SlideShare a Scribd company logo
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บทที่9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อชิรญา เอกองอาจ ชั้นม.6/1 เลขที่ 34
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
1วัตถุประสงค์ของการใช้
ระบบเครือข่าย
1. สามารถใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้
ก็คือ เครื่องลูก(Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล
ร่วมกันได้จากเครื่องแม่ (Server) หรือระหว่างเครื่องลูกกับ
เครื่องลูกก็ได้เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม
ไม่จาเป็นว่าทุกเครื่องต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่องของ
ตนเอง
2. เพื่อความประหยัด
เพราะว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสานักงานหนึ่งมี
เครื่องอยู่ 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้ถ้าไม่มีการนาระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่าง
น้อย 5 - 10 เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อก็สามารถใช้อุปกรณ์หรือ
เครื่องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอต่อการใช้งานแล้ว
เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้เครื่องพิมพ์เครื่องไหนก็ได้
ผ่านเครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือข่ายเดียวกัน
3. เพื่อความเชื่อถือได้ของระบบงาน
นับเป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับการดาเนินธุรกิจ ถ้าทางาน
ได้เร็วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มี
ประสิทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนาระบบ Computer Network
มาใช้งาน ทาระบบงานมีประสิทธิภาพ มีความ
น่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทาสารองข้อมูลไว้
เมื่อเครื่องที่ใช้งานเกิดมีปัญหา ก็สามารถนาข้อมูลที่มี
การสารองมาใช้ได้ อย่างทันที
4. ประหยัดเวลา ค่าเดินทาง
เมื่อต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ในที่ที่อยู่ห่างไกลกัน
เช่น บริษัทแม่อยู่ที่ กรุงเทพ ส่วนบริษัทลูกอาจจะอยู่
ตามต่างจังหวัด แต่ละที่ก็มีการเก็บข้อมูล การเงิน
ประวัติลูกค้า และอื่นๆ แต่ถ้าต้องการใช้ข้อมูลของอีกที่
หนึ่งจะเกิดความลาบาก ล่าช้า และไม่สะดวก จึงมีการ
นาหลักการของ Computer Network มาใช้งาน เช่น มี
การใช้ทรัพยากรร่วมกัน หรือโปรแกรม ข้อมูล ร่วมกัน
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ข้อจากัดของระบบเครือข่าย
1.ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการจัดการเครือข่าย
ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มี
ความรู้ความชานาญและมีประสบการณ์สูงจึง
ต้องใช้งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมากอีกทั้ง
เทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เปลี่ยนแปลง
ไปเร็วมาก จาเป็นต้องมีงบประมาณเพื่อปรับปรุง
ระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ
2.ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์
ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์
ประยุกต์ ด้านต่าง ๆ ทางานภายใต้
สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการ
พัฒนา ต้องใช้ความรู้ความชานาญสูง ต้องใช้
เวลาในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์
ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้
3.การรักษาความปลอดภัย
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความ
ปลอดภัยในด้านการรักษาข้อมูล อยู่มาก หรืออาจ
มีข้อมูลสูญหายได้ ในขณะติดต่อสื่อสาร
เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก
4.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า
ในเครือข่ายระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต ตัวกลาง
นาทีใช้ ในการนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วใน
การรับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วย
โทรศัพท์ หรือโทรทัศน์
จะต้องมี3ประการนี้จึงจะเป็นเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ได้
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนระบบเครือข่าย
- เครื่องคอมพิวเตอร์ PC / Macintosh
- เครื่องคอมพิวเตอร์เวอร์คสเตชัน
2. Physical Media หรือสื่อเชื่อมต่อทาง
กายภาพอันได้แก่ สาย (Cable) และ Hub หรือ
อุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ
3. ระเบียบพิธีการติดต่อสื่อสาร (Protocol)
ก็คือระเบียบหรือข้อตกลง (rules) ที่ตั้งขึ้น เพื่อทาให้
ผู้ที่จะสื่อสารกันเข้าใจกันและกัน ตัวอย่างเช่น
สัญญาณธงที่ทหารเรือใช้สื่อสารกัน เป็นต้น
Heading 2
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระบบเครือข่ายระยะใกล้หรือท้องถิ่น
(Location Area Network :MAN)
เป็นรูปแบบการทางานของระบบเครือข่ายหนึ่งที่ช่วยให้
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ใช้งานทางด้าน
คอมพิวเตอร์ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงสื่อสาร ส่งข้อมูล ติดต่อใช้
งานร่วมกันได้ การติดต่อสื่อสารของอุปกรณ์จะอยู่ในบริเวณแคบ
โดยทั่วไปจะมีระยะการไม่เกิน 10 กิโลเมตร เช่น ภายในอาคาร
สานักงาน ภายในคลังสินค้า โรงงานหรือ ระหว่างตึกใกล้ๆ
เชื่อมโยงด้วยสายสื่อสารจึงทาให้มีความเร็วในการสื่อสารข้อมูล
ด้วยความเร็วสูงมาก และความผิดพลาดต่า
ระบบเครือข่ายเมือง
(Metropolitan Area Network :MAN)
เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายท้องถิ่นหลายๆ ระบบเข้า
ด้วยกันในพื้นที่เดียวกัน เช่นภายในเมืองเดียวกัน เกิดเป็นเครือข่ายของ
เมืองนั้น ระบบเครือข่ายนี้จะใช้สื่อเชื่อมโยงทั้งชนิดใช้สายสัญญาณและ
ชนิดไม่ใช้สายสัญญาณผสมเข้าด้วยกัน ตามลักษณะพื้นที่ ความเร็วใน
การรับ-ส่งข้อมูล ในระยะทางไม่เกิน 60 กิโลเมตร
Heading 3
ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระบบเครือข่ายระยะไกล
(Wide Area Network :WAN)
เป็นเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง โดยมีการส่งข้อมูลในลักษณะเป็น Packet ซึ่งต้องเดินทางจากเครื่อง
คอมพิวเตอร์ต้นทางไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง Packet นี้ส่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง โดยมีสายสื่อสารหรืออุปกรณ์สื่อสารอื่น ในการเชื่อมต่อกัน ในลักษณะเป็นลูกโซ่ อาศัยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ถัดไปในเส้นทางที่สะดวกรูปแบบของเครือข่ายแตกต่างกันไปตามลักษณะอัลกอริทึมสาหรับการคานวณ
เส้นทางในการส่ง Packet โดยแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ แบบดาตาแกรม (Datagram) และแบบเวอร์ชวล
เซอร์กิต (Virtual Circuit) หรือวงจรแบบเสมือน ระบบดาตา-แกรมพิจารณาแต่ละ Packet แยกจากกัน Packet ต่างๆ ของ
ข้อความเดียวกันอาจถูกส่งไปในเส้นทางที่ต่างกันได้ขึ้นอยู่กับ ปริมาณข่าวสารในเครือข่าย ในแต่ละขณะเวลาที่ผ่านไป
และรวมถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเครือข่ายเนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์บางตัวเสีย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้
ในการแสวงหาความรู้มีหลายระบบ ในที่นี้จะกล่าวถึง 2 ระบบ คือ อินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ต
ระบบอินทราเน็ต (Intranet )
เป็นระบบเครือข่ายภายในองค์กร หรือหน่วยงาน
ของตนเอง ซึ่งเป็นการภายในต้องการความเป็นส่วนตัว ไม่
ต้องการเผยแพร่ข้อมูลออกสู่ภายนอก หรือเพื่อความ
ปลอดภัยในการใช้งาน อีกทั้ง ยังไม่ต้องการให้
บุคคลภายนอกมาร่วมใช้ หากไม่ได้รับการอนุญาต เช่นระบบ
เงินเดือน ข้อมูลการวิจัย และพัฒนาสินค้า ระบบบัญชี หรือ
ข้อมูลความลับ ของหน่วยงาน เป็นต้น ทั้งนี้ในทุกรูปแบบของ
การใช้งาน ก็สามารถทาได้ เช่นเดียวกันในเครือข่ายInternet
ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบการสื่อสาร โดยผ่านสื่อโทรคมนาคม ที่
มีอยู่ภายในองค์กร เช่น ระบบโทรศัพท์ภายใน หรือ ระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ภายในองค์กร (Local Area Network)
โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นตัวจัดการ ทั้งหมด ให้ง่ายต่อ
การใช้งาน อาจใช้เครื่อง server ที่กาหนดการใช้งานเฉพาะ
อย่าง หรืออาจะมีลักษณะเดียวกันกับอินเทอร์เน็ต sever ก็ได้
ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet)
เป็นระบบเครือข่าย ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้เราสามารถ
เชื่อมโยงสื่อสารกันได้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใดในโลก และไม่ว่าจะ
เป็นในรูปแบบใดในการสื่อสาร เช่น รูปแบบข้อมูล
(information) เสียง (sound) ภาพ(picture) ภาพยนต์
(video) ภาพสด(live video) การประชุมทางไกลชนิดเห็น
ภาพและเสียงของผู้ร่วมประชุม (video conference) รูป
graphicsต่างๆ หรือแม้กระทั่งภาพ animation และภาพสาม
มิติ (3-Dimension) จากคอมพิวเตอร์ได้อย่าง
กว้างขวาง โดยผ่าน สื่อโทรคมนาคมที่มีอยู่ เช่น ระบบ
โทรศัพท์พื้นฐาน ระบบสื่อสารดาวเทียม ระบบสื่อสารด้วย
คลื่นวิทยุ หรือ เคเบิลใยแก้วนาแสง
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Heading 4
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์
การที่คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้ ต้องมี
องค์ประกอบพื้นฐานดังต่อไปนี้
- คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่อง
- เน็ตเวิร์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface
Card) เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ดของ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และ
เครือข่าย
- สื่อกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่งข้อมูล เช่น
สายสัญญาณ ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กันในเครือข่ายก็
เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนา
แสง เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์ เครือข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์
เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น
- โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่
คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่
สามารถสื่อสารกันได้นั้นจาเป็นที่ต้องใช้ “ภาษา” หรือใช้
โปรโตคอลเดียวกันเช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็นต้น
- ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network
Operating System)ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะเป็นตัวคอย
จัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน
1.เน็ตเวิร์คการ์ด
เน็ตเวิร์คการ์ดจะเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่าง
คอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะเรียกว่า
“NIC (Network Interface Card)”หรือบางทีก็เรียกว่า
“LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทาการ
แปลงข้อมูลเป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตาม
สายสัญญาณหรือสื่อแบบอื่นได้ ปัจจุบันนี้ก็ได้มีการ
แบ่งการ์ดออกเป็นหลายประเภท ซึ่งจะถูกออกแบบ
ให้สามารถใช้ได้กับเครือข่ายประเภทแบบต่าง ๆ เช่น
อีเธอร์เน็ตการ์ด โทเคนริงการ์ด เป็นต้น การ์ดในแต่
ละประเภทอาจใช้กับสายสัญญาณบางชนิดเท่านั้น
หรืออาจจะใช้ได้กับสายสัญญาณหลายชนิด
เน็ตเวิร์คการ์ด
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2.สายสัญญาณ
ปัจจุบันมีสายสัญญาณที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่3 ประเภท
2.1 สายคู่บิดเกลียว
สายคู่บิดเกลียว ( twisted pair ) ในแต่ละคู่ของสาย
ทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื่อต้องการลด
การรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ากับคู่สายข้างเคียงได้
แล้วผ่านไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรือจากภายนอกเท่านั้น
เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูล
ได้ดี แล้วน้าหนักเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงทาให้ถูกใช้งาน
อย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์
2.2 สายโคแอกเชียล
สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลักษณะ
เช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันอยู่เป็นจานวนมากไม่
ว่าจะใช้ในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่งข้อมูล
ระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูล
สัญญาณวีดีทัศน์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปก็มีอยู่ 2
ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทอล และชนิด
75โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโค
แอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพื่อป้ องกันการรบกวนของ
คลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้ า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณ
รบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วง
ความถี่ที่สัญญาณไฟฟ้ าสามารถส่งผ่านได้กว้างถึง 500
Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราของการส่งสูงขึ้น
สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน
2.3 เส้นใยแก้วนาแสง
เส้นใยนาแสง ( fiber optic ) เป็นการที่ใช้ให้แสง
เคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยเป็น
อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่
ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้
ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI ก็จะใช้ได้
ด้วยความเร็วสูงถึง100 เมกะบิต
ลักษณะของเส้นใยนาแสง
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
3. อุปกรณ์เครือข่าย
อุปกรณ์ที่นามาใช้ในเครือข่ายทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ- ส่งข้อมูลในเครือข่าย หรือใช้
สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้น หรือใช้สาหรับ
ขยายเครือข่ายให้มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์
3.1 ฮับ (Hub)
ฮับ (HUB) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรม
ข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่
เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย
3.2 สวิตซ์ (Switch)
สวิตซ์ (Switch) หรือ บริดจ์ (Bridge) เป็น
อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้า
ด้วยกัน โดยจะต้องเป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้
โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการ
เชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน
ฮับ (HUB)
สวิตซ์ หรือ บริดจ์
3.3 เราท์เตอร์ ( Routing )
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบ
เครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริดจ์ แต่
ก็มีส่วนการทางานจะซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดย
เราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างแต่ละ
เครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing
Table ทาให้เราท์เตอร์สามารถทาหน้าที่จัดหาเส้นทาง
และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง
และเพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
3.4 โปรโตคอล (Protocol)
ในการเชื่อมโยงของเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์
ในแต่ละเครื่องอาจก็ต้องมีระบบที่เหมือนกัน หรือแตกต่าง
กัน เช่นในการใช้งานในเครือข่ายจึงต้องเป็นมาตรฐานหรือ
ระเบียบที่ใช้ในการติดต่อให้แต่ละเครื่องมีวิธีการสื่อสารที่
เป็นไปตามแนวทางเดียวกันได้ เพื่อให้เป็นการเชื่อมโยง
ข้อมูล และในการติดต่อสื่อสารของเครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่
ละเครื่องต้องมีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและสามารถ
ทางานร่วมกันได้เป็นอย่างดี ไม่เกิดความเสียหายนั้น
เกิดขึ้น จึงมีการกาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรียกว่า
โปรโตคอล ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าโปรโตคอล หมายถึง
กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม(ให้
สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Heading 5
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
1. คีย์บอร์ด (Keyboard)
อุปกรณ์รับข้อมูลจากการกดแป้ นแล้วทาการ
เปลี่ยนเป็นรหัส เพื่อบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการ
กดตัวอักษรอะไร แผงแป้ นอักขระส่วนใหญ่เป็นไป
ตามมาตรฐานของเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่งระบบรับรหัส
ตัวอักขระที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์เป็นรหัส 7 หรือ
8 บิต (Operator)
2. เมาส์ (Mouse)
อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับ
ตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่างๆ บนหน้าจอ เมาส์ที่นิยมใช้มี
ด้วยกัน 3 ประเภทได้แก่
- แบบทางกล (Mechanical) ใช้ลูกกลิ้งกลม
- แบบใช้แสง (Optical mouse)
- แบบไร้สาย (Wireless Mouse) ที่มาของภาพ
3.สแกนเนอร์ (Scanner)
เป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลที่เป็นเอกสาร รูปภาพ รูป
ถ่าย สแกนเนอร์สามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ
- แบบเลื่อนกระดาษ (Sheet-Fed Scanner)
สแกนเนอร์แบบนี้จะรับกระดาษแล้วค่อย ๆ เลื่อน
หน้ากระดาษให้ผ่านหัวสแกนซึ่งอยู่กับที่
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
4. แผ่นสัมผัส (Touch Pads)
เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยการใช้นิ้วสัมผัสลงบน
แผ่นสัมผัส น้าหนักที่กดสงไปจะถูกเปลี่ยนเป็น
สัญญาณไฟฟ้ า มักเห็นอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
โน้ตบุ๊ก
5. กล้องดิจิทัล (Digital Camera)
เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่
สามารถแปลงข้อมูลภาพเป็นสัญญาณดิจิทัล มี
ลักษณะการใช้งานเหมือนกล้องถ่ายภาพทั่วไป
แต่ต่างกันตรงที่ไม่ต้องใช้ฟิล์มในการบันทึกข้อมูล
ข้อมูลภาพที่ได้สามารถถ่ายลงสู่เครื่อง
คอมพิวเตอร์และสามารถเรียกดูได้ทันที หรือจะใช้
โปรแกรมช่วยตกแต่งภาพให้ดูสวยงามขึ้นก็ได้
หน่วยความจา (Memory Unit)
เป็นหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ทางานได้รวดเร็วที่สุด ซึ่งสามารถจาแนกตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ประเภท คือ
1. หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
หรือเรียกว่า หน่วยความจาภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจาที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้
งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้ าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูลก็ไม่สูญหายไป
- แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจาที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าหล่อเลี้ยงเท่านั้น
เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจาชนิดนี้จะหายไปทันที
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2. หน่วยความจารอง (Second Memory)
หรือหน่วยความจาภายนอก (External Memory) เป็นหน่วยความจาที่
ต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่างๆ ได้แก่
- ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลใน
เครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่
เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ด้วย
- ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาด
3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่นกลมบางทาจากไมลาร์ (Mylar) สามารถ
บรรจุข้อมูลได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เท่านั้น
- ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล
เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง เหมาะสาหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย
ซีดีรอมทามาจากแผ่นพลาสติกกลมบางที่เคลือบด้วยสารโพลี
คาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทาให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมี
การบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว
- รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมี
ตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออื่นๆ
ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive
- ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่จะมาแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์
มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซิปดิสก์
- Magnetic optical Disk Drive เป็นสื่อเก็บข้อมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมี
ขนาดพอๆ กับฟล็อบปี้ดิสก์ แต่ขนาดความจุมากกว่า เพราะว่า MO Disk
drive 1 แผ่นสามารถบันทึกขัอมูลได้ตั้งแต่ 128 เมกะไบต์ จนถึงระดับ 5.2
กิกะไบต์
- เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เป็นอุปกรณ์สาหรับการสารองข้อมูล ซึ่ง
เหมาะกับการสารองข้อมูลขนาดใหญ่มากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต์
- การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาดเล็ก
พัฒนาขึ้น เพื่อนาไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล
คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หน่วยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit - CPU)
หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มี
ความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อน เข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตาม
ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ
1. หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทา
หน้าที่เหมือนกับเครื่องคานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ
หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคานวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง
ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คาตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง
หรือ เท็จ ได้
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
เป็นอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทาหน้าที่แสดงผล
ลัพธ์เมื่อซีพียูทาการประมวลผล
1. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่เป็น
ภาพ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ จอภาพแบบ CRT
(Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid
Crystal Display)
2. เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่
แสดงผลลัพธ์ในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่
บนกระดาษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดอต
เมตทริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-
Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และ
พล็อตเตอร์ (Plotter)
3. ลาโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ใน
รูปของเสียง สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านแผงวงจร
เกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลไป
เป็นเสียง
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Heading 6
ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (software)
หมายถึงชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางาน
ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยคาสั่งของ
คอมพิวเตอร์ คาสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่
ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทางานตามคาสั่ง การทางานพื้นฐานเป็น
เพียงการกระทากับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็น
ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้
การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทางานให้กับเราได้มากมาย เพราะว่ามี
ผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทา
บัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อนบริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว คอมพิวเตอร์
ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสาร
ให้สวยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดาเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ก็ไม่สามารถทางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จาเป็น และมีความสาคัญมาก และเป็น
ส่วนประกอบหนึ่งที่ทาให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามที่ต้องการ
14
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ซอฟท์แวร์ระบบ
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยความจา และหน่วยประมวลผล ในการ
ทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีการดาเนินงานกับอุปกรณ์พื้นฐานที่จาเป็น ดังนั้นจึงต้องมีซอฟต์แวร์
ระบบเพื่อใช้ในการจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย
ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับการกดแป้ นต่าง ๆ บนแผงแป้ นอักขระ ส่ง
รหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า และส่งออกอื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์
สังเคราะห์เสียง
ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์
สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการสาระบบใน
แผ่นบันทึก การทาสาเนาแฟ้ มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็น
ระบบปฏิบัติการ และตัวแปลภาษา ซอฟต์แวร์ทั่งสอง
ประเภทนี้ทาให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึ้น
ใช้ในการจัดการหน่วยความจา เพื่อนาข้อมูลจาก
แผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจาหลัก หรือในทานอง
กลับกัน คือนาข้อมูลจากหน่วยความจาหลักมาเก็บไว้ใน
แผ่นบันทึก
15
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ซอฟท์แวร์ประยุกต์
การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้า
อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
ทาให้มีการใช้งานคล่องตัวขึ้น จนในปัจจุบันสามารถนา
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ติดตัวไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้
สะดวก
การใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีผู้พัฒนาเพื่อใช้งานทั่วไป
ทาให้ทางานได้สะดวกขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งาน
เฉพาะ ซึ่งผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับ
สภาพการทางานของตน
ซอฟต์แวร์สาเร็จ
ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กันทั่วไป
ซอฟต์แวร์สาเร็จ (package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความ
นิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์สาเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่
บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนาออกมาจาหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งาน
ซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนา
ซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีจาหน่ายในท้องตลาด
ทั่วไป และเป็นที่นิยมของผู้ใช้มี 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
ซอฟต์แวร์ประมวลคา (word processing software)
ซอฟต์แวร์ตารางทางาน (spread sheet software)
ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (data base management
software) ซอฟต์แวร์นาเสนอ (presentation software)
และซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (data
ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ
ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็น
ซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบ
การทางานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ
แล้วจัดทาขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มี
หลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทางาน
ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในทางธุรกิจ
เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัด
จาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม
บริหารการเงิน และการเช่าซื้อ
16
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Heading 7
ตัวกลางนาข้อมูล
สื่อหรือตัวกลางการสื่อสารข้อมูล (Communication Medium)
สื่อหรือตัวกลางการสื่อสารข้อมูล ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญของ
การสื่อสารข้อมูล เพราะการเลือกใช้สื่อที่เหมาะสม ทาให้เกิด
ประสิทธิภาพในการส่งและประหยัดต้นทุนในการส่ง ตัวกลางในการ
สื่อสารข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย
2.สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media)
นาข้อมูลแบบมีสาย ( wired media )
สื่อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้ มี 3 ชนิดดังนี้
สายคู่บิตเกลียว ( twisted-pair cable )
เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้ า สายแต่ละเส้น จานวนสายจะมีเป็นคู่เช่น 2 ,4 หรือ 6 เส้น แต่
ละคู่จะมีการพันบิดกันเป็นเกลียว การบิดเกลียวนี้จะช่วยลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในการส่ง
ข้อมูล ทาให้สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ สายสัญญาณคู่บิดเกลียวมีความถี่ในการส่ง
ข้อมูลประมาณ100 Hz ถึง 5 MHz ลักษณะของสายสัญญาณชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ สายคู่บิด
