โลกเรำซึ่งกว้ำงใหญ่ไพศำลดูเหมือนมีขนำดเล็กลง
เนื่องจำกควำมรวดเร็วในกำรรับ – ส่ง ข้อมูล ทำให้มนุษย์เรำสำมำรถทรำบข่ำวสำรที่เกิดขึ้นทุกหน
ทุกแห่งในโลกนี้ ทันทีที่เกิดข่ำวสำรนั้นขึ้น ดังนั้นกำรศึกษำเกี่ยวกับกำรสื่อสำรข้อมูลจึงถือเป็นสิ่ง
สำคัญและจำเป็นอย่ำงยิ่ง
1.2.1 ควำมหมำยของกำรสื่อสำรข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การส่งข้อมูลที่อยู่ในรูปเลขฐานสอง ที่เกิดจากอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2
เครื่องขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนแบ่งปันการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ให้เกิด
ประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด
1.2.2 องค์ประกอบของกำรสื่อสำรข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้ คือ
1) ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)
เป็นต้นทางของการสื่อสาร มีหน้าที่เตรียมข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดส่ง
2) ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)
เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารที่ผู้ส่งจัดส่งมาให้
3) สื่อกลำง (Medium)
เป็นเส้นทางการสื่อสาร เพื่อนาข้อมูลข่าวสารจากต้นทางไปยังปลายทางการสื่อสารนี้ อาจเป็นเส้นลวดทองแดง สายเคเบิล
สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นต่าง ๆ ที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ
4) ข่ำวสำร (Message)
เป็นสัญญาณที่ส่งผ่านไปในสื่อกลาง แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ คือ
- เสียง (Voice)
อาจเป็นเสียงของคน หรือเสียงที่ถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต่าง ๆ
สัญญาณเสียงเป็นสัญญาณที่กระจัดกระจายมีรูปแบบไม่แน่นอน ดังนั้นการส่งสัญญาณเสียงจึง
ควรส่งด้วยความเร็วต่า
- ข้อมูล (Data)
ส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบแน่นอน การส่ง
สัญญาณข้อมูลจึงสามารถส่งด้วยความเร็วสูง
- ข้อความ (Text)
ส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปแบบของอักขระหรือเอกสารมีรูปแบบไม่
แน่นอน การส่งสัญญาณข้อความจึงควรส่งด้วยความเร็วปานกลาง
- รูปภาพ (Image)
เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของกราฟิกต่าง ๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพวีดีโอ
ใช้ปริมาณเนื้อที่มาก การส่งสัญญาณรูปภาพควรส่งด้วยความเร็วสูง
5) โปรโตคอล (Protocal)
หมายถึง กฎระเบียบ หรือข้อตกลงที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจหรือ
พูดคุยกันได้
องค์ประกอบของกำรสื่อสำรข้อมูล
1.3.1 ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภำพของกำรสื่อสำรข้อมูล
1) ข่ำวสำร
ระบบการสื่อสารที่ดี ข้อมูลข่าวสารจะต้องสามารถเข้าใจได้ดีระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ตัวอย่าง เช่น
คนไทยพูดคุยกันด้วยภาษาไทย สามารถเข้าใจได้ดีกว่าภาษาอื่น
2) คุณลักษณะเฉพำะตัวของแต่ละองค์ประกอบของระบบกำรสื่อสำร
คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละองค์ประกอบของระบบการสื่อสารมีผลต่อประสิทธิภาพของ
การสื่อสารนั้น เช่น การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง โดยใช้สายใยแก้วนาแสง มีประสิทธิภาพ
ในการสื่อสารข้อมูลดีกว่าใช้สายคู่ตีเกลียว
สำยใยแก้วนำแสง
3) กำรรบกวน
ในระบบการสื่อสารข้อมูล ขณะที่ข่าวสารถูกส่งไปในสื่อกลางจะเกิดสัญญาณรบกวน เรียกว่า
Noise ซึ่งมีผลทาให้สัญญาณข่าวสารนั้นเกิดความผิดพลาดได้
เส้นลวดทองแดง
สำยใยแก้วนำแสง
สำยเคเบิ้ล
1.3.2 กฎเกณฑ์ที่ใช้ในกำรวัดประสิทธิภำพของกำรสื่อสำรข้อมูล
1) กำรถ่ำยโอน
หมายถึง การนาข่าวสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับปลายทางได้อย่างถูกต้อง
2) ควำมเที่ยงตรง
หมายถึง ข่าวสารที่ผู้รับได้รับมา จะต้องเป็นข่าวสารชุดเดียวกับข่าวสารที่ส่ง คือ มีความครบถ้วน
สมบูรณ์ และสามารถนาไปใช้ได้
3) เวลำ
หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการถ่ายโอนข่าวสารจากผู้ส่งจนถึงผู้รับ
ประวัติของการสื่อสารข้อมูลเริ่มตั้งแต่มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ยุคแรกมี
การประมวลผลแบบ Batch คือ มีการประมวลผลที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ (Host) เพียงที่เดียว ข้อมูลจากหน่วยงาน
ต่าง ๆ จะถูกส่งเข้ามาที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อทาการประมวลผลโดยคน รถไฟ รถยนต์ เป็นต้น
ปี ค.ศ. 1960 เริ่มมีการต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ระบบโทรศัพท์ ซึ่งข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ จะ
ถูกส่งเข้ามาที่ศูนย์คอมพิวเตอร์โดยใช้ระบบโทรศัพท์ และทาการประมวลผลแบบ Batch ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ เมื่อ
ได้ผลลัพธ์ออกมาก็จะส่งกลับไปยังที่เดิมโดยระบบโทรศัพท์ เรียกการประมวลผลลักษณะนี้ว่า Online Batch
ปี ค.ศ. 1970 เริ่มมีการใช้ระบบ Real Time คือ มีการส่งข้อมูลแต่ละรายการไปยังศูนย์คอมพิวเตอร์
เพื่อทาการประมวลผล เมื่อได้ผลลัพธ์ก็จะส่งกลับไปยังที่เดิมในเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งระบบ Real Time ในช่วงนี้มี
การใช้ฐานข้อมูลในลักษณะฐานข้อมูลแบบรวม (Centralized Database) โดยที่ฐานข้อมูลอยู่ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
เพียงที่เดียว เมื่อผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลก็สามารถเรียกใช้ได้จากศูนย์คอมพิวเตอร์
ปี ค.ศ. 1975 เริ่มใช้ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Database) โดยเก็บข้อมูลไว้ที่หน่วยงาน
แหล่งกาเนิดข้อมูล และมีการส่งข้อมูลที่จาเป็นระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ แต่ยังคงทาการประมวลผลที่ศูนย์
คอมพิวเตอร์เท่านั้น
ปี ค.ศ. 1980 เริ่มใช้ระบบการประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing) ซึ่งแหล่งกาเนิดข้อมูล
