SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
bracteole   ( ใบประดับย่อย )   corolla   ( วงกลีบดอก )   petaloid staminode   ( เกสรเพศผู้เป็นหมันที่เปลี่ยนรูปไปคล้ายกลีบดอก )   sepal   ( กลีบเลี้ยง )   พุทธรักษา  ( Canna  sp.) พุทธรักษาออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยแต่ละดอกมีใบประดับย่อยสีเขียวรองรับ กลีบเลี้ยง  3  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก  3  กลีบเชื่อมติดกันที่โคน และเชื่อมติดกับเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียด้วย ทำให้มีลักษณะคล้ายเป็นหลอด เกสรเพศผู้  1  อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก แต่ยังคงเห็นอับเรณูติดอยู่ที่ด้านข้างของส่วนที่คล้ายเป็นกลีบ เกสร เพศผู้เป็นหมัน  4  อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอกเช่นกัน เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศ เมีย  1  อัน แผ่ออกคล้ายเป็นกลีบ ยอดเกสรเพศเมียอยู่ที่ขอบด้านบนของก้านยอดเกสรเพศเมียที่แผ่ออก ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
petaloid stamen   ( เกสรเพศผู้ที่เปลี่ยนไปคล้ายกลีบ )   anther   ( อับเรณู )   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   sepal   ( กลีบเลี้ยง )   corolla   ( วงกลีบดอก )   ovary   ( รังไข่ )   ovule   ( ออวุล )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดอนย่า ,  ใบต่างดอก  ( Mussaenda  spp.) ดอนย่าหรือใบต่างดอกออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยในช่ออาจแน่นหรือโปร่ง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยก เป็นแฉกกลีบเลี้ยง  4-5  แฉก แฉกกลีบเลี้ยง  1  แฉกหรือทั้งหมดมักเปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก มีสีสันสวยงาม กลีบดอก  5  กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกกลีบดอก  5  แฉก เกสรเพศผู้  5  อัน ติดบนหลอดกลีบดอก  สลับกับแฉกกลีบดอก เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  2  แฉก
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย calyx   ( วงกลีบเลี้ยง )   corolla   ( วงกลีบดอก )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   calyx lobe   ( แฉกกลีบเลี้ยง )   calyx tube   ( หลอดกลีบเลี้ยง )   corolla lobe   ( แฉกกลีบดอก )   corolla tube   ( หลอดกลีบดอก )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัก  ( Calotropis gigantea  (L.) Dryander ex W.T.Aiton) รักออกดอกเป็นช่อ กลีบเลี้ยง  5  กลีบ ขนาดเล็ก แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก  5  กลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกงล้อ เกสรเพศผู้  5  อัน ติดอยู่บนหลอดกลีบดอก เชื่อมติดกันเองและเชื่อมติดกับยอดเกสรเพศเมีย แล้วเปลี่ยนรูปร่างไปเป็น ชั้นกะบังรอบ หรือชั้นมงกุฎ ล้อมรอบรังไข่ และก้านยอดเกสรเพศเมียเอาไว้ข้างใน อับเรณู  5  อัน มีเยื่อบาง ๆ คลุมปิด อยู่ แต่ละอับเรณูมี  2  ช่อง เรณูทั้งหมดในแต่ละช่องเกาะรวมกันเป็นหนึ่งกลุ่มเกิดเป็น “กลุ่มเรณู” ดังนั้นใน  1  อับเรณู จะมี  2 “ กลุ่มอับเรณู” แต่ “กลุ่มเรณู” ในอับเรณูเดียวกันจะไม่เชื่อมติดกัน การเชื่อมกันของ “กลุ่มเรณู” จะเกิดขึ้น ระหว่างช่องของอับเรณูที่อยู่ติดกัน เกิดเป็น “ชุดกลุ่มเรณู” ขึ้น เกสรเพศเมีย  1  อัน แต่ส่วนของรังไข่ และก้านยอด เกสรเพศเมียแยกจากกัน และไปเชื่อมติดกันที่ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ sepal   ( กลีบเลี้ยง )   corolla  ( วงกลีบดอก )   corona  ( กะบังรอบ )
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ovary   ( รังไข่ )   style   ( ก้านยอด เกสรเพศ เมีย )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ยอดเกสร เพศเมีย   corona   ( กะบังรอบ )   pollinium   ( กลุ่มเรณู )   anther   ( อับเรณู )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   corolla lobe   ( แฉกกลีบดอก )   pollinarium   ( ชุดกลุ่มเรณู )