เกลียว แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้ม(unshielded twisted-pair หรือ UTP ) และสายคู่บิดเกลียว
แบบมีชั้นโลหะห่อหุ้ม ( shielded twisted-pair หรือ STP ) สารับสายคู่บิดเกลียวแบบมีชั้น
โลหะห่อหุ้มจะมีชั้นโลหะที่ทาหน้าที่เป็น เกราะหุ้มเพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้
17
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
สายโคแอกเชียล ( coaxial cable )
สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนาข้อมูล
ไฟฟ้ า มีความถี่ใน การส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500
MHz สายโคแอกเชียลมีความเร็ว ในการส่งข้อมูลและมี
ราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว ลักษณะของสายโคแอกเชียล
เป็นสายนาสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มเป็นชั้นๆ หลายชั้นสลับกับ
ตัวโลหะตัวนาโลหะชั้นในทาหน้าที่ส่งสัญญาณ ส่วนตัวนา
โลหะชั้นนอกทาหน้าที่เป็นสายดิน และเป็นเกราะป้ องกัน
สัญญาณรบกวนจากภายนอก ทาให้มีสัญญาณรบกวน
ตัวนาชั้นในน้อย จึงส่งข้อมูลได้ในระยะไกล
สายใยแก้วนาแสง ( optical fiber cable )
สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรือสารนาแสง
ห่อหุ้มวัสดุป้ องกันแสง มีความเร็วในการส่งข้อมูลเท่ากับ
ความเร็วแสง สามารถใช้ในการส่งข้อมูล ที่มีความถี่สูงได้
สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือแสง และสัญญาณ
รบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจาก
ภายนอก ดังนั้นสายใย แก้วนาแสงที่มีสภาพดี จะมี
สัญญาณรบกวนน้อยมาก สายใยแก้วนาแสงมีราคา
ค่อนข้างสูงและดูแลรักษายากจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมสาหรับ
การใช้งานสื่อสารทั่วๆ ไปในองค์การขนาดเล็ก หรือในการ
สื่อสารที่ไม่ต้องการความเร็วสูง
18
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media)
การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของการสื่อสาร เช่น
-แสงอินฟราเรด (Infrared) เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยใช้แสงอินฟราเรดเป็น
สื่อกลาง การสื่อสารประเภทนี้นิยมใช้สาหรับการสื่อสารข้อมูลระยะใกล้ เช่น การ
สื่อสารจากรีโมทคอนโทรลไปยังเครื่องรับวิทยุหรือโทรทัศน์
-สัญญาณวิทยุ (Radio Wave) เป็นสื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media)
ที่มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่นวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ
-ไมโครเวฟภาคพื้นดิน (Terrestrial Microwave) เป็นการสื่อสารไรสายอีก
ประเภทหนึ่ง การสื่อสารประเภทนี้จะมีเสาส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่างๆ กัน
ทาการส่งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล
-การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication) เป็นการสื่อสารจาก
พื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะทาหน้าที่เป็น
สถานีทวนสัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยังสถานีภาพพื้นดินอื่นๆ ระยะทาง
จะโลกถึงดาวเทียมประมาณ 22,000 ไมล์
19
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Heading 8
มาตรฐานของระบบ LAN
โดยปกติแล้ว ในการออกแบบการเชื่อมต่อระบบ LAN จะต้อง
คานึงถึงลักษณะโครงสร้าง (Topology) สื่อกลาง (Media) และวิธีใน
การเข้าใช้สื่อกลาง (Media Access Method) ซึ่งจะมีความเหมาะสม
ในการนามาประกอบกันเพื่อใช้งานแตกต่างกันไป อย่างไรก็ดี เพื่อให้
การเชื่อมต่อระบบ มีมาตรฐานและสามารถใช้งานได้อย่างกว้างขวาง
ทาให้มีองค์กรกาหนดมาตรฐานได้กาหนดมาตรฐานของระบบ
เครือข่ายแบบต่าง ๆ ออกมา ซึ่งมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับและมี
การใช้งานอย่างกว้างขวางคือ
Ethernet
อีเทอร์เน็ต (Eternet) เป็นระบบ LAN ที่พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ
บริษัท Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ
Intel ในปี ค.ศ 1976 เริ่มจากศูนย์วิจัย PARC (Palo Alto Research
Center ของ Xerox) ซึ่งถูกจัดเป็นมาตรฐานรหัส 802.3 ของ IEEE ปัจจุบันมี
การใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยในระยะแรกอีเทอร์เน็ตใช้สาย Coaxial เป็น
หลักต่อมาได้พัฒนาและเปลี่ยนไปใช้สายแบบ UTP(Unshielded Twisted
Pair) มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีราคาและสามารถติดตั้งได้ง่าย รวมถึง
ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลถูกทาให้เพิ่มขึ้นจาก 10Mbps ไปเป็น 100-
1000 Mbps(1 Gbps) ในปัจจุบันและอาจถึง10 Gbps
ลักษณะสาคัญของอีเทอร์เน็ต คือ ข้อมูลทุกอย่างจะถูกส่งผ่าน
ตัวกลางที่เชื่อมระหว่างทุกๆ เครื่อง ซึ่งก็คือสาย Coaxial นั่นเอง ดังนั้น
Ethernet ในยุคแรกจึงใช้การต่อสายแบบบัส (Bus) ที่วิ่งผ่านทุกเครื่องและ
ต่อมาค่อยๆเปลี่ยนไปสู่การต่อแบบดาว (Star) ที่รวมสายเข้าศูนย์กลาง เมื่อ
มีการใช้สาย UTP และต่อผ่านอุปกรณ์ฮับ (Hub) มาตรฐานที่สาคัญของ
Ethernet ได้แก่ 10Base-5, 10Base-2,10Base-T โดยรหัสแต่ละตัวมี
ความหมาย
20
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
โทเคนริง (Token Ring)
เป็นการต่อ LAN ในแบบวงแหวน
(Ring) โดยมีวิธีควบคุมการส่งข้อมูลแบบ
Token-passing ที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัทไอบีเอ็ม
โดยในรุ่นแรกๆจะมีความเร็วเพียง 4 Mbps แต่
ต่อมาได้ปรับปรุงเป็น 16Mbps จุดอ่อนของ
Token-Ring คือ ถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาดวง
แหวน จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้
FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
FDDI เป็นมาตรฐานการต่อระบบเครือข่ายโดยใช้
สาย Fiber optic ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วสูงถึง
100 Mbps เท่ากับ Fast Ethernet ลักษณะของ FDDI จะ
ต่อเป็นวงแหวน โดย FDDI เหมาะที่จะใช้เป็น backbone
ที่เชื่อมต่อระบบ LAN หลายๆวงเข้าด้วยกัน โดยแต่ละวง
LAN จะต้องมีตัวรวมสาย (concentrator) หรืออุปกรณ์
Router ที่ใช้ต่อระหว่าง LAN ทั้งวงเข้าเป็นสถานี
ในวงของ FDDI มีสายสองชั้นเดินคู่ขนานกัน เพื่อ
สารองในกรณีเกิดสายขาดขึ้นวงจรจะได้ตัดส่วนที่ขาดออก
แล้ววนสายที่เหลือให้ครบรอบเป็น ring ตามเดิม ลักษณะ
การรับส่งข้อมูลของ FDDI ก็ใช้วิธี Token-passing เช่น
เดียวกับ Token Ring
21
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN)
เครือข่าย LAN ไร้สาย คือ เครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (Radio
Frequency) ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งมีประโยชน์ที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องของ
การไม่ต้องเดินสายเหมือน LAN แบบอื่นๆ ซึ่งเหมาะกับการใช้งานในบ้าน
หรือสถานทีที่ไม่สะดวกในการเดินสาย เช่น ที่บ้าน โดยคุณอาจเล่น
อินเทอร์เน็ตผ่านเครื่องเครื่องหนึ่งที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อผ่านโมเด็มได้จาก
ทุกห้องในบ้าน หรือ แม้แต่บริเวณหน้าบ้าน โดยสามารถเชื่อมต่อได้ทุกที่
ทุกจุดภายในระยะทาการ เนื่องจากคลื่นวิทยุนี้มีคุณสมบัติในการทะลุ
ทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนัง กาแพง เพดาน แต่ปัญหา
สาหรับระบบเครือข่ายไร้สายคือเรื่องการรบกวนของสัญญาณวิทยุ
Heading 9
เครือข่ายแบบไร้สาย
ปัจจุบันเครือข่ายแบบไร้สายมี 2 มาตรฐาน คือ
HomeRF (Home Radio Frequency) และ IEEE 802.11 โดย
IEEE 802.11นั้นสามารถแตกย่อยออกเป็นหลายมาตาฐานย่อย
ตามสัญลักษณ์ตัวสุดท้าย เช่น IEEE 802.11a, IEEE802.11b,
IEEE802.11g เป็นต้น แต่ที่กาลังเป็นที่นิยมและแพร่หลายกันอยู่
คือ IEEE 802.11b หรือ Wireless LAN เรียกสั้นๆว่า” WLAN”
เครื่องโน๊ตบุ๊ครุ่นใหม่หลายยี่ห้อก็ให้อุปกรณ์ Wireless LAN แบบนี้
มาในตัวเลย สาหรับความถี่ของคลื่นที่ได้รับจัดสรรมาให้ใช้จะมี 3
ช่วง ดังรูป ซึ่งเรียกว่าเป็น ISM Bands (ISM = Industrial,
Scientific และ Medical) โดยขณะนี้กาลังใช้ความถี่ระหว่าง 2.4 –
2.4835 GHz
22
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Heading 10
Wireless LAN
แลนไร้สายหรือ ไวเลสแลน (Wireless LAN, WLAN) คือระบบที่
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายภายในพื้นที่แบบไร้
สาย โดยใช้คลื่นความถี่วิทยุใน การเชื่อมต่อหรือสื่อสารกัน การเชื่อมต่อ
แลนไร้สายมีทั้งแบบเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน และ
เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ
(Access Point)
มาตราฐานWireless LAN
สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11a มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถึ่ย่าน 5 GHz
สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11b มีความเร็วสูงสุดที่ 11 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz
สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11g มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz
ในประเทศไทยอนุญาตให้ใช้ช่องคลื่นความถี่ที่ 2.4 GHz เป็นคลื่นความถี่เสรี ที่ทุกคนสามารถ
ติดตั้งและใช้งานได้ จึงทาให้ในประเทศไทยจะมีอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) ที่
จาหน่ายเพียงสองมาตราฐานคือ IEEE 802.11b และ g เท่านั้น
23
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
รองรับการรักษาความปลอดภัยหลายระดับ
- ควบคุมการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย
โดยการตั้งค่า NIC Card ของเครื่อง Client กับ Access Point ให้มีค่าตรงกัน
จึงจะสามารถ ติดต่อกันได้ ถือเป็นการกาหนดพื้นที่ให้บริการของ Wireless Lan
(Wireless Lan Service Area: WLS) นอกจากนี้ยังมีความปลอดภัยในอีกระดับหนึ่ง
คือการบันทึก MAC address ของแต่ละ NIC Card ที่ได้รับอนุญาตให้ติดต่อกับ
Access point นั้นๆ ได้ไว้ในตัว Access Point เองเพียงเท่านี้บุคคลภายนอกก็จะไม่
สามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายได้
- การเข้ารหัสเพื่อป้ องกันการดักสัญญาณระหว่าง NIC Card กับ Access Point
สามารถรองรับการเข้ารหัสสัญญาณเพื่อป้ องกันการ ดักสัญญาณที่กระจาย
ออกไปได้ โดยมีทั้งการเข้ารหัสสัญญาณแบบ 40 บิต และ 128 บิต แบบ Wired
Equivalent Privacy (WEP) ซึ่งเป็นมาตรฐานโปรโตคอลความปลอดภัยสาหรับ
อุปกรณ์ Wireless
Access Point Wireless LAN
card
24
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Heading 11
การทางานของคอมพิวเตอร์
ในเครือข่าย
1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง
เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการ
ประมวลผล ซึ่งจะตังอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยัง
เครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ โดยการเดินสายเคเบิล
เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเครื่องเทอร์มินอลสามารถ
เข้าใช้งาน โดยส่งคาสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลาง
ซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางจะมีราคาสูง และและไม่
สามารถสนับสนุนระบบการประมวลผลแบบ
Multiprocessor ได้ดีเท่ากับระบบเครือข่ายแบบ
Client/Server ปัจจุบันระบบนี้จึงมีความนิยมในการใช้งาน
ลดน้อยลง
ข้อดีของระบบนี้คือ ความง่ายในการจัดตั้งระบบ มี
ราคาถูก และสะดวกต่อการบริหารจัดการ ซึ่งมักจะมอบ
เป็นภาระหน้าที่ของผู้ใช้ในแต่ละสถานีงานให้
รับผิดชอบในการดูแลพิจารณาการแบ่งปันทรัพยากร
ของตนเองให้กับสมาชิกผู้อื่นในกลุ่ม ดังนั้นระบบนี้จึง
เหมาะสมสาหรับสานักงานขนาดเล็ก ที่มีสถานีงาน
ประมาณ 5-10 เครื่องที่วางอยู่ในพื้นที่เดียวกัน
ข้อด้อยของระบบนี้คือ เรื่องการรักษาความ
ปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากไม่มีระบบการป้ องกันใน
รูปแบบของ บัญชีผู้ใช้ และรหัสผ่าน ในการเข้าถึง
ทรัพยากรต่างๆ ของระบบ
2.ระบบเครือข่าย Peer-to-Peer
แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่าย Peer-to-Peer จะมี
ความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กัน
และกันได้ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้ มข้อมูลร่วมกันใน
เครือข่าย ในขณะเดียวกันเครื่องแต่ละสถานีงานก็จะมีขีด
ความสามารถในการทางานได้ด้วยตัวเอง (Stand Alone)
คือจะต้องมีทรัพยากรภายในของตัวเองเช่น ดิสก์สาหรับ
เก็บข้อมูล หน่วยความจาที่เพียงพอ และมีความสามารถใน
การประมวลผลข้อมูลได้
25
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
เป็นระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง และมีการใช้งานกันอย่างกว้างขวางมากกว่าระบบเครือข่ายแบบอื่นที่มีใน
ปัจจุบัน ระบบ Client/Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจานวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ได้หลายแพลตฟอร์ม ระบบนี้จะทางานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการ เป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง
และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางแต่สิ่งที่แตกต่างกัน
ก็คือ เครื่องที่ทาหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server นี้จะเป็นเครื่องที่มีราคาไม่แพงมาก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการทรัพยากรต่างๆ นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมี
ความสามารถในการประมวลผล และมีพื้นที่สาหรับจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตนเองอีกด้วย ระบบเครือข่ายแบบ
Cleint/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทางานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของ
จานวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจานวนเครื่อง Servers สาหรับให้บริการต่างๆ เพื่อช่วยกระจาย
ภาระของระบบได้ ส่วนข้อเสียของระบบนี้ก็คือ มีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ Peer-to-Peer รวมทั้งต้องการ
บุคลากรเพื่อการบริหารจัดการระบบโดยเฉพาะอีกด้วย
Internetworking –จาก LANสู่ WAN
1.Repeater เมื่อสายที่ต่อกันระหว่างเครื่องมีความยาเกินกว่าที่
มาตรฐานกาหนดสัญญาณที่ส่งกันถึงผ่านเครือข่ายก็จะอ่อนลงจน
นับไม่ได้
2. Bridge ทาหน้าที่เป็น สะพาน เชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้า
ด้วยกัน โดยถ้าข้อมูลส่งออกมาในเครือข่ายหนึ่งมีปลายทางที่อีก
เครือข่ายหนึ่ง Bridge ก็จะส่งข้อมูลข้ามไปให้
3. Switch เป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับ Bridge แต่แบ่ง
สาย 1 เส้น หรือ 1พอร์ตของสวิตซ์เป็น 1เครือข่าย
4. Router เป็นอุปกรณ์ที่ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่ง
ใน LAN ที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทางคล้ายกับ
Switchหรือ Bridge