แต่ละแห่งจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมกับหน่วยจัดเก็บข้อมูล จึงทาให้สามารถประมวลผลและส่งข้อมูลที่จา
เป็นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ได้ การทางานลักษณะนี้เรียกว่า “เครือข่ายคอมพิวเตอร์” (Computer Network)
ปัจจุบันการสื่อสารข้อมูลมีบทบาทและสาคัญมากพอ ๆ กับความสาคัญทางด้านคอมพิวเตอร์ จนมีผู้กล่าว
กันว่า เทคโนโลยีปัจจุบันเป็นยุคของเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร (Computer and
Communication) ซึ่งการสื่อสารข้อมูลนั้นเปรียบได้กับโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เพราะปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์แบบเครื่องเดียว (Standalone) ได้ลดลงไป กลายเป็นการทางานแบบเครือข่าย
ที่มีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องเข้าด้วยกันโดยอาศัยการสื่อสารข้อมูลเข้ามาช่วย ทาให้ระบบการ
ทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นระบบแบบอัตโนมัติ เช่น Office Automation
ประโยชน์ของกำรสื่อสำรข้อมูล สำมำรถแบ่งออกเป็น ดังนี้คือ
1.5.1 กำรสื่อสำรข้อมูลเพื่อกำรบริหำรและจัดกำร
ตัวอย่ำง เช่น ในการทางานขององค์กรหนึ่ง ๆ มีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องหลาย
ชนิดสาหรับงานประเภทต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ในโรงงาน, คลังสิค้า, สานักงานใหญ่ และในสาขาต่าง ๆ
ซึ่งแต่ละแห่งตั้งอยู่ห่างกันแต่เพื่อให้การทางานและการจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการ
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เพื่อส่งข้อมูลที่จาเป็นระหว่างกันและกัน
เมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อสินค้าจากสาขา จะมีการส่งข้อมูลการสั่งซื้อนั้นไปยังคลังสินค้าเพื่อตัดสต๊อกสินค้า
และจัดส่งสินค้าไปให้ลูกค้า และเมื่อปริมาณสินค้าในสต๊อกต่ากว่าปริมาณที่กาหนดไว้ ก็จะส่งข้อมูลไปยัง
สานักงานใหญ่ เพื่อทาการจัดซื้อเพิ่มเติม นอกจากนี้ยังสามารถรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารงานโดย
ใช้ข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร และจากแหล่งต่าง ๆ ภายนอกองค์กร เพื่อประโยชน์ในการ
ตัดสินใจ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
1.5.2 กำรสื่อสำรข้อมูลเพื่อกำรบริกำร
เนื่องจากการติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถทาได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การบริการ
ด้านต่าง ๆ ได้มีการนาระบบการสื่อสารเข้ามาช่วยในการบริการ เช่น
- การบริการด้านข้อมูลข่าวสาร หรือ World Wide Web
- การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ รถทัวร์ และตั๋วภาพยนตร์
- Home Banking, Home Shopping
1.5.3 กำรสื่อสำรข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลมีบทบาทมากในด้านธุรกิจ เช่น งานด้านธนาคาร หรือตลาดหลักทรัพย์ ตัวอย่าง
เช่น ATM การซื้อขายหุ้น
1.5.4 กำรสื่อสำรข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข่ำวสำร
- ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
- ระบบไปรษณีย์เสียง (Voice Mail)
- การเล่นเกม สามารถเล่นข้ามประเทศได้
1.6.1 รหัสสำกลที่ใช้ในกำรแทนข้อมูล (Data Code)
โดยทั่ว ๆ ไปการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ จะเก็บในลักษณะของเลขฐานสอง คือ “0” และ “1” ซึ่ง
มีการกาหนดรูปแบบของการแทนข้อมูลต่าง ๆ กัน ดังนี้
- รหัสแทนข้อมูลแบบบีซีดี (BCD)
- รหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซีดิก (EBCDIC)
- รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกี (ASCII)
- รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE)
1. รหัสแทนข้อมูลแบบบีซีดี (BCD : Binary Code Decimal)
รหัสบีซีดี เป็นรหัสที่ใช้เลขฐานสองแทนเลขฐานสิบ ใช้จานวน 6 บิต เพื่อแทนข้อมูล 1 อักขระ ดังนั้นรหัสบี
ซีดีจึงสามารถสร้างรหัสที่มีความแตกต่างกันได้ 64 รหัส การกาหนดรหัสบีซีดีสาหรับ 1 อักขระนี้ ทาได้โดยแบ่ง
จานวน 6 บิต ออกเป็น 2 ส่วน คือ
Zone Bit ใช้ 2 บิตแรก
Digit Bit ใช้ 4 บิตหลัง
2. รหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซีดิก (EBCDC : Exten Binary-Coded Decimal Interchange Code)
เป็นรหัสแทนข้อมูลทีได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ของ บริษัท IBM
โดยเฉพาะ รหัสแทนข้อมูลแบบ EBCDIC ใช้จานวน 8 บิต เพื่อแทนตัวอักษรหนึ่งตัว จึงสามารถแทนตัวอักษรได้
สูงสุด 256 ตัวอักษร
3. รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกี (ASCII : American Standard Code for Information Inter change)
เป็นรหัสแทนข้อมูลที่มีการนามาใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ PC ในยุคแรก รหัส ASCII ใช้จานวน 7 บิต เพื่อ
แทนตัวอักษรหนึ่งตัว ดังนั้นการกาหนดรหัสแบบนี้สามารถแทนตัวอักษรได้สูงสุด 128 ตัวอักษร ซึ่งเพียงพอใน
การแทนตัวอักษรและสัญลักษณ์ในภาษาอังกฤษ ต่อมาเมื่อรหัส ASCII ถูกนาไปใช้ในหลายประเทศทั่วโลกทาให้
จานวนตัวอักษรและสัญลักษณ์ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน จึงได้มีการปรับปรุงรหัส ASCII ขึ้นใหม่โดยใช้จานวน 8
บิต เพื่อแทนตัวอักษรจานวนหนึ่งตัว ซึ่งสามารถแทนตัวอักษร และสัญลักษณ์ได้สูงสุด 256 ตัวอักษร
4. รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE)
รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเมื่อปี ค.ศ. 1983 โดยใช้จานวน 16 บิต เพื่อแทนตัวอักษร
หนึ่งตัว ดังนั้นรหัสแบบนี้สามารถแทนตัวอักษรได้สูงสุด 65,536 ตัวอักษร โดยแบ่งออกเป็น
- ตัวอักษร 128 ตัวแรก มีสัญลักษณ์เหมือนรหัส ASCII
- ส่วนที่เหลือใช้แทนตัวอักษรของภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาเกาหลี, รวมทั้งสัญลักษณ์
ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ
1.6.2 สัญญำณ (Signal)
สัญญำณ (Signal) หมายถึง ข้อมูลที่ถูกนามาทาการเข้ารหัส (Encoding) ให้อยู่ในรูปแบบที่
เหมาะสมเพื่อให้สามารถส่งผ่านไปในสื่อกลางได้
ตัวอย่ำง เช่น ข้อมูลที่เป็นรูปภาพ ซึ่งไม่สามารถนารูปภาพนั้นส่งผ่านสื่อกลางให้ไปถึงผู้รับได้ แต่
สามารถทาได้โดยการนารูปภาพนั้นมาจัดเก็บในรูปของข้อมูลดิจิตอล โดยวิธีการสแกนหรือถ่ายภาพดิจิตอล แล้วนา
ข้อมูลนั้นมาทาการเข้ารหัส ให้อยู่ในรูปของสัญญาณที่เหมาะสม แล้วทาการส่งผ่านสื่อกลางไปยังผู้รับ
สัญญำณอนำล็อก เป็นสัญญาณที่มีลักษณะเป็นคลื่นที่ต่อเนื่อง (Continuous Signal) ซึ่ง
สัญญาณอนาล็อกที่ถูกส่งไปในระยะทางไกล สัญญาณจะอ่อนตัวลง จึงต้องใช้อุปกรณ์ Amplifier เพื่อเพิ่มกาลัง
สัญญาณให้สามารถส่งไปในระยะทางไกลได้
สัญญำณดิจิตอล เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete / Discontinuous Signal) อยู่ในรูปแบบ
ของระดับแรงดันไฟฟ้าที่เป็นรูปคลื่นสี่เหลี่ยม (Square Wave) สามารถแทนค่าเลขฐานสอง “0” และ “1” ได้
การส่งสัญญาณดิจิตอลในระยะไกล สัญญาณนั้นจะอ่อนตัวลง ต้องใช้อุปกรณ์ทบทวนสัญญาณ
เรียกว่า Repeater ทาหน้าที่ทบทวน (Regenerate) สัญญาณให้คงรูปเดิม เพื่อให้สามารถส่งไปในระยะทางไกลได้
1.6.3 ช่องทำงกำรสื่อสำร (Channel)
ช่องทำงกำรสื่อสำร หมายถึง เส้นทางเพื่อให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ซึ่ง
ช่องทางการสื่อสารสามารถเปลี่ยนพลังงานอีกรูปหนึ่งได้
ตัวอย่ำง เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ เครื่องโทรศัพท์จะทาการเปลี่ยนพลังงานเสียง ไปเป็นพลังงาน
แม่เหล็กไฟฟ้า แล้วทาการส่งผ่านไปตามสายโทรศัพท์ และเครื่องโทรศัพท์ปลายทางก็จะทาการเปลี่ยนพลังงาน
แม่เหล็กไฟฟ้ากลับมาเป็นพลังงานเสียง
1.6.4 ชนิดช่องทำงกำรสื่อสำร (Channel Types)
ชนิดช่องทางการสื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
- ช่องทำงอนำล็อก เป็นการรับส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณต่อเนื่อง เช่น สัญญาณวิทยุ, สัญญาณโทรทัศน์
- ช่องทำงดิจิตอลเป็นการรับส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณไม่ต่อเนื่องเช่นสัญญาณข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
1.6.5 ช่องทำงบรอดแบนด์ (Broadband)
ช่องทางบรอดแบนด์ หมายถึง ช่องทางอนาล็อกที่สามารถส่งผ่านสัญญาณอนาล็อกได้หลาย ๆ สัญญาณ
ในเวลาเดียวกัน (แต่สัญญาณมีความถี่ต่างกัน)
1.6.6 ช่องทำงเบสแบนด์ (Baseband)
ช่องทางเบสแบนด์ หมายถึง ช่องทางดิจิตอลที่ใช้สาหรับส่งผ่านสัญญาณดิจิตอล
1.6.7 ควำมถี่ของสัญญำณ (Frequency)
ความถี่ของสัญญาณ หมายถึง จานวนครั้งหรือจานวนรอบของคลื่นสัญญาณใด ๆ ที่เกิดขึ้นในหนึ่ง
วินาที มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : HZ)
1.6.8 อัตรำบิต (Bit Rate)
อัตราบิต หมายถึง จานวนบิตสูงสุดที่สามารถผ่านช่องทางดิจิตอลไปได้ในเวลาหนึ่งวินาที หรือเรียกอีก
อย่างว่า อัตราความเร็วของการส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล มีหน่วยนับเป็น บิตต่อวินาที (Bits per second : bps)
1.6.9 อัตรำข้อมูล (Data Rate)
อัตราข้อมูล หมายถึง จานวนบิตของข้อมูลที่สามารถส่งผ่านช่องทางดิจิตอลได้จริง ดังนั้น อัตราข้อมูล
<= อัตราบิต
1.6.10 อัตรำบอด (Baud Rate)
อัตราบอด หมายถึง จานวนสัญญาณดิจิตอล (หรือสัญญาณอนาล็อกที่แปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล
แล้ว) ที่ส่งผ่านไปในช่องทางการสื่อสารในเวลาหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็นบอดต่อวินาที (Baud per second)
1.6.11 แบนด์วิดท์ (Bandwidth)
แบนด์วิดท์ หมายถึง ความจุของช่องทางการสื่อสาร หรือ ขีดจากัดที่ช่องทางการสื่อสารสามารถนา
ข่าวสารผ่านไปได้ในช่วงเวลาที่กาหนด เรียกอีกอย่างว่า แถบความถี่
แบนด์วิดท์ มีค่าเท่ากับความแตกต่างระหว่างความถี่ต่าสุดและความถี่สูงสุด มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์
1.6.12 กำรเข้ำรหัส (Encoding)
การเข้ารหัส หมายถึง การแปลงสัญญาณข้อมูลข่าวสารให้อยู่ในรูปของสัญญาณที่พร้อมจะส่งไปใน
ช่องทางการสื่อสาร
1.6.13 กำรถอดรหัส (Decoding)
การถอดรหัส หมายถึง การแปลงสัญญาณที่ส่งไปในช่องทางการสื่อสารให้กลับมาอยู่ในรูปของข้อมูล
ข่าวสารเดิม
1.6.14 สัญญำณรบกวน (Noise)
สัญญาณรบกวน หมายถึง พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ที่มีลักษณะไม่แน่นอน อาจเกิดขึ้นได้ทั้งผู้ส่ง
ผู้รับ และในช่องทางการสื่อสาร ซึ่งมีผลไปรบกวนหรือลดทอนสัญญาณข่าวสารที่ส่งผ่านไปในช่องทางการสื่อสาร ทา
ให้สัญญาณข่าวสารนั้นเกิดความผิดพลาดได้
การส่งข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านสื่อกลาง สามารถแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ
1.7.1 กำรส่งข้อมูลแบบทำงเดียว หรือซิมเพล็กซ์ (Simplex)
การส่งสัญญาณข้อมูลแบบทางเดียว มีลักษณะ ดังนี้
- มีช่องสัญญาณเพียงช่องสัญญาณเดียว
- ด้านหนึ่งเป็นผู้ส่ง และอีกด้านหนึ่งเป็นผู้รับ ไม่สามารถเปลี่ยนสถานะกันได้
- สามารถส่งข้อมูลได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น
- ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุต่าง ๆ การแพร่ภาพทางโทรทัศน์
กำรส่งข้อมูลแบบทำงเดียวผู้ส่ง ผู้รับ
1.7.2 กำรส่งข้อมูลแบบทำงใดทำงหนึ่ง หรือฮำร์ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex)
การส่งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง มีลักษณะดังนี้
- มีช่องสัญญาณเพียงช่องสัญญาณเดียว
- สามารถส่งข้อมูลสวนทางกัน แต่ต้องสลับเวลากันจะทาการส่งในเวลาเดียวกันไม่ได้
- ผู้รับจะต้องใช้เวลาในการตีความเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว เวลาที่ใช้นี้เรียกว่า Reaction Time
- เมื่อผู้รับทราบว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว จะต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผู้รับเป็นผู้ส่ง เวลาที่ใช้นี้
เรียกว่า Line Turnaround Time
- ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผู้รับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว และทาการเปลี่ยนสถานะจากผู้รับเป็นผู้ส่ง
เรียกว่า System Turnaround Time ซึ่งมีค่าเท่ากับ Reaction Time + Line Turnaround Time
- ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น วิทยุสื่อสาร
กำรส่งข้อมูลแบบทำงใดทำงหนึ่งผู้ส่ง ผู้รับ
1.7.3 กำรส่งข้อมูลแบบสองทำง หรือฟลูดูเพล็กซ์ (Full Duplex)
การส่งข้อมูลแบบสองทาง มีลักษณะ ดังนี้
- มีช่องสัญญาณ 2 ช่อง ดังนั้นจึงสามารถส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กันทั้งสองทาง
- ผู้รับจะต้องใช้เวลาในการตีความเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว เวลาที่ใช้นี้เรียกว่า Reaction Time
- ผู้รับไม่ต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผู้รับเป็นผู้ส่ง ดังนั้นการส่งข้อมูลแบบนี้จึงไม่มี Line Turnaround Time
- ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผู้รับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว และทาการส่งข้อมูลกลับไป เรียกว่า System
Turnaround Time ซึ่งมีค่าเท่ากับ Reaction Time
- ดังนั้น System Turnaround Time ของการส่งข้อมูลแบบ Full Duplex จะมีค่าน้อยกว่า System Turnaround
Time ของการส่งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง
- ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น ระบบโทรศัพท์
กำรส่งข้อมูลแบบสองทำง
ผู้ส่ง ผู้รับ
กำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบจุดต่อจุด
เป็นการเชื่อมโยงสื่อกลางระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่อง เท่านั้น หากอุปกรณ์ใดไม่มีสื่อกลางเชื่อมโยงถึงกัน จะต้อง
ติดต่อสื่อสารผ่านอุปกรณ์ที่อยู่ติดกัน เพื่อส่งข้อมูลเป็นทอด ๆ ไป จนถึงอุปกรณ์ปลายทาง ซึ่งสื่อกลางระหว่างอุปกรณ์ต้น
ทาง และอุปกรณ์ปลายทางจะถูกจองการใช้งานตลอดเวลา ดังนั้นการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบนี้ จึงเหมาะกับงานที่มีการ
รับ/ส่งข้อมูลมาก ๆ และต่อเนื่องตลอดเวลา
คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1
ข้อดีของกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบจุดต่อจุด
- เนื่องจากเป็นการเชื่อมโยงโดยตรงระหว่างอุปกรณ์ 2เครื่อง ดังนั้นช่องทางการสื่อสารจึงถูกใช้อย่างเต็มที่ โดยไม่มี
อุปกรณ์อื่น ๆ มาร่วมใช้งาน
- มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง
ข้อเสียของกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบจุดต่อจุด
- หากมีการเพิ่มอุปกรณ์สื่อสารในเครือข่าย จะต้องเพิ่มสื่อกลาง เพื่อใช้เป็นช่องทางการสื่อสารด้วย ดังนั้น
ในเครือข่ายแบบนี้ ถ้ามีอุปกรณ์การสื่อสารยิ่งมาก ค่าใช้จ่ายในเรื่องสื่อกลางก็จะยิ่งทวีเพิ่มขึ้น
คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1
กำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบหลำยจุด หรือกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบแพร่กระจำย
เนื่องจากการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้นเปลืองสื่อกลาง การส่งข้อมูลในแต่ละครั้งมักใช้สื่อกลางไม่เต็ม
ประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงได้มีการพัฒนาการเชื่อมโยงเครือข่าย โดยใช้ช่องสัญญาณของสื่อกลางเดียว แต่สามารถเชื่อมโยง
อุปกรณ์ได้หลายเครื่องพร้อม ๆ กัน ซึ่งข้อมูลที่ส่งออกมาจากผู้ส่งจะแพร่กระจายไปยังจุดทุกจุดในช่องสัญญาณนั้น
การส่งข้อมูลในเครือข่ายแบบหลายจุดนี้ จะต้องมีการกาหนดตาแหน่ง (Address) ของอุปกรณ์ปลายทาง (ผู้รับ)
รวมไปกับข้อมูล
Host Computer
คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 2
คอมพิวเตอร์ 3
กรณีที่อุปกรณ์แต่ละเครื่องที่ใช้ช่องสัญญาณเดียวกัน ทาการส่งข้อมูลออกมาพร้อมกัน ข้อมูลจะชนกัน ทาให้
เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ จึงต้องมีศูนย์กลางเพื่อทาหน้าที่ควบคุมทิศทางของข้อมูลและแบ่งการใช้ช่องทางการสื่อสาร
การเชื่อมโยงเครือข่ายแบบหลายจุด เหมาะสาหรับการรับ/ส่งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง และในการส่งข้อมูลแต่ละ
ครั้งมีจานวนไม่มาก
Host Computer
คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 2
คอมพิวเตอร์ 3
ในการสื่อสารข้อมูลอุปกรณ์ของผู้ส่งและอุปกรณ์ของผู้รับ จะต้องใช้วิธีการส่งข้อมูล (Transmission)
การเชื่อมต่อ (Interface) การเข้ารหัส (Encoding) และวิธีการตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล (Error
Detection) ในรูปแบบเดียวกัน
ดังนั้นเพื่อความเป็นระเบียบ และความสะดวกที่ผู้ใช้อุปกรณ์การสื่อสาร ข้อมูล สามารถนามาใช้ได้โดยไม่
ต้องกังวลว่าอุปกรณ์เหล่านั้นจะสื่อสารกันได้หรือไม่ ดังนั้นจึงได้มีการกาหนดมาตรฐานสากล สาหรับการ
สื่อสารข้อมูล ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) มำตรฐำนโดยนิตินัย หรือมำตรฐำนแบบเดอ จูเร (De Jure Standard)
แบบเดอ จูเร เป็นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรที่ไม่แสวงหาผลตอบแทน ซึ่งมาตรฐานต่าง ๆ
ถูกกาหนดโดยคณะกรรมการที่ผ่านการประชุมเห็นชอบ มีการวางแผนการไว้ล่วงหน้า เป็นการกาหนดเพื่อคน
ส่วนใหญ่ เรียกว่า ระบบเปิด
2) มำตรฐำนโดยพฤตินัย หรือมำตรฐำนแบบเดอ ฟัคโต (De Facto Standard)
แบบเดอ ฟัคโต เป็นมาตรฐานที่เกิดขึ้นโดยไม่มีคณะกรรมการ ไม่มีการวางแผนการล่วงหน้า ไม่มีการ
ประกาศมาตรฐานให้ปฏิบัติการ แต่เกิดจากผู้ใช้มีความนิยมในผลิตภัณฑ์ชนิดนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
IBM PC ได้กลายเป็นมาตรฐานเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่เกิดจากโครงการ
ARPRANET ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันได้แพร่หลายไปทั่วโลก กลายเป็นมาตรฐานของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่ง เรียกอีกอย่างว่า ระบบปิด
“จบหน่วยที่ 1”