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย sepal  ( กลีบเลี้ยง )   petal  ( กลีบดอก )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   anther   ( อับเรณู )   operculum   ( ฝาปิดอับเรณู )   column   ( เส้าเกสร )   pollinium   ( กลุ่มเรณู )   กลีบเลี้ยง   ovary   ( รังไข่ )   ovule   ( ออวุล )   petal  petal  หวาย  ( Dendrobium  sp.) หวายออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง  3  กลีบ กลีบเลี้ยงอันบนแยกเป็นอิสระ กลีบเลี้ยงคู่ข้างเชื่อมติด กันที่โคนมีลักษณะคล้ายเป็นคางยื่นออกมา กลีบดอก  3 กลีบแยกจากกัน กลีบดอกหนึ่งกลีบที่อยู่ด้านล่างมีลักษณะแตกต่างไปจากกลีบดอกอีก  2  กลีบ เรียกกลีบปาก เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันเกิดเป็นโครงสร้างที่เรียก เส้าเกสร ส่วนบนสุดเป็นอับเรณู ซึ่งมี ฝาปิดคลุมกลุ่มเรณูเอาไว้ ถัดจากอับเรณู ลงมามีลักษณะเป็นแอ่ง มีน้ำเหนียวๆ คือ ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ
gland   ( ต่อม )   bract   ( ใบประดับ )   bract   ( ใบประดับ )   pistillate flower   ( ดอกเพศเมีย )   staminate flower   ( ดอกเพศผู้ )   โป๊ยเซียน  ( Euphorbia milii  Des Moul) โป๊ยเซียนออกดอกเป็นช่อแต่ดูคล้ายเป็นดอกเดี่ยว ช่อดอกเป็นรูปถ้วย มีใบประดับขนาดใหญ่สองใบรองรับช่อดอก  มีต่อมที่มีลักษณะและสีสันคล้ายกลีบติดอยู่กับใบประดับล้อมรอบดอกย่อยในช่อ ดอกย่อยแยกเพศ และไม่มีวงกลีบ ใน  1  ช่อดอกจะพบดอกเพศเมีย  1  ดอกอยู่ตรงกลางช่อ และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศเมีย 1  อันติดอยู่บนก้าน ดอกย่อย รังไข่ลักษณะเป็น  3  พู ก้านเกสรเพศเมีย  3  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  3  อัน แต่ละอันมีลักษณะเป็นสองแฉก ดอกเพศผู้มีหลายดอกอยู่ล้อมรอบดอกเพศเมีย และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศผู้  1  อันติดบนก้านดอกย่อย ที่โคน ก้านดอกย่อยมีใบประดับย่อยที่มีลักษณะเป็นแผ่นหรือเส้นบางๆ หรือมีลักษณะคล้ายเป็นริ้วหรือขน  ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดอกเพศเมีย   ดอกเพศผู้   pistillate flower   ( ดอกเพศเมีย )   staminate flower   ( ดอกเพศผู้ )   gland   ( ต่อม )   ต่อม   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )   anther   ( อับเรณู )   filament  ( ก้านชูอับเรณู )   bracteole   ( ใบประดับย่อย )   pedicel  ( ก้านดอกย่อย )   รอยต่อ   pedicel  ( ก้านดอกย่อย )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0 ยอดเกสรเพศเมีย   ก้านยอดเกสรเพศเมีย   รังไข่   perianth ( วงกลีบรวม )   tepal ( กลีบรวม )   รังไข่   ใบประดับ   anther ( อับเรณู )   filament ( ก้านชูอับเรณู )   บัวจีน  ( Zephyranthes  sp.) บัวจีนมีใบประดับซึ่งมีลักษณะคล้ายปลอก  ส่วนปลายแยกเป็นสองแฉก กลีบเป็นแบบ วงกลีบรวม มีจำนวน  6  กลีบ เรียงเป็น  2 ชั้นๆ ละ  3  กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้จำนวน  6  อัน ก้านชูอับเรณูติดที่โคนวงกลีบรวม เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมียลักษณะแยกเป็น  3  พู
petal  ( กลีบดอก )   sepal  ( กลีบเลี้ยง )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   fruit   ( ผล )   ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย  ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตะขบ  ( Muntingia calabura  L.) ดอกตะขบมีกลีบเลี้ยง  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก  5  กลีบแยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ไม่มีก้านยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ลักษณะเป็นแฉก  5-6  แฉก