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1pom_2555
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์Srisomwong Sukkantharak
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkBeauso English
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลkamolphan_sri
 

What's hot (18)

ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
 
Network security
Network securityNetwork security
Network security
 
Network security
Network securityNetwork security
Network security
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
Work3-49
Work3-49Work3-49
Work3-49
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
 

Viewers also liked (20)

Aeroporto de londrina circuito de t vs 29.10
Aeroporto de londrina   circuito de t vs 29.10Aeroporto de londrina   circuito de t vs 29.10
Aeroporto de londrina circuito de t vs 29.10
 
Under the dome 10.07
Under the dome 10.07Under the dome 10.07
Under the dome 10.07
 
Test
TestTest
Test
 
Toplamcarpimozet
ToplamcarpimozetToplamcarpimozet
Toplamcarpimozet
 
Bus tv
Bus tvBus tv
Bus tv
 
doc18467120141027112455 Schoma Trainer Certificate
doc18467120141027112455 Schoma Trainer Certificatedoc18467120141027112455 Schoma Trainer Certificate
doc18467120141027112455 Schoma Trainer Certificate
 
Redken Dealsheet redesign
Redken Dealsheet redesignRedken Dealsheet redesign
Redken Dealsheet redesign
 
Elle Magazine - February 2015 Issue
Elle Magazine - February 2015 IssueElle Magazine - February 2015 Issue
Elle Magazine - February 2015 Issue
 
linkedin pdf
linkedin pdflinkedin pdf
linkedin pdf
 
Mtv vma 2014 21.07
Mtv vma 2014 21.07Mtv vma 2014 21.07
Mtv vma 2014 21.07
 
robinF
robinFrobinF
robinF
 
Prêmio tênis 2013
Prêmio tênis 2013Prêmio tênis 2013
Prêmio tênis 2013
 
Programa radar 01.12
Programa radar 01.12Programa radar 01.12
Programa radar 01.12
 
aCnn go 21.10
aCnn go 21.10aCnn go 21.10
aCnn go 21.10
 
Especial edição do desconto 21.10
Especial   edição do desconto 21.10Especial   edição do desconto 21.10
Especial edição do desconto 21.10
 