More Related Content

What's hot

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
Amonrat
AmonratAmonrat
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์jatesada5803
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34
achibeebee
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
กาญจนา อรอินทร์
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Meaw Sukee
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
Anisra Roya
 

What's hot (20)

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
03 software
03 software03 software
03 software
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ.pdf
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
 

Similar to บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล

กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบthanathip
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computingAyutthaya GIS
 
SA Chapter 11
SA Chapter 11SA Chapter 11
SA Chapter 11
Nuth Otanasap
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
Is201ch01 Laddawan
Is201ch01 LaddawanIs201ch01 Laddawan
Is201ch01 Laddawan
Peter Ractham
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
สร้อยเพชร วุฒิงาม
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
Teetut Tresirichod
 

Similar to บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล (20)

กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
 
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
 
SA Chapter 11
SA Chapter 11SA Chapter 11
SA Chapter 11
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
Is201ch01 Laddawan
Is201ch01 LaddawanIs201ch01 Laddawan
Is201ch01 Laddawan
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 

Recently uploaded

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (6)

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 

บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล

  • 1. How to create a self-learning multimedia in Data Communication and network จัดทำโดย กมลพรรณ ศรีแก้ว ครูชำนำญกำร วิทยำลัยเทคนิคปรำจีนบุรี
  • 2. จุดประสงค์รำยวิชำ เพื่อให้ 1) เข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย 2) มีทักษะในการใช้ ดูแลและบารุงรักษาระบบเครือข่าย 3) มีทักษะในการใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต 4) มีคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ และเจตคติที่ดีในวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สมรรถนะรำยวิชำ 1) แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย 2) เลือกและติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายตามคู่มือ 3) ปรับแต่ง บารุงรักษาระบบปฏิบัติการเครือข่ายตามข้อกาหนด Data Communication and network
  • 3. คำอธิบำยรำยวิชำ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย การ ติดตั้งระบบปฏิบัติการเครือข่ายการปรับแต่งและใช้งานระบบปฏิบัติการเครือข่าย การ รับ-ส่งข้อมูลบนเครือข่าย การใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต การดูแลรักษาระบบเครือข่าย และความปลอดภัยบนระบบเครือข่าย
  • 4. HI!
  • 5. มนุษย์เรำ ได้มีกำรคิดค้นและพัฒนำวิธีกำรสื่อสำรข้อมูลในรูปแบบต่ำง ๆ มำอย่ำง ต่อเนื่องและยำวนำน นับตั้งแต่อดีตกำลจนถึงปัจจุบัน ซึ่งรูปแบบของกำรสื่อสำรข้อมูลจะแตกต่ำงกัน ไป แยกตำมกลุ่มผู้ใช้และระยะเวลำแต่ลักษณะพื้นฐำนของกำรสื่อสำรที่เหมือนกัน คือ 1) ต้องมีอุปกรณ์สำหรับกำรส่งข่ำวสำร 2) วิธีกำรแปลงข่ำวสำรให้อยู่ในรูปแบบที่เหมำะสมเพื่อให้สำมำรถส่งผ่ำนอุปกรณ์ไปได้ ปัจจุบันนี้ กำรสื่อสำรข้อมูลทำให้โลกเรำซึ่งกว้ำงใหญ่ไพศำลดูเหมือนมีขนำดเล็กลง เนื่องจำกควำมรวดเร็วในกำรรับ – ส่ง ข้อมูล ทำให้มนุษย์เรำสำมำรถทรำบข่ำวสำรที่เกิดขึ้นทุกหน ทุกแห่งในโลกนี้ ทันทีที่เกิดข่ำวสำรนั้นขึ้น ดังนั้นกำรศึกษำเกี่ยวกับกำรสื่อสำรข้อมูลจึงถือเป็นสิ่ง สำคัญและจำเป็นอย่ำงยิ่ง
  • 6. 1.2.1 ควำมหมำยของกำรสื่อสำรข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การส่งข้อมูลที่อยู่ในรูปเลขฐานสอง ที่เกิดจากอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการติดต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนแบ่งปันการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ให้เกิด ประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด
  • 7. 1.2.2 องค์ประกอบของกำรสื่อสำรข้อมูล ระบบการสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบพื้นฐาน 5 ประการ ดังนี้ คือ 1) ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสาร มีหน้าที่เตรียมข้อมูลข่าวสารเพื่อจัดส่ง 2) ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารที่ผู้ส่งจัดส่งมาให้ 3) สื่อกลำง (Medium) เป็นเส้นทางการสื่อสาร เพื่อนาข้อมูลข่าวสารจากต้นทางไปยังปลายทางการสื่อสารนี้ อาจเป็นเส้นลวดทองแดง สายเคเบิล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นต่าง ๆ ที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ
  • 8. 4) ข่ำวสำร (Message) เป็นสัญญาณที่ส่งผ่านไปในสื่อกลาง แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ คือ - เสียง (Voice) อาจเป็นเสียงของคน หรือเสียงที่ถูกสร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต่าง ๆ สัญญาณเสียงเป็นสัญญาณที่กระจัดกระจายมีรูปแบบไม่แน่นอน ดังนั้นการส่งสัญญาณเสียงจึง ควรส่งด้วยความเร็วต่า - ข้อมูล (Data) ส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบแน่นอน การส่ง สัญญาณข้อมูลจึงสามารถส่งด้วยความเร็วสูง - ข้อความ (Text) ส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปแบบของอักขระหรือเอกสารมีรูปแบบไม่ แน่นอน การส่งสัญญาณข้อความจึงควรส่งด้วยความเร็วปานกลาง - รูปภาพ (Image) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของกราฟิกต่าง ๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพวีดีโอ ใช้ปริมาณเนื้อที่มาก การส่งสัญญาณรูปภาพควรส่งด้วยความเร็วสูง
  • 9. 5) โปรโตคอล (Protocal) หมายถึง กฎระเบียบ หรือข้อตกลงที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจหรือ พูดคุยกันได้ องค์ประกอบของกำรสื่อสำรข้อมูล
  • 10. 1.3.1 ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภำพของกำรสื่อสำรข้อมูล 1) ข่ำวสำร ระบบการสื่อสารที่ดี ข้อมูลข่าวสารจะต้องสามารถเข้าใจได้ดีระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ตัวอย่าง เช่น คนไทยพูดคุยกันด้วยภาษาไทย สามารถเข้าใจได้ดีกว่าภาษาอื่น
  • 11. 2) คุณลักษณะเฉพำะตัวของแต่ละองค์ประกอบของระบบกำรสื่อสำร คุณลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละองค์ประกอบของระบบการสื่อสารมีผลต่อประสิทธิภาพของ การสื่อสารนั้น เช่น การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง โดยใช้สายใยแก้วนาแสง มีประสิทธิภาพ ในการสื่อสารข้อมูลดีกว่าใช้สายคู่ตีเกลียว สำยใยแก้วนำแสง
  • 12. 3) กำรรบกวน ในระบบการสื่อสารข้อมูล ขณะที่ข่าวสารถูกส่งไปในสื่อกลางจะเกิดสัญญาณรบกวน เรียกว่า Noise ซึ่งมีผลทาให้สัญญาณข่าวสารนั้นเกิดความผิดพลาดได้ เส้นลวดทองแดง สำยใยแก้วนำแสง สำยเคเบิ้ล
  • 13. 1.3.2 กฎเกณฑ์ที่ใช้ในกำรวัดประสิทธิภำพของกำรสื่อสำรข้อมูล 1) กำรถ่ำยโอน หมายถึง การนาข่าวสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับปลายทางได้อย่างถูกต้อง 2) ควำมเที่ยงตรง หมายถึง ข่าวสารที่ผู้รับได้รับมา จะต้องเป็นข่าวสารชุดเดียวกับข่าวสารที่ส่ง คือ มีความครบถ้วน สมบูรณ์ และสามารถนาไปใช้ได้ 3) เวลำ หมายถึง ระยะเวลาที่ใช้ในการถ่ายโอนข่าวสารจากผู้ส่งจนถึงผู้รับ
  • 14. ประวัติของการสื่อสารข้อมูลเริ่มตั้งแต่มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ยุคแรกมี การประมวลผลแบบ Batch คือ มีการประมวลผลที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ (Host) เพียงที่เดียว ข้อมูลจากหน่วยงาน ต่าง ๆ จะถูกส่งเข้ามาที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อทาการประมวลผลโดยคน รถไฟ รถยนต์ เป็นต้น ปี ค.ศ. 1960 เริ่มมีการต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้ระบบโทรศัพท์ ซึ่งข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ จะ ถูกส่งเข้ามาที่ศูนย์คอมพิวเตอร์โดยใช้ระบบโทรศัพท์ และทาการประมวลผลแบบ Batch ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ เมื่อ ได้ผลลัพธ์ออกมาก็จะส่งกลับไปยังที่เดิมโดยระบบโทรศัพท์ เรียกการประมวลผลลักษณะนี้ว่า Online Batch ปี ค.ศ. 1970 เริ่มมีการใช้ระบบ Real Time คือ มีการส่งข้อมูลแต่ละรายการไปยังศูนย์คอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผล เมื่อได้ผลลัพธ์ก็จะส่งกลับไปยังที่เดิมในเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งระบบ Real Time ในช่วงนี้มี การใช้ฐานข้อมูลในลักษณะฐานข้อมูลแบบรวม (Centralized Database) โดยที่ฐานข้อมูลอยู่ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ เพียงที่เดียว เมื่อผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลก็สามารถเรียกใช้ได้จากศูนย์คอมพิวเตอร์
  • 15. ปี ค.ศ. 1975 เริ่มใช้ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Database) โดยเก็บข้อมูลไว้ที่หน่วยงาน แหล่งกาเนิดข้อมูล และมีการส่งข้อมูลที่จาเป็นระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ แต่ยังคงทาการประมวลผลที่ศูนย์ คอมพิวเตอร์เท่านั้น ปี ค.ศ. 1980 เริ่มใช้ระบบการประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing) ซึ่งแหล่งกาเนิดข้อมูล แต่ละแห่งจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมกับหน่วยจัดเก็บข้อมูล จึงทาให้สามารถประมวลผลและส่งข้อมูลที่จา เป็นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ได้ การทางานลักษณะนี้เรียกว่า “เครือข่ายคอมพิวเตอร์” (Computer Network)
  • 16. ปัจจุบันการสื่อสารข้อมูลมีบทบาทและสาคัญมากพอ ๆ กับความสาคัญทางด้านคอมพิวเตอร์ จนมีผู้กล่าว กันว่า เทคโนโลยีปัจจุบันเป็นยุคของเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร (Computer and Communication) ซึ่งการสื่อสารข้อมูลนั้นเปรียบได้กับโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพราะปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์แบบเครื่องเดียว (Standalone) ได้ลดลงไป กลายเป็นการทางานแบบเครือข่าย ที่มีการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องเข้าด้วยกันโดยอาศัยการสื่อสารข้อมูลเข้ามาช่วย ทาให้ระบบการ ทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นระบบแบบอัตโนมัติ เช่น Office Automation
  • 17. ประโยชน์ของกำรสื่อสำรข้อมูล สำมำรถแบ่งออกเป็น ดังนี้คือ 1.5.1 กำรสื่อสำรข้อมูลเพื่อกำรบริหำรและจัดกำร ตัวอย่ำง เช่น ในการทางานขององค์กรหนึ่ง ๆ มีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องหลาย ชนิดสาหรับงานประเภทต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ในโรงงาน, คลังสิค้า, สานักงานใหญ่ และในสาขาต่าง ๆ ซึ่งแต่ละแห่งตั้งอยู่ห่างกันแต่เพื่อให้การทางานและการจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เพื่อส่งข้อมูลที่จาเป็นระหว่างกันและกัน
  • 18. เมื่อมีลูกค้าสั่งซื้อสินค้าจากสาขา จะมีการส่งข้อมูลการสั่งซื้อนั้นไปยังคลังสินค้าเพื่อตัดสต๊อกสินค้า และจัดส่งสินค้าไปให้ลูกค้า และเมื่อปริมาณสินค้าในสต๊อกต่ากว่าปริมาณที่กาหนดไว้ ก็จะส่งข้อมูลไปยัง สานักงานใหญ่ เพื่อทาการจัดซื้อเพิ่มเติม นอกจากนี้ยังสามารถรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารงานโดย ใช้ข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร และจากแหล่งต่าง ๆ ภายนอกองค์กร เพื่อประโยชน์ในการ ตัดสินใจ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
  • 19. 1.5.2 กำรสื่อสำรข้อมูลเพื่อกำรบริกำร เนื่องจากการติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถทาได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การบริการ ด้านต่าง ๆ ได้มีการนาระบบการสื่อสารเข้ามาช่วยในการบริการ เช่น - การบริการด้านข้อมูลข่าวสาร หรือ World Wide Web - การจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ รถทัวร์ และตั๋วภาพยนตร์ - Home Banking, Home Shopping
  • 20. 1.5.3 กำรสื่อสำรข้อมูล การสื่อสารข้อมูลมีบทบาทมากในด้านธุรกิจ เช่น งานด้านธนาคาร หรือตลาดหลักทรัพย์ ตัวอย่าง เช่น ATM การซื้อขายหุ้น
  • 21. 1.5.4 กำรสื่อสำรข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข่ำวสำร - ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) - ระบบไปรษณีย์เสียง (Voice Mail) - การเล่นเกม สามารถเล่นข้ามประเทศได้
  • 22. 1.6.1 รหัสสำกลที่ใช้ในกำรแทนข้อมูล (Data Code) โดยทั่ว ๆ ไปการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ จะเก็บในลักษณะของเลขฐานสอง คือ “0” และ “1” ซึ่ง มีการกาหนดรูปแบบของการแทนข้อมูลต่าง ๆ กัน ดังนี้ - รหัสแทนข้อมูลแบบบีซีดี (BCD) - รหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซีดิก (EBCDIC) - รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกี (ASCII) - รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE) 1. รหัสแทนข้อมูลแบบบีซีดี (BCD : Binary Code Decimal) รหัสบีซีดี เป็นรหัสที่ใช้เลขฐานสองแทนเลขฐานสิบ ใช้จานวน 6 บิต เพื่อแทนข้อมูล 1 อักขระ ดังนั้นรหัสบี ซีดีจึงสามารถสร้างรหัสที่มีความแตกต่างกันได้ 64 รหัส การกาหนดรหัสบีซีดีสาหรับ 1 อักขระนี้ ทาได้โดยแบ่ง จานวน 6 บิต ออกเป็น 2 ส่วน คือ Zone Bit ใช้ 2 บิตแรก Digit Bit ใช้ 4 บิตหลัง