Nba 21.10
Nba 21.10Nba 21.10
Nba 21.10
 
PMG Profile
PMG ProfilePMG Profile
PMG Profile
 
Fig. 1
Fig. 1Fig. 1
Fig. 1
 
PATRA Certificate
PATRA CertificatePATRA Certificate
PATRA Certificate
 
liyas CV _ SSE
liyas CV _ SSEliyas CV _ SSE
liyas CV _ SSE
 

Similar to work3_อชิรญา_34

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Tata Sisira
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9Jaohjaaee
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์galswen
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์junniemellow
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์katuckkt
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์kruumawan
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5Ultraman Jub Jub
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5Ultraman Jub Jub
 

Similar to work3_อชิรญา_34 (20)

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
กิจกรรมการเรียนรู้ที่5
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week02
Week02Week02
Week02
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

work3_อชิรญา_34

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บทที่9 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อชิรญา เอกองอาจ ชั้นม.6/1 เลขที่ 34
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 1วัตถุประสงค์ของการใช้ ระบบเครือข่าย 1. สามารถใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้ ก็คือ เครื่องลูก(Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล ร่วมกันได้จากเครื่องแม่ (Server) หรือระหว่างเครื่องลูกกับ เครื่องลูกก็ได้เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จาเป็นว่าทุกเครื่องต้องมีโปรแกรมเดียวกันนี้ในเครื่องของ ตนเอง 2. เพื่อความประหยัด เพราะว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า อย่างเช่นในสานักงานหนึ่งมี เครื่องอยู่ 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้ถ้าไม่มีการนาระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่าง น้อย 5 - 10 เครื่อง มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อก็สามารถใช้อุปกรณ์หรือ เครื่องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่องก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้เครื่องพิมพ์เครื่องไหนก็ได้ ผ่านเครื่องอื่น ๆ ที่ในระบบเครือข่ายเดียวกัน 3. เพื่อความเชื่อถือได้ของระบบงาน นับเป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับการดาเนินธุรกิจ ถ้าทางาน ได้เร็วแต่ขาดความน่าเชื่อถือก็ถือว่าใช้ไม่ได้ ไม่มี ประสิทธิภาพ ดังนั้นเมื่อนาระบบ Computer Network มาใช้งาน ทาระบบงานมีประสิทธิภาพ มีความ น่าเชื่อถือของข้อมูล เพราะจะมีการทาสารองข้อมูลไว้ เมื่อเครื่องที่ใช้งานเกิดมีปัญหา ก็สามารถนาข้อมูลที่มี การสารองมาใช้ได้ อย่างทันที 4. ประหยัดเวลา ค่าเดินทาง เมื่อต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ในที่ที่อยู่ห่างไกลกัน เช่น บริษัทแม่อยู่ที่ กรุงเทพ ส่วนบริษัทลูกอาจจะอยู่ ตามต่างจังหวัด แต่ละที่ก็มีการเก็บข้อมูล การเงิน ประวัติลูกค้า และอื่นๆ แต่ถ้าต้องการใช้ข้อมูลของอีกที่ หนึ่งจะเกิดความลาบาก ล่าช้า และไม่สะดวก จึงมีการ นาหลักการของ Computer Network มาใช้งาน เช่น มี การใช้ทรัพยากรร่วมกัน หรือโปรแกรม ข้อมูล ร่วมกัน
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ข้อจากัดของระบบเครือข่าย 1.ลงทุนสูงและจัดการยุ่งยาก การเชื่อมต่อ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการจัดการเครือข่าย ต้องใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากซับซ้อน ต้องอาศัยผู้ที่มี ความรู้ความชานาญและมีประสบการณ์สูงจึง ต้องใช้งบประมาณ การเริ่มต้นลงทุนสูงมากอีกทั้ง เทคโนโลยีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เปลี่ยนแปลง ไปเร็วมาก จาเป็นต้องมีงบประมาณเพื่อปรับปรุง ระบบให้ทันสมัยอยู่เสมอ 2.ขาดแคลนซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบเครือข่ายปัจจุบัน ยังขาดแคลนซอฟต์แวร์ ประยุกต์ ด้านต่าง ๆ ทางานภายใต้ สภาพแวดล้อม แบบเครือข่ายอยู่มาก เพราะการ พัฒนา ต้องใช้ความรู้ความชานาญสูง ต้องใช้ เวลาในการพัฒนา จึงจะสามารถสร้างซอฟต์แวร์ ประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ได้ 3.การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ยังขาดความ ปลอดภัยในด้านการรักษาข้อมูล อยู่มาก หรืออาจ มีข้อมูลสูญหายได้ ในขณะติดต่อสื่อสาร เนื่องจากมีข่าวสารในระบบอยู่มาก 4.ความเร็วในการรับส่งข้อมูลต่า ในเครือข่ายระยะไกล เช่น อินเทอร์เน็ต ตัวกลาง นาทีใช้ ในการนาสัญญาณ ยังมีอัตราความเร็วใน การรับส่งข้อมูลต่า เมื่อเทียบกับการสื่อสารด้วย โทรศัพท์ หรือโทรทัศน์ จะต้องมี3ประการนี้จึงจะเป็นเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนระบบเครือข่าย - เครื่องคอมพิวเตอร์ PC / Macintosh - เครื่องคอมพิวเตอร์เวอร์คสเตชัน 2. Physical Media หรือสื่อเชื่อมต่อทาง กายภาพอันได้แก่ สาย (Cable) และ Hub หรือ อุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ 3. ระเบียบพิธีการติดต่อสื่อสาร (Protocol) ก็คือระเบียบหรือข้อตกลง (rules) ที่ตั้งขึ้น เพื่อทาให้ ผู้ที่จะสื่อสารกันเข้าใจกันและกัน ตัวอย่างเช่น สัญญาณธงที่ทหารเรือใช้สื่อสารกัน เป็นต้น Heading 2 องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระบบเครือข่ายระยะใกล้หรือท้องถิ่น (Location Area Network :MAN) เป็นรูปแบบการทางานของระบบเครือข่ายหนึ่งที่ช่วยให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ใช้งานทางด้าน คอมพิวเตอร์ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงสื่อสาร ส่งข้อมูล ติดต่อใช้ งานร่วมกันได้ การติดต่อสื่อสารของอุปกรณ์จะอยู่ในบริเวณแคบ โดยทั่วไปจะมีระยะการไม่เกิน 10 กิโลเมตร เช่น ภายในอาคาร สานักงาน ภายในคลังสินค้า โรงงานหรือ ระหว่างตึกใกล้ๆ เชื่อมโยงด้วยสายสื่อสารจึงทาให้มีความเร็วในการสื่อสารข้อมูล ด้วยความเร็วสูงมาก และความผิดพลาดต่า ระบบเครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network :MAN) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายท้องถิ่นหลายๆ ระบบเข้า ด้วยกันในพื้นที่เดียวกัน เช่นภายในเมืองเดียวกัน เกิดเป็นเครือข่ายของ เมืองนั้น ระบบเครือข่ายนี้จะใช้สื่อเชื่อมโยงทั้งชนิดใช้สายสัญญาณและ ชนิดไม่ใช้สายสัญญาณผสมเข้าด้วยกัน ตามลักษณะพื้นที่ ความเร็วใน การรับ-ส่งข้อมูล ในระยะทางไม่เกิน 60 กิโลเมตร Heading 3 ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network :WAN) เป็นเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง โดยมีการส่งข้อมูลในลักษณะเป็น Packet ซึ่งต้องเดินทางจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ต้นทางไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง Packet นี้ส่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง โดยมีสายสื่อสารหรืออุปกรณ์สื่อสารอื่น ในการเชื่อมต่อกัน ในลักษณะเป็นลูกโซ่ อาศัยเครื่อง คอมพิวเตอร์ถัดไปในเส้นทางที่สะดวกรูปแบบของเครือข่ายแตกต่างกันไปตามลักษณะอัลกอริทึมสาหรับการคานวณ เส้นทางในการส่ง Packet โดยแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ แบบดาตาแกรม (Datagram) และแบบเวอร์ชวล เซอร์กิต (Virtual Circuit) หรือวงจรแบบเสมือน ระบบดาตา-แกรมพิจารณาแต่ละ Packet แยกจากกัน Packet ต่างๆ ของ ข้อความเดียวกันอาจถูกส่งไปในเส้นทางที่ต่างกันได้ขึ้นอยู่กับ ปริมาณข่าวสารในเครือข่าย ในแต่ละขณะเวลาที่ผ่านไป และรวมถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเครือข่ายเนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์บางตัวเสีย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ในการแสวงหาความรู้มีหลายระบบ ในที่นี้จะกล่าวถึง 2 ระบบ คือ อินทราเน็ตและอินเทอร์เน็ต ระบบอินทราเน็ต (Intranet ) เป็นระบบเครือข่ายภายในองค์กร หรือหน่วยงาน ของตนเอง ซึ่งเป็นการภายในต้องการความเป็นส่วนตัว ไม่ ต้องการเผยแพร่ข้อมูลออกสู่ภายนอก หรือเพื่อความ ปลอดภัยในการใช้งาน อีกทั้ง ยังไม่ต้องการให้ บุคคลภายนอกมาร่วมใช้ หากไม่ได้รับการอนุญาต เช่นระบบ เงินเดือน ข้อมูลการวิจัย และพัฒนาสินค้า ระบบบัญชี หรือ ข้อมูลความลับ ของหน่วยงาน เป็นต้น ทั้งนี้ในทุกรูปแบบของ การใช้งาน ก็สามารถทาได้ เช่นเดียวกันในเครือข่ายInternet ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบการสื่อสาร โดยผ่านสื่อโทรคมนาคม ที่ มีอยู่ภายในองค์กร เช่น ระบบโทรศัพท์ภายใน หรือ ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ภายในองค์กร (Local Area Network) โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นตัวจัดการ ทั้งหมด ให้ง่ายต่อ การใช้งาน อาจใช้เครื่อง server ที่กาหนดการใช้งานเฉพาะ อย่าง หรืออาจะมีลักษณะเดียวกันกับอินเทอร์เน็ต sever ก็ได้ ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นระบบเครือข่าย ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้เราสามารถ เชื่อมโยงสื่อสารกันได้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใดในโลก และไม่ว่าจะ เป็นในรูปแบบใดในการสื่อสาร เช่น รูปแบบข้อมูล (information) เสียง (sound) ภาพ(picture) ภาพยนต์ (video) ภาพสด(live video) การประชุมทางไกลชนิดเห็น ภาพและเสียงของผู้ร่วมประชุม (video conference) รูป graphicsต่างๆ หรือแม้กระทั่งภาพ animation และภาพสาม มิติ (3-Dimension) จากคอมพิวเตอร์ได้อย่าง กว้างขวาง โดยผ่าน สื่อโทรคมนาคมที่มีอยู่ เช่น ระบบ โทรศัพท์พื้นฐาน ระบบสื่อสารดาวเทียม ระบบสื่อสารด้วย คลื่นวิทยุ หรือ เคเบิลใยแก้วนาแสง