  • 23. 2. รหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซีดิก (EBCDC : Exten Binary-Coded Decimal Interchange Code) เป็นรหัสแทนข้อมูลทีได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ของ บริษัท IBM โดยเฉพาะ รหัสแทนข้อมูลแบบ EBCDIC ใช้จานวน 8 บิต เพื่อแทนตัวอักษรหนึ่งตัว จึงสามารถแทนตัวอักษรได้ สูงสุด 256 ตัวอักษร 3. รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกี (ASCII : American Standard Code for Information Inter change) เป็นรหัสแทนข้อมูลที่มีการนามาใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ PC ในยุคแรก รหัส ASCII ใช้จานวน 7 บิต เพื่อ แทนตัวอักษรหนึ่งตัว ดังนั้นการกาหนดรหัสแบบนี้สามารถแทนตัวอักษรได้สูงสุด 128 ตัวอักษร ซึ่งเพียงพอใน การแทนตัวอักษรและสัญลักษณ์ในภาษาอังกฤษ ต่อมาเมื่อรหัส ASCII ถูกนาไปใช้ในหลายประเทศทั่วโลกทาให้ จานวนตัวอักษรและสัญลักษณ์ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน จึงได้มีการปรับปรุงรหัส ASCII ขึ้นใหม่โดยใช้จานวน 8 บิต เพื่อแทนตัวอักษรจานวนหนึ่งตัว ซึ่งสามารถแทนตัวอักษร และสัญลักษณ์ได้สูงสุด 256 ตัวอักษร
  • 24. 4. รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด (UNICODE) รหัสแทนข้อมูลแบบยูนิโค้ด ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเมื่อปี ค.ศ. 1983 โดยใช้จานวน 16 บิต เพื่อแทนตัวอักษร หนึ่งตัว ดังนั้นรหัสแบบนี้สามารถแทนตัวอักษรได้สูงสุด 65,536 ตัวอักษร โดยแบ่งออกเป็น - ตัวอักษร 128 ตัวแรก มีสัญลักษณ์เหมือนรหัส ASCII - ส่วนที่เหลือใช้แทนตัวอักษรของภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาเกาหลี, รวมทั้งสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ
  • 25. 1.6.2 สัญญำณ (Signal) สัญญำณ (Signal) หมายถึง ข้อมูลที่ถูกนามาทาการเข้ารหัส (Encoding) ให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมเพื่อให้สามารถส่งผ่านไปในสื่อกลางได้ ตัวอย่ำง เช่น ข้อมูลที่เป็นรูปภาพ ซึ่งไม่สามารถนารูปภาพนั้นส่งผ่านสื่อกลางให้ไปถึงผู้รับได้ แต่ สามารถทาได้โดยการนารูปภาพนั้นมาจัดเก็บในรูปของข้อมูลดิจิตอล โดยวิธีการสแกนหรือถ่ายภาพดิจิตอล แล้วนา ข้อมูลนั้นมาทาการเข้ารหัส ให้อยู่ในรูปของสัญญาณที่เหมาะสม แล้วทาการส่งผ่านสื่อกลางไปยังผู้รับ
  • 26. สัญญำณอนำล็อก เป็นสัญญาณที่มีลักษณะเป็นคลื่นที่ต่อเนื่อง (Continuous Signal) ซึ่ง สัญญาณอนาล็อกที่ถูกส่งไปในระยะทางไกล สัญญาณจะอ่อนตัวลง จึงต้องใช้อุปกรณ์ Amplifier เพื่อเพิ่มกาลัง สัญญาณให้สามารถส่งไปในระยะทางไกลได้
  • 27. สัญญำณดิจิตอล เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete / Discontinuous Signal) อยู่ในรูปแบบ ของระดับแรงดันไฟฟ้าที่เป็นรูปคลื่นสี่เหลี่ยม (Square Wave) สามารถแทนค่าเลขฐานสอง “0” และ “1” ได้ การส่งสัญญาณดิจิตอลในระยะไกล สัญญาณนั้นจะอ่อนตัวลง ต้องใช้อุปกรณ์ทบทวนสัญญาณ เรียกว่า Repeater ทาหน้าที่ทบทวน (Regenerate) สัญญาณให้คงรูปเดิม เพื่อให้สามารถส่งไปในระยะทางไกลได้
  • 28. 1.6.3 ช่องทำงกำรสื่อสำร (Channel) ช่องทำงกำรสื่อสำร หมายถึง เส้นทางเพื่อให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ซึ่ง ช่องทางการสื่อสารสามารถเปลี่ยนพลังงานอีกรูปหนึ่งได้ ตัวอย่ำง เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์ เครื่องโทรศัพท์จะทาการเปลี่ยนพลังงานเสียง ไปเป็นพลังงาน แม่เหล็กไฟฟ้า แล้วทาการส่งผ่านไปตามสายโทรศัพท์ และเครื่องโทรศัพท์ปลายทางก็จะทาการเปลี่ยนพลังงาน แม่เหล็กไฟฟ้ากลับมาเป็นพลังงานเสียง 1.6.4 ชนิดช่องทำงกำรสื่อสำร (Channel Types) ชนิดช่องทางการสื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ - ช่องทำงอนำล็อก เป็นการรับส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณต่อเนื่อง เช่น สัญญาณวิทยุ, สัญญาณโทรทัศน์ - ช่องทำงดิจิตอลเป็นการรับส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณไม่ต่อเนื่องเช่นสัญญาณข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ 1.6.5 ช่องทำงบรอดแบนด์ (Broadband) ช่องทางบรอดแบนด์ หมายถึง ช่องทางอนาล็อกที่สามารถส่งผ่านสัญญาณอนาล็อกได้หลาย ๆ สัญญาณ ในเวลาเดียวกัน (แต่สัญญาณมีความถี่ต่างกัน)
  • 29. 1.6.6 ช่องทำงเบสแบนด์ (Baseband) ช่องทางเบสแบนด์ หมายถึง ช่องทางดิจิตอลที่ใช้สาหรับส่งผ่านสัญญาณดิจิตอล 1.6.7 ควำมถี่ของสัญญำณ (Frequency) ความถี่ของสัญญาณ หมายถึง จานวนครั้งหรือจานวนรอบของคลื่นสัญญาณใด ๆ ที่เกิดขึ้นในหนึ่ง วินาที มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ (Hertz : HZ) 1.6.8 อัตรำบิต (Bit Rate) อัตราบิต หมายถึง จานวนบิตสูงสุดที่สามารถผ่านช่องทางดิจิตอลไปได้ในเวลาหนึ่งวินาที หรือเรียกอีก อย่างว่า อัตราความเร็วของการส่งผ่านข้อมูลดิจิตอล มีหน่วยนับเป็น บิตต่อวินาที (Bits per second : bps) 1.6.9 อัตรำข้อมูล (Data Rate) อัตราข้อมูล หมายถึง จานวนบิตของข้อมูลที่สามารถส่งผ่านช่องทางดิจิตอลได้จริง ดังนั้น อัตราข้อมูล <= อัตราบิต 1.6.10 อัตรำบอด (Baud Rate) อัตราบอด หมายถึง จานวนสัญญาณดิจิตอล (หรือสัญญาณอนาล็อกที่แปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล แล้ว) ที่ส่งผ่านไปในช่องทางการสื่อสารในเวลาหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็นบอดต่อวินาที (Baud per second)
  • 30. 1.6.11 แบนด์วิดท์ (Bandwidth) แบนด์วิดท์ หมายถึง ความจุของช่องทางการสื่อสาร หรือ ขีดจากัดที่ช่องทางการสื่อสารสามารถนา ข่าวสารผ่านไปได้ในช่วงเวลาที่กาหนด เรียกอีกอย่างว่า แถบความถี่ แบนด์วิดท์ มีค่าเท่ากับความแตกต่างระหว่างความถี่ต่าสุดและความถี่สูงสุด มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ 1.6.12 กำรเข้ำรหัส (Encoding) การเข้ารหัส หมายถึง การแปลงสัญญาณข้อมูลข่าวสารให้อยู่ในรูปของสัญญาณที่พร้อมจะส่งไปใน ช่องทางการสื่อสาร 1.6.13 กำรถอดรหัส (Decoding) การถอดรหัส หมายถึง การแปลงสัญญาณที่ส่งไปในช่องทางการสื่อสารให้กลับมาอยู่ในรูปของข้อมูล ข่าวสารเดิม 1.6.14 สัญญำณรบกวน (Noise) สัญญาณรบกวน หมายถึง พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ที่มีลักษณะไม่แน่นอน อาจเกิดขึ้นได้ทั้งผู้ส่ง ผู้รับ และในช่องทางการสื่อสาร ซึ่งมีผลไปรบกวนหรือลดทอนสัญญาณข่าวสารที่ส่งผ่านไปในช่องทางการสื่อสาร ทา ให้สัญญาณข่าวสารนั้นเกิดความผิดพลาดได้