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Heading 4 องค์ประกอบของระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ การที่คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้ ต้องมี องค์ประกอบพื้นฐานดังต่อไปนี้ - คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่อง - เน็ตเวิร์ดการ์ด หรือ NIC ( Network Interface Card) เป็นการ์ดที่เสียบเข้ากับช่องที่ เมนบอร์ดของ คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และ เครือข่าย - สื่อกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่วนสายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กันในเครือข่ายก็ เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใยแก้วนา แสง เป็นต้น ส่วนอุปกรณ์ เครือข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์ เตอร์ เกตเวย์ เป็นต้น - โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่ คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ สามารถสื่อสารกันได้นั้นจาเป็นที่ต้องใช้ “ภาษา” หรือใช้ โปรโตคอลเดียวกันเช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็นต้น - ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System)ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะเป็นตัวคอย จัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน 1.เน็ตเวิร์คการ์ด เน็ตเวิร์คการ์ดจะเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย ส่วนใหญ่จะเรียกว่า “NIC (Network Interface Card)”หรือบางทีก็เรียกว่า “LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทาการ แปลงข้อมูลเป็นสัญญาณที่สามารถส่งไปตาม สายสัญญาณหรือสื่อแบบอื่นได้ ปัจจุบันนี้ก็ได้มีการ แบ่งการ์ดออกเป็นหลายประเภท ซึ่งจะถูกออกแบบ ให้สามารถใช้ได้กับเครือข่ายประเภทแบบต่าง ๆ เช่น อีเธอร์เน็ตการ์ด โทเคนริงการ์ด เป็นต้น การ์ดในแต่ ละประเภทอาจใช้กับสายสัญญาณบางชนิดเท่านั้น หรืออาจจะใช้ได้กับสายสัญญาณหลายชนิด เน็ตเวิร์คการ์ด
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2.สายสัญญาณ ปัจจุบันมีสายสัญญาณที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่3 ประเภท 2.1 สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียว ( twisted pair ) ในแต่ละคู่ของสาย ทองแดงซึ่งจะถูกพันกันตามมาตรฐาน เพื่อต้องการลด การรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ากับคู่สายข้างเคียงได้ แล้วผ่านไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรือจากภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่แพงมากใช้ส่งข้อมูล ได้ดี แล้วน้าหนักเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงทาให้ถูกใช้งาน อย่างกว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์ 2.2 สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียล เป็นตัวกลางการเชื่อมโยงที่มีลักษณะ เช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันอยู่เป็นจานวนมากไม่ ว่าจะใช้ในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่งข้อมูล ระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูล สัญญาณวีดีทัศน์ ซึ่งสายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทอล และชนิด 75โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโค แอกเชียลมีฉนวนหุ้มเพื่อป้ องกันการรบกวนของ คลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้ า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณ รบกวนอื่น ๆ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วง ความถี่ที่สัญญาณไฟฟ้ าสามารถส่งผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราของการส่งสูงขึ้น สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน 2.3 เส้นใยแก้วนาแสง เส้นใยนาแสง ( fiber optic ) เป็นการที่ใช้ให้แสง เคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วยเป็น อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI ก็จะใช้ได้ ด้วยความเร็วสูงถึง100 เมกะบิต ลักษณะของเส้นใยนาแสง
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 3. อุปกรณ์เครือข่าย อุปกรณ์ที่นามาใช้ในเครือข่ายทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ- ส่งข้อมูลในเครือข่าย หรือใช้ สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่งข้อมูลได้ดี และส่งในระยะที่ไกลมากขึ้น หรือใช้สาหรับ ขยายเครือข่ายให้มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์ 3.1 ฮับ (Hub) ฮับ (HUB) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่งเฟรม ข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่ เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย 3.2 สวิตซ์ (Switch) สวิตซ์ (Switch) หรือ บริดจ์ (Bridge) เป็น อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครือข่ายเข้า ด้วยกัน โดยจะต้องเป็น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้ โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการ เชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน ฮับ (HUB) สวิตซ์ หรือ บริดจ์ 3.3 เราท์เตอร์ ( Routing ) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบ เครือข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่คล้ายกับบริดจ์ แต่ ก็มีส่วนการทางานจะซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดย เราท์เตอร์ก็มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างแต่ละ เครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทาให้เราท์เตอร์สามารถทาหน้าที่จัดหาเส้นทาง และเลือกเส้นทางเหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3.4 โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่องอาจก็ต้องมีระบบที่เหมือนกัน หรือแตกต่าง กัน เช่นในการใช้งานในเครือข่ายจึงต้องเป็นมาตรฐานหรือ ระเบียบที่ใช้ในการติดต่อให้แต่ละเครื่องมีวิธีการสื่อสารที่ เป็นไปตามแนวทางเดียวกันได้ เพื่อให้เป็นการเชื่อมโยง ข้อมูล และในการติดต่อสื่อสารของเครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ ละเครื่องต้องมีความเข้าใจถูกต้องตรงกันและสามารถ ทางานร่วมกันได้เป็นอย่างดี ไม่เกิดความเสียหายนั้น เกิดขึ้น จึงมีการกาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรียกว่า โปรโตคอล ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าโปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่อสาร รูปแบบ วิธีการเชื่อมต่อ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม(ให้ สามารถติดต่อสื่อสารมีการใช้งานร่วมกันได้หลากหลาย
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Heading 5 อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 1. คีย์บอร์ด (Keyboard) อุปกรณ์รับข้อมูลจากการกดแป้ นแล้วทาการ เปลี่ยนเป็นรหัส เพื่อบอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่ามีการ กดตัวอักษรอะไร แผงแป้ นอักขระส่วนใหญ่เป็นไป ตามมาตรฐานของเครื่องพิมพ์ดีด ซึ่งระบบรับรหัส ตัวอักขระที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์เป็นรหัส 7 หรือ 8 บิต (Operator) 2. เมาส์ (Mouse) อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลโดยการเลื่อนเมาส์เพื่อบังคับ ตัวชี้ไปยังตาแหน่งต่างๆ บนหน้าจอ เมาส์ที่นิยมใช้มี ด้วยกัน 3 ประเภทได้แก่ - แบบทางกล (Mechanical) ใช้ลูกกลิ้งกลม - แบบใช้แสง (Optical mouse) - แบบไร้สาย (Wireless Mouse) ที่มาของภาพ 3.สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลที่เป็นเอกสาร รูปภาพ รูป ถ่าย สแกนเนอร์สามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ - แบบเลื่อนกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) สแกนเนอร์แบบนี้จะรับกระดาษแล้วค่อย ๆ เลื่อน หน้ากระดาษให้ผ่านหัวสแกนซึ่งอยู่กับที่
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 4. แผ่นสัมผัส (Touch Pads) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลโดยการใช้นิ้วสัมผัสลงบน แผ่นสัมผัส น้าหนักที่กดสงไปจะถูกเปลี่ยนเป็น สัญญาณไฟฟ้ า มักเห็นอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก 5. กล้องดิจิทัล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ สามารถแปลงข้อมูลภาพเป็นสัญญาณดิจิทัล มี ลักษณะการใช้งานเหมือนกล้องถ่ายภาพทั่วไป แต่ต่างกันตรงที่ไม่ต้องใช้ฟิล์มในการบันทึกข้อมูล ข้อมูลภาพที่ได้สามารถถ่ายลงสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์และสามารถเรียกดูได้ทันที หรือจะใช้ โปรแกรมช่วยตกแต่งภาพให้ดูสวยงามขึ้นก็ได้ หน่วยความจา (Memory Unit) เป็นหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ทางานได้รวดเร็วที่สุด ซึ่งสามารถจาแนกตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ประเภท คือ 1. หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจาภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจาที่มีโปรแกรมหรือข้อมูลอยู่แล้ว สามารถเรียกออกมาใช้ งานได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้ าไปเลี้ยงให้แก่ระบบข้อมูลก็ไม่สูญหายไป - แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจาที่สามารถเก็บข้อมูลได้เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เมื่อใดไม่มีกระแสไฟฟ้ ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจาชนิดนี้จะหายไปทันที
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2. หน่วยความจารอง (Second Memory) หรือหน่วยความจาภายนอก (External Memory) เป็นหน่วยความจาที่ ต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่างๆ ได้แก่ - ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลใน เครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่ เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ด้วย - ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่นกลมบางทาจากไมลาร์ (Mylar) สามารถ บรรจุข้อมูลได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เท่านั้น - ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง เหมาะสาหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทามาจากแผ่นพลาสติกกลมบางที่เคลือบด้วยสารโพลี คาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทาให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมี การบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว - รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมี ตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออื่นๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive - ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่จะมาแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซิปดิสก์ - Magnetic optical Disk Drive เป็นสื่อเก็บข้อมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมี ขนาดพอๆ กับฟล็อบปี้ดิสก์ แต่ขนาดความจุมากกว่า เพราะว่า MO Disk drive 1 แผ่นสามารถบันทึกขัอมูลได้ตั้งแต่ 128 เมกะไบต์ จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต์ - เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เป็นอุปกรณ์สาหรับการสารองข้อมูล ซึ่ง เหมาะกับการสารองข้อมูลขนาดใหญ่มากๆ ขนาดระดับ 10-100 กิกะไบต์ - การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาดเล็ก พัฒนาขึ้น เพื่อนาไปใช้กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มี ความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้ อน เข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตาม ชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ 1. หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทา หน้าที่เหมือนกับเครื่องคานวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคานวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คาตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ ได้ หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทาหน้าที่แสดงผล ลัพธ์เมื่อซีพียูทาการประมวลผล 1. จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่เป็น ภาพ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 2. เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ แสดงผลลัพธ์ในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่ บนกระดาษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดอต เมตทริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink- Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และ พล็อตเตอร์ (Plotter) 3. ลาโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ใน รูปของเสียง สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านแผงวงจร เกี่ยวกับเสียง (Sound card) ซึ่งมีหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิทัลไป เป็นเสียง