  • 31. การส่งข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านสื่อกลาง สามารถแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ 1.7.1 กำรส่งข้อมูลแบบทำงเดียว หรือซิมเพล็กซ์ (Simplex) การส่งสัญญาณข้อมูลแบบทางเดียว มีลักษณะ ดังนี้ - มีช่องสัญญาณเพียงช่องสัญญาณเดียว - ด้านหนึ่งเป็นผู้ส่ง และอีกด้านหนึ่งเป็นผู้รับ ไม่สามารถเปลี่ยนสถานะกันได้ - สามารถส่งข้อมูลได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น - ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น การกระจายเสียงของสถานีวิทยุต่าง ๆ การแพร่ภาพทางโทรทัศน์ กำรส่งข้อมูลแบบทำงเดียวผู้ส่ง ผู้รับ
  • 32. 1.7.2 กำรส่งข้อมูลแบบทำงใดทำงหนึ่ง หรือฮำร์ฟดูเพล็กซ์ (Half Duplex) การส่งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง มีลักษณะดังนี้ - มีช่องสัญญาณเพียงช่องสัญญาณเดียว - สามารถส่งข้อมูลสวนทางกัน แต่ต้องสลับเวลากันจะทาการส่งในเวลาเดียวกันไม่ได้ - ผู้รับจะต้องใช้เวลาในการตีความเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว เวลาที่ใช้นี้เรียกว่า Reaction Time - เมื่อผู้รับทราบว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว จะต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผู้รับเป็นผู้ส่ง เวลาที่ใช้นี้ เรียกว่า Line Turnaround Time - ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผู้รับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว และทาการเปลี่ยนสถานะจากผู้รับเป็นผู้ส่ง เรียกว่า System Turnaround Time ซึ่งมีค่าเท่ากับ Reaction Time + Line Turnaround Time - ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น วิทยุสื่อสาร กำรส่งข้อมูลแบบทำงใดทำงหนึ่งผู้ส่ง ผู้รับ
  • 33. 1.7.3 กำรส่งข้อมูลแบบสองทำง หรือฟลูดูเพล็กซ์ (Full Duplex) การส่งข้อมูลแบบสองทาง มีลักษณะ ดังนี้ - มีช่องสัญญาณ 2 ช่อง ดังนั้นจึงสามารถส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กันทั้งสองทาง - ผู้รับจะต้องใช้เวลาในการตีความเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว เวลาที่ใช้นี้เรียกว่า Reaction Time - ผู้รับไม่ต้องใช้เวลาในการเปลี่ยนสถานะจากผู้รับเป็นผู้ส่ง ดังนั้นการส่งข้อมูลแบบนี้จึงไม่มี Line Turnaround Time - ช่วงเวลาทั้งหมดที่ผู้รับใช้เพื่อตีความว่าข้อมูลจากผู้ส่งหมดแล้ว และทาการส่งข้อมูลกลับไป เรียกว่า System Turnaround Time ซึ่งมีค่าเท่ากับ Reaction Time - ดังนั้น System Turnaround Time ของการส่งข้อมูลแบบ Full Duplex จะมีค่าน้อยกว่า System Turnaround Time ของการส่งข้อมูลแบบทางใดทางหนึ่ง - ตัวอย่างการส่งข้อมูลแบบนี้ เช่น ระบบโทรศัพท์ กำรส่งข้อมูลแบบสองทำง ผู้ส่ง ผู้รับ
  • 34. กำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบจุดต่อจุด เป็นการเชื่อมโยงสื่อกลางระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่อง เท่านั้น หากอุปกรณ์ใดไม่มีสื่อกลางเชื่อมโยงถึงกัน จะต้อง ติดต่อสื่อสารผ่านอุปกรณ์ที่อยู่ติดกัน เพื่อส่งข้อมูลเป็นทอด ๆ ไป จนถึงอุปกรณ์ปลายทาง ซึ่งสื่อกลางระหว่างอุปกรณ์ต้น ทาง และอุปกรณ์ปลายทางจะถูกจองการใช้งานตลอดเวลา ดังนั้นการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบนี้ จึงเหมาะกับงานที่มีการ รับ/ส่งข้อมูลมาก ๆ และต่อเนื่องตลอดเวลา คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1
  • 35. ข้อดีของกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบจุดต่อจุด - เนื่องจากเป็นการเชื่อมโยงโดยตรงระหว่างอุปกรณ์ 2เครื่อง ดังนั้นช่องทางการสื่อสารจึงถูกใช้อย่างเต็มที่ โดยไม่มี อุปกรณ์อื่น ๆ มาร่วมใช้งาน - มีความปลอดภัยของข้อมูลสูง ข้อเสียของกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบจุดต่อจุด - หากมีการเพิ่มอุปกรณ์สื่อสารในเครือข่าย จะต้องเพิ่มสื่อกลาง เพื่อใช้เป็นช่องทางการสื่อสารด้วย ดังนั้น ในเครือข่ายแบบนี้ ถ้ามีอุปกรณ์การสื่อสารยิ่งมาก ค่าใช้จ่ายในเรื่องสื่อกลางก็จะยิ่งทวีเพิ่มขึ้น คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 1
  • 36. กำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบหลำยจุด หรือกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยแบบแพร่กระจำย เนื่องจากการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบจุดต่อจุดนั้นสิ้นเปลืองสื่อกลาง การส่งข้อมูลในแต่ละครั้งมักใช้สื่อกลางไม่เต็ม ประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงได้มีการพัฒนาการเชื่อมโยงเครือข่าย โดยใช้ช่องสัญญาณของสื่อกลางเดียว แต่สามารถเชื่อมโยง อุปกรณ์ได้หลายเครื่องพร้อม ๆ กัน ซึ่งข้อมูลที่ส่งออกมาจากผู้ส่งจะแพร่กระจายไปยังจุดทุกจุดในช่องสัญญาณนั้น การส่งข้อมูลในเครือข่ายแบบหลายจุดนี้ จะต้องมีการกาหนดตาแหน่ง (Address) ของอุปกรณ์ปลายทาง (ผู้รับ) รวมไปกับข้อมูล Host Computer คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 2 คอมพิวเตอร์ 3
  • 37. กรณีที่อุปกรณ์แต่ละเครื่องที่ใช้ช่องสัญญาณเดียวกัน ทาการส่งข้อมูลออกมาพร้อมกัน ข้อมูลจะชนกัน ทาให้ เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ จึงต้องมีศูนย์กลางเพื่อทาหน้าที่ควบคุมทิศทางของข้อมูลและแบ่งการใช้ช่องทางการสื่อสาร การเชื่อมโยงเครือข่ายแบบหลายจุด เหมาะสาหรับการรับ/ส่งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง และในการส่งข้อมูลแต่ละ ครั้งมีจานวนไม่มาก Host Computer คอมพิวเตอร์ 1 คอมพิวเตอร์ 2 คอมพิวเตอร์ 3
  • 38. ในการสื่อสารข้อมูลอุปกรณ์ของผู้ส่งและอุปกรณ์ของผู้รับ จะต้องใช้วิธีการส่งข้อมูล (Transmission) การเชื่อมต่อ (Interface) การเข้ารหัส (Encoding) และวิธีการตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล (Error Detection) ในรูปแบบเดียวกัน ดังนั้นเพื่อความเป็นระเบียบ และความสะดวกที่ผู้ใช้อุปกรณ์การสื่อสาร ข้อมูล สามารถนามาใช้ได้โดยไม่ ต้องกังวลว่าอุปกรณ์เหล่านั้นจะสื่อสารกันได้หรือไม่ ดังนั้นจึงได้มีการกาหนดมาตรฐานสากล สาหรับการ สื่อสารข้อมูล ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) มำตรฐำนโดยนิตินัย หรือมำตรฐำนแบบเดอ จูเร (De Jure Standard) แบบเดอ จูเร เป็นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรที่ไม่แสวงหาผลตอบแทน ซึ่งมาตรฐานต่าง ๆ ถูกกาหนดโดยคณะกรรมการที่ผ่านการประชุมเห็นชอบ มีการวางแผนการไว้ล่วงหน้า เป็นการกาหนดเพื่อคน ส่วนใหญ่ เรียกว่า ระบบเปิด
  • 39. 2) มำตรฐำนโดยพฤตินัย หรือมำตรฐำนแบบเดอ ฟัคโต (De Facto Standard) แบบเดอ ฟัคโต เป็นมาตรฐานที่เกิดขึ้นโดยไม่มีคณะกรรมการ ไม่มีการวางแผนการล่วงหน้า ไม่มีการ ประกาศมาตรฐานให้ปฏิบัติการ แต่เกิดจากผู้ใช้มีความนิยมในผลิตภัณฑ์ชนิดนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM PC ได้กลายเป็นมาตรฐานเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่เกิดจากโครงการ ARPRANET ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันได้แพร่หลายไปทั่วโลก กลายเป็นมาตรฐานของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่ง เรียกอีกอย่างว่า ระบบปิด