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Heading 6 ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลาดับขั้นตอนการทางานที่เขียนขึ้นด้วยคาสั่งของ คอมพิวเตอร์ คาสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทางานตามคาสั่ง การทางานพื้นฐานเป็น เพียงการกระทากับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็น ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทางานให้กับเราได้มากมาย เพราะว่ามี ผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทา บัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อนบริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว คอมพิวเตอร์ ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสาร ให้สวยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดาเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ก็ไม่สามารถทางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จาเป็น และมีความสาคัญมาก และเป็น ส่วนประกอบหนึ่งที่ทาให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามที่ต้องการ
  • 14. 14 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ซอฟท์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่วยรับเข้า หน่วยส่งออก หน่วยความจา และหน่วยประมวลผล ในการ ทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีการดาเนินงานกับอุปกรณ์พื้นฐานที่จาเป็น ดังนั้นจึงต้องมีซอฟต์แวร์ ระบบเพื่อใช้ในการจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับการกดแป้ นต่าง ๆ บนแผงแป้ นอักขระ ส่ง รหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้า และส่งออกอื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์ สังเคราะห์เสียง ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการสาระบบใน แผ่นบันทึก การทาสาเนาแฟ้ มข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็น ระบบปฏิบัติการ และตัวแปลภาษา ซอฟต์แวร์ทั่งสอง ประเภทนี้ทาให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึ้น ใช้ในการจัดการหน่วยความจา เพื่อนาข้อมูลจาก แผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจาหลัก หรือในทานอง กลับกัน คือนาข้อมูลจากหน่วยความจาหลักมาเก็บไว้ใน แผ่นบันทึก
  • 15. 15 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ซอฟท์แวร์ประยุกต์ การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทาให้มีการใช้งานคล่องตัวขึ้น จนในปัจจุบันสามารถนา คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ติดตัวไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้ สะดวก การใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีผู้พัฒนาเพื่อใช้งานทั่วไป ทาให้ทางานได้สะดวกขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งาน เฉพาะ ซึ่งผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาขึ้นเองเพื่อให้เหมาะสมกับ สภาพการทางานของตน ซอฟต์แวร์สาเร็จ ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กันทั่วไป ซอฟต์แวร์สาเร็จ (package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความ นิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์สาเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่ บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนาออกมาจาหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งาน ซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนา ซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีจาหน่ายในท้องตลาด ทั่วไป และเป็นที่นิยมของผู้ใช้มี 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคา (word processing software) ซอฟต์แวร์ตารางทางาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นาเสนอ (presentation software) และซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (data ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็น ซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบ การทางานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดทาขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มี หลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัด จาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเช่าซื้อ
  • 16. 16 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Heading 7 ตัวกลางนาข้อมูล สื่อหรือตัวกลางการสื่อสารข้อมูล (Communication Medium) สื่อหรือตัวกลางการสื่อสารข้อมูล ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญของ การสื่อสารข้อมูล เพราะการเลือกใช้สื่อที่เหมาะสม ทาให้เกิด ประสิทธิภาพในการส่งและประหยัดต้นทุนในการส่ง ตัวกลางในการ สื่อสารข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1.สื่อนาข้อมูลแบบมีสาย 2.สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media) นาข้อมูลแบบมีสาย ( wired media ) สื่อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้ มี 3 ชนิดดังนี้ สายคู่บิตเกลียว ( twisted-pair cable ) เป็นสายสัญญาณนาข้อมูลไฟฟ้ า สายแต่ละเส้น จานวนสายจะมีเป็นคู่เช่น 2 ,4 หรือ 6 เส้น แต่ ละคู่จะมีการพันบิดกันเป็นเกลียว การบิดเกลียวนี้จะช่วยลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในการส่ง ข้อมูล ทาให้สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ สายสัญญาณคู่บิดเกลียวมีความถี่ในการส่ง ข้อมูลประมาณ100 Hz ถึง 5 MHz ลักษณะของสายสัญญาณชนิดนี้มี 2 ลักษณะ คือ สายคู่บิด เกลียว แบบไม่มีชั้นโลหะห่อหุ้ม(unshielded twisted-pair หรือ UTP ) และสายคู่บิดเกลียว แบบมีชั้นโลหะห่อหุ้ม ( shielded twisted-pair หรือ STP ) สารับสายคู่บิดเกลียวแบบมีชั้น โลหะห่อหุ้มจะมีชั้นโลหะที่ทาหน้าที่เป็น เกราะหุ้มเพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนจากภายนอกได้
  • 17. 17 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved สายโคแอกเชียล ( coaxial cable ) สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนาข้อมูล ไฟฟ้ า มีความถี่ใน การส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง 500 MHz สายโคแอกเชียลมีความเร็ว ในการส่งข้อมูลและมี ราคาสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว ลักษณะของสายโคแอกเชียล เป็นสายนาสัญญาณที่มีฉนวนหุ้มเป็นชั้นๆ หลายชั้นสลับกับ ตัวโลหะตัวนาโลหะชั้นในทาหน้าที่ส่งสัญญาณ ส่วนตัวนา โลหะชั้นนอกทาหน้าที่เป็นสายดิน และเป็นเกราะป้ องกัน สัญญาณรบกวนจากภายนอก ทาให้มีสัญญาณรบกวน ตัวนาชั้นในน้อย จึงส่งข้อมูลได้ในระยะไกล สายใยแก้วนาแสง ( optical fiber cable ) สายสัญญาณทาจากใยแก้วหรือสารนาแสง ห่อหุ้มวัสดุป้ องกันแสง มีความเร็วในการส่งข้อมูลเท่ากับ ความเร็วแสง สามารถใช้ในการส่งข้อมูล ที่มีความถี่สูงได้ สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนาแสง คือแสง และสัญญาณ รบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจาก ภายนอก ดังนั้นสายใย แก้วนาแสงที่มีสภาพดี จะมี สัญญาณรบกวนน้อยมาก สายใยแก้วนาแสงมีราคา ค่อนข้างสูงและดูแลรักษายากจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมสาหรับ การใช้งานสื่อสารทั่วๆ ไปในองค์การขนาดเล็ก หรือในการ สื่อสารที่ไม่ต้องการความเร็วสูง
  • 18. 18 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved สื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย(Wireless Media) การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของการสื่อสาร เช่น -แสงอินฟราเรด (Infrared) เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยใช้แสงอินฟราเรดเป็น สื่อกลาง การสื่อสารประเภทนี้นิยมใช้สาหรับการสื่อสารข้อมูลระยะใกล้ เช่น การ สื่อสารจากรีโมทคอนโทรลไปยังเครื่องรับวิทยุหรือโทรทัศน์ -สัญญาณวิทยุ (Radio Wave) เป็นสื่อนาข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ที่มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่นวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ -ไมโครเวฟภาคพื้นดิน (Terrestrial Microwave) เป็นการสื่อสารไรสายอีก ประเภทหนึ่ง การสื่อสารประเภทนี้จะมีเสาส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่างๆ กัน ทาการส่งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล -การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication) เป็นการสื่อสารจาก พื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะทาหน้าที่เป็น สถานีทวนสัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยังสถานีภาพพื้นดินอื่นๆ ระยะทาง จะโลกถึงดาวเทียมประมาณ 22,000 ไมล์
  • 19. 19 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Heading 8 มาตรฐานของระบบ LAN โดยปกติแล้ว ในการออกแบบการเชื่อมต่อระบบ LAN จะต้อง คานึงถึงลักษณะโครงสร้าง (Topology) สื่อกลาง (Media) และวิธีใน การเข้าใช้สื่อกลาง (Media Access Method) ซึ่งจะมีความเหมาะสม ในการนามาประกอบกันเพื่อใช้งานแตกต่างกันไป อย่างไรก็ดี เพื่อให้ การเชื่อมต่อระบบ มีมาตรฐานและสามารถใช้งานได้อย่างกว้างขวาง ทาให้มีองค์กรกาหนดมาตรฐานได้กาหนดมาตรฐานของระบบ เครือข่ายแบบต่าง ๆ ออกมา ซึ่งมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับและมี การใช้งานอย่างกว้างขวางคือ Ethernet อีเทอร์เน็ต (Eternet) เป็นระบบ LAN ที่พัฒนาขึ้นโดย 3 บริษัทใหญ่คือ บริษัท Xerox Corporation, Digital Equipment Corporation (DEC) และ Intel ในปี ค.ศ 1976 เริ่มจากศูนย์วิจัย PARC (Palo Alto Research Center ของ Xerox) ซึ่งถูกจัดเป็นมาตรฐานรหัส 802.3 ของ IEEE ปัจจุบันมี การใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยในระยะแรกอีเทอร์เน็ตใช้สาย Coaxial เป็น หลักต่อมาได้พัฒนาและเปลี่ยนไปใช้สายแบบ UTP(Unshielded Twisted Pair) มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีราคาและสามารถติดตั้งได้ง่าย รวมถึง ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลถูกทาให้เพิ่มขึ้นจาก 10Mbps ไปเป็น 100- 1000 Mbps(1 Gbps) ในปัจจุบันและอาจถึง10 Gbps ลักษณะสาคัญของอีเทอร์เน็ต คือ ข้อมูลทุกอย่างจะถูกส่งผ่าน ตัวกลางที่เชื่อมระหว่างทุกๆ เครื่อง ซึ่งก็คือสาย Coaxial นั่นเอง ดังนั้น Ethernet ในยุคแรกจึงใช้การต่อสายแบบบัส (Bus) ที่วิ่งผ่านทุกเครื่องและ ต่อมาค่อยๆเปลี่ยนไปสู่การต่อแบบดาว (Star) ที่รวมสายเข้าศูนย์กลาง เมื่อ มีการใช้สาย UTP และต่อผ่านอุปกรณ์ฮับ (Hub) มาตรฐานที่สาคัญของ Ethernet ได้แก่ 10Base-5, 10Base-2,10Base-T โดยรหัสแต่ละตัวมี ความหมาย
  • 20. 20 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved โทเคนริง (Token Ring) เป็นการต่อ LAN ในแบบวงแหวน (Ring) โดยมีวิธีควบคุมการส่งข้อมูลแบบ Token-passing ที่พัฒนาขึ้นโดยบริษัทไอบีเอ็ม โดยในรุ่นแรกๆจะมีความเร็วเพียง 4 Mbps แต่ ต่อมาได้ปรับปรุงเป็น 16Mbps จุดอ่อนของ Token-Ring คือ ถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาดวง แหวน จะไม่ครบวงและทางานไม่ได้ FDDI (Fiber Distributed Data Interface) FDDI เป็นมาตรฐานการต่อระบบเครือข่ายโดยใช้ สาย Fiber optic ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วสูงถึง 100 Mbps เท่ากับ Fast Ethernet ลักษณะของ FDDI จะ ต่อเป็นวงแหวน โดย FDDI เหมาะที่จะใช้เป็น backbone ที่เชื่อมต่อระบบ LAN หลายๆวงเข้าด้วยกัน โดยแต่ละวง LAN จะต้องมีตัวรวมสาย (concentrator) หรืออุปกรณ์ Router ที่ใช้ต่อระหว่าง LAN ทั้งวงเข้าเป็นสถานี ในวงของ FDDI มีสายสองชั้นเดินคู่ขนานกัน เพื่อ สารองในกรณีเกิดสายขาดขึ้นวงจรจะได้ตัดส่วนที่ขาดออก แล้ววนสายที่เหลือให้ครบรอบเป็น ring ตามเดิม ลักษณะ การรับส่งข้อมูลของ FDDI ก็ใช้วิธี Token-passing เช่น เดียวกับ Token Ring
  • 21. 21 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN) เครือข่าย LAN ไร้สาย คือ เครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency) ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งมีประโยชน์ที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องของ การไม่ต้องเดินสายเหมือน LAN แบบอื่นๆ ซึ่งเหมาะกับการใช้งานในบ้าน หรือสถานทีที่ไม่สะดวกในการเดินสาย เช่น ที่บ้าน โดยคุณอาจเล่น อินเทอร์เน็ตผ่านเครื่องเครื่องหนึ่งที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อผ่านโมเด็มได้จาก ทุกห้องในบ้าน หรือ แม้แต่บริเวณหน้าบ้าน โดยสามารถเชื่อมต่อได้ทุกที่ ทุกจุดภายในระยะทาการ เนื่องจากคลื่นวิทยุนี้มีคุณสมบัติในการทะลุ ทะลวงสิ่งกีดขวางต่างๆได้ดี ไม่ว่าจะเป็นผนัง กาแพง เพดาน แต่ปัญหา สาหรับระบบเครือข่ายไร้สายคือเรื่องการรบกวนของสัญญาณวิทยุ Heading 9 เครือข่ายแบบไร้สาย ปัจจุบันเครือข่ายแบบไร้สายมี 2 มาตรฐาน คือ HomeRF (Home Radio Frequency) และ IEEE 802.11 โดย IEEE 802.11นั้นสามารถแตกย่อยออกเป็นหลายมาตาฐานย่อย ตามสัญลักษณ์ตัวสุดท้าย เช่น IEEE 802.11a, IEEE802.11b, IEEE802.11g เป็นต้น แต่ที่กาลังเป็นที่นิยมและแพร่หลายกันอยู่ คือ IEEE 802.11b หรือ Wireless LAN เรียกสั้นๆว่า” WLAN” เครื่องโน๊ตบุ๊ครุ่นใหม่หลายยี่ห้อก็ให้อุปกรณ์ Wireless LAN แบบนี้ มาในตัวเลย สาหรับความถี่ของคลื่นที่ได้รับจัดสรรมาให้ใช้จะมี 3 ช่วง ดังรูป ซึ่งเรียกว่าเป็น ISM Bands (ISM = Industrial, Scientific และ Medical) โดยขณะนี้กาลังใช้ความถี่ระหว่าง 2.4 – 2.4835 GHz
  • 22. 22 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Heading 10 Wireless LAN แลนไร้สายหรือ ไวเลสแลน (Wireless LAN, WLAN) คือระบบที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายภายในพื้นที่แบบไร้ สาย โดยใช้คลื่นความถี่วิทยุใน การเชื่อมต่อหรือสื่อสารกัน การเชื่อมต่อ แลนไร้สายมีทั้งแบบเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน และ เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) มาตราฐานWireless LAN สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11a มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถึ่ย่าน 5 GHz สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11b มีความเร็วสูงสุดที่ 11 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz สาหรับมาตรฐาน IEEE 802.11g มีความเร็วสูงสุดที่ 54 Mbps ที่ความถี่ย่าน 2.4 GHz ในประเทศไทยอนุญาตให้ใช้ช่องคลื่นความถี่ที่ 2.4 GHz เป็นคลื่นความถี่เสรี ที่ทุกคนสามารถ ติดตั้งและใช้งานได้ จึงทาให้ในประเทศไทยจะมีอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) ที่ จาหน่ายเพียงสองมาตราฐานคือ IEEE 802.11b และ g เท่านั้น
  • 23. 23 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved รองรับการรักษาความปลอดภัยหลายระดับ - ควบคุมการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย โดยการตั้งค่า NIC Card ของเครื่อง Client กับ Access Point ให้มีค่าตรงกัน จึงจะสามารถ ติดต่อกันได้ ถือเป็นการกาหนดพื้นที่ให้บริการของ Wireless Lan (Wireless Lan Service Area: WLS) นอกจากนี้ยังมีความปลอดภัยในอีกระดับหนึ่ง คือการบันทึก MAC address ของแต่ละ NIC Card ที่ได้รับอนุญาตให้ติดต่อกับ Access point นั้นๆ ได้ไว้ในตัว Access Point เองเพียงเท่านี้บุคคลภายนอกก็จะไม่ สามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายได้ - การเข้ารหัสเพื่อป้ องกันการดักสัญญาณระหว่าง NIC Card กับ Access Point สามารถรองรับการเข้ารหัสสัญญาณเพื่อป้ องกันการ ดักสัญญาณที่กระจาย ออกไปได้ โดยมีทั้งการเข้ารหัสสัญญาณแบบ 40 บิต และ 128 บิต แบบ Wired Equivalent Privacy (WEP) ซึ่งเป็นมาตรฐานโปรโตคอลความปลอดภัยสาหรับ อุปกรณ์ Wireless Access Point Wireless LAN card
  • 24. 24 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Heading 11 การทางานของคอมพิวเตอร์ ในเครือข่าย 1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการ ประมวลผล ซึ่งจะตังอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยัง เครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ โดยการเดินสายเคเบิล เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเครื่องเทอร์มินอลสามารถ เข้าใช้งาน โดยส่งคาสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลาง ซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางจะมีราคาสูง และและไม่ สามารถสนับสนุนระบบการประมวลผลแบบ Multiprocessor ได้ดีเท่ากับระบบเครือข่ายแบบ Client/Server ปัจจุบันระบบนี้จึงมีความนิยมในการใช้งาน ลดน้อยลง ข้อดีของระบบนี้คือ ความง่ายในการจัดตั้งระบบ มี ราคาถูก และสะดวกต่อการบริหารจัดการ ซึ่งมักจะมอบ เป็นภาระหน้าที่ของผู้ใช้ในแต่ละสถานีงานให้ รับผิดชอบในการดูแลพิจารณาการแบ่งปันทรัพยากร ของตนเองให้กับสมาชิกผู้อื่นในกลุ่ม ดังนั้นระบบนี้จึง เหมาะสมสาหรับสานักงานขนาดเล็ก ที่มีสถานีงาน ประมาณ 5-10 เครื่องที่วางอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ข้อด้อยของระบบนี้คือ เรื่องการรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากไม่มีระบบการป้ องกันใน รูปแบบของ บัญชีผู้ใช้ และรหัสผ่าน ในการเข้าถึง ทรัพยากรต่างๆ ของระบบ 2.ระบบเครือข่าย Peer-to-Peer แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่าย Peer-to-Peer จะมี ความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กัน และกันได้ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้ มข้อมูลร่วมกันใน เครือข่าย ในขณะเดียวกันเครื่องแต่ละสถานีงานก็จะมีขีด ความสามารถในการทางานได้ด้วยตัวเอง (Stand Alone) คือจะต้องมีทรัพยากรภายในของตัวเองเช่น ดิสก์สาหรับ เก็บข้อมูล หน่วยความจาที่เพียงพอ และมีความสามารถใน การประมวลผลข้อมูลได้
  • 25. 25 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server เป็นระบบเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง และมีการใช้งานกันอย่างกว้างขวางมากกว่าระบบเครือข่ายแบบอื่นที่มีใน ปัจจุบัน ระบบ Client/Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจานวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ได้หลายแพลตฟอร์ม ระบบนี้จะทางานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการ เป็นศูนย์กลางอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางแต่สิ่งที่แตกต่างกัน ก็คือ เครื่องที่ทาหน้าที่ให้บริการในระบบ Client/Server นี้จะเป็นเครื่องที่มีราคาไม่แพงมาก ซึ่งอาจใช้เพียงเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการทรัพยากรต่างๆ นอกจากนี้เครื่องลูกข่ายยังจะต้องมี ความสามารถในการประมวลผล และมีพื้นที่สาหรับจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตนเองอีกด้วย ระบบเครือข่ายแบบ Cleint/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทางานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของ จานวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจานวนเครื่อง Servers สาหรับให้บริการต่างๆ เพื่อช่วยกระจาย ภาระของระบบได้ ส่วนข้อเสียของระบบนี้ก็คือ มีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ Peer-to-Peer รวมทั้งต้องการ บุคลากรเพื่อการบริหารจัดการระบบโดยเฉพาะอีกด้วย Internetworking –จาก LANสู่ WAN 1.Repeater เมื่อสายที่ต่อกันระหว่างเครื่องมีความยาเกินกว่าที่ มาตรฐานกาหนดสัญญาณที่ส่งกันถึงผ่านเครือข่ายก็จะอ่อนลงจน นับไม่ได้ 2. Bridge ทาหน้าที่เป็น สะพาน เชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้า ด้วยกัน โดยถ้าข้อมูลส่งออกมาในเครือข่ายหนึ่งมีปลายทางที่อีก เครือข่ายหนึ่ง Bridge ก็จะส่งข้อมูลข้ามไปให้ 3. Switch เป็นอุปกรณ์ที่ทางานในลักษณะเดียวกับ Bridge แต่แบ่ง สาย 1 เส้น หรือ 1พอร์ตของสวิตซ์เป็น 1เครือข่าย 4. Router เป็นอุปกรณ์ที่ทางานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่ง ใน LAN ที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทางคล้ายกับ Switchหรือ Bridge