More Related Content

What's hot

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์BlankThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1pageใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกBally Achimar
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 

What's hot (20)

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blankการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
การรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์Blank
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1pageใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
ใบความรู้+การเกิดทิศ+ป.3+247+dltvscip3+55t2sci p03 f21-1page
 
หิน
หินหิน
หิน
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 

Similar to Webskt2

การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931PhatharawarongChiera
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931PhatharawarongChiera
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กแพรุ่ง สีโนรักษ์
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้sawaddee
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Z-class Puttichon
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 

Similar to Webskt2 (20)

ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
Webskt1
Webskt1Webskt1
Webskt1
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
 
pracharat
pracharatpracharat
pracharat
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 

Webskt2

  • 1. bracteole ( ใบประดับย่อย ) corolla ( วงกลีบดอก ) petaloid staminode ( เกสรเพศผู้เป็นหมันที่เปลี่ยนรูปไปคล้ายกลีบดอก ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) พุทธรักษา ( Canna sp.) พุทธรักษาออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยแต่ละดอกมีใบประดับย่อยสีเขียวรองรับ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก 3 กลีบเชื่อมติดกันที่โคน และเชื่อมติดกับเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียด้วย ทำให้มีลักษณะคล้ายเป็นหลอด เกสรเพศผู้ 1 อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก แต่ยังคงเห็นอับเรณูติดอยู่ที่ด้านข้างของส่วนที่คล้ายเป็นกลีบ เกสร เพศผู้เป็นหมัน 4 อัน เปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอกเช่นกัน เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศ เมีย 1 อัน แผ่ออกคล้ายเป็นกลีบ ยอดเกสรเพศเมียอยู่ที่ขอบด้านบนของก้านยอดเกสรเพศเมียที่แผ่ออก ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2. petaloid stamen ( เกสรเพศผู้ที่เปลี่ยนไปคล้ายกลีบ ) anther ( อับเรณู ) style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) corolla ( วงกลีบดอก ) ovary ( รังไข่ ) ovule ( ออวุล ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 3. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดอนย่า , ใบต่างดอก ( Mussaenda spp.) ดอนย่าหรือใบต่างดอกออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยในช่ออาจแน่นหรือโปร่ง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยก เป็นแฉกกลีบเลี้ยง 4-5 แฉก แฉกกลีบเลี้ยง 1 แฉกหรือทั้งหมดมักเปลี่ยนรูปไปคล้ายเป็นกลีบดอก มีสีสันสวยงาม กลีบดอก 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉกกลีบดอก 5 แฉก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก สลับกับแฉกกลีบดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 2 แฉก
  • 4. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย calyx ( วงกลีบเลี้ยง ) corolla ( วงกลีบดอก ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) calyx lobe ( แฉกกลีบเลี้ยง ) calyx tube ( หลอดกลีบเลี้ยง ) corolla lobe ( แฉกกลีบดอก ) corolla tube ( หลอดกลีบดอก ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ )
  • 5. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัก ( Calotropis gigantea (L.) Dryander ex W.T.Aiton) รักออกดอกเป็นช่อ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเล็ก แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นรูปกงล้อ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดอยู่บนหลอดกลีบดอก เชื่อมติดกันเองและเชื่อมติดกับยอดเกสรเพศเมีย แล้วเปลี่ยนรูปร่างไปเป็น ชั้นกะบังรอบ หรือชั้นมงกุฎ ล้อมรอบรังไข่ และก้านยอดเกสรเพศเมียเอาไว้ข้างใน อับเรณู 5 อัน มีเยื่อบาง ๆ คลุมปิด อยู่ แต่ละอับเรณูมี 2 ช่อง เรณูทั้งหมดในแต่ละช่องเกาะรวมกันเป็นหนึ่งกลุ่มเกิดเป็น “กลุ่มเรณู” ดังนั้นใน 1 อับเรณู จะมี 2 “ กลุ่มอับเรณู” แต่ “กลุ่มเรณู” ในอับเรณูเดียวกันจะไม่เชื่อมติดกัน การเชื่อมกันของ “กลุ่มเรณู” จะเกิดขึ้น ระหว่างช่องของอับเรณูที่อยู่ติดกัน เกิดเป็น “ชุดกลุ่มเรณู” ขึ้น เกสรเพศเมีย 1 อัน แต่ส่วนของรังไข่ และก้านยอด เกสรเพศเมียแยกจากกัน และไปเชื่อมติดกันที่ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ sepal ( กลีบเลี้ยง ) corolla ( วงกลีบดอก ) corona ( กะบังรอบ )
  • 6. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ovary ( รังไข่ ) style ( ก้านยอด เกสรเพศ เมีย ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ยอดเกสร เพศเมีย corona ( กะบังรอบ ) pollinium ( กลุ่มเรณู ) anther ( อับเรณู ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) corolla lobe ( แฉกกลีบดอก ) pollinarium ( ชุดกลุ่มเรณู )
  • 7. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย sepal ( กลีบเลี้ยง ) petal ( กลีบดอก ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) anther ( อับเรณู ) operculum ( ฝาปิดอับเรณู ) column ( เส้าเกสร ) pollinium ( กลุ่มเรณู ) กลีบเลี้ยง ovary ( รังไข่ ) ovule ( ออวุล ) petal petal หวาย ( Dendrobium sp.) หวายออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบเลี้ยงอันบนแยกเป็นอิสระ กลีบเลี้ยงคู่ข้างเชื่อมติด กันที่โคนมีลักษณะคล้ายเป็นคางยื่นออกมา กลีบดอก 3 กลีบแยกจากกัน กลีบดอกหนึ่งกลีบที่อยู่ด้านล่างมีลักษณะแตกต่างไปจากกลีบดอกอีก 2 กลีบ เรียกกลีบปาก เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันเกิดเป็นโครงสร้างที่เรียก เส้าเกสร ส่วนบนสุดเป็นอับเรณู ซึ่งมี ฝาปิดคลุมกลุ่มเรณูเอาไว้ ถัดจากอับเรณู ลงมามีลักษณะเป็นแอ่ง มีน้ำเหนียวๆ คือ ยอดเกสรเพศเมีย รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ
  • 8. gland ( ต่อม ) bract ( ใบประดับ ) bract ( ใบประดับ ) pistillate flower ( ดอกเพศเมีย ) staminate flower ( ดอกเพศผู้ ) โป๊ยเซียน ( Euphorbia milii Des Moul) โป๊ยเซียนออกดอกเป็นช่อแต่ดูคล้ายเป็นดอกเดี่ยว ช่อดอกเป็นรูปถ้วย มีใบประดับขนาดใหญ่สองใบรองรับช่อดอก มีต่อมที่มีลักษณะและสีสันคล้ายกลีบติดอยู่กับใบประดับล้อมรอบดอกย่อยในช่อ ดอกย่อยแยกเพศ และไม่มีวงกลีบ ใน 1 ช่อดอกจะพบดอกเพศเมีย 1 ดอกอยู่ตรงกลางช่อ และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศเมีย 1 อันติดอยู่บนก้าน ดอกย่อย รังไข่ลักษณะเป็น 3 พู ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน แต่ละอันมีลักษณะเป็นสองแฉก ดอกเพศผู้มีหลายดอกอยู่ล้อมรอบดอกเพศเมีย และลดรูปจนเหลือเพียงเกสรเพศผู้ 1 อันติดบนก้านดอกย่อย ที่โคน ก้านดอกย่อยมีใบประดับย่อยที่มีลักษณะเป็นแผ่นหรือเส้นบางๆ หรือมีลักษณะคล้ายเป็นริ้วหรือขน ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 9. ดอกเพศเมีย ดอกเพศผู้ pistillate flower ( ดอกเพศเมีย ) staminate flower ( ดอกเพศผู้ ) gland ( ต่อม ) ต่อม style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ ) anther ( อับเรณู ) filament ( ก้านชูอับเรณู ) bracteole ( ใบประดับย่อย ) pedicel ( ก้านดอกย่อย ) รอยต่อ pedicel ( ก้านดอกย่อย ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 10. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0 ยอดเกสรเพศเมีย ก้านยอดเกสรเพศเมีย รังไข่ perianth ( วงกลีบรวม ) tepal ( กลีบรวม ) รังไข่ ใบประดับ anther ( อับเรณู ) filament ( ก้านชูอับเรณู ) บัวจีน ( Zephyranthes sp.) บัวจีนมีใบประดับซึ่งมีลักษณะคล้ายปลอก ส่วนปลายแยกเป็นสองแฉก กลีบเป็นแบบ วงกลีบรวม มีจำนวน 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้จำนวน 6 อัน ก้านชูอับเรณูติดที่โคนวงกลีบรวม เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียลักษณะแยกเป็น 3 พู
  • 11. petal ( กลีบดอก ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) fruit ( ผล ) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตะขบ ( Muntingia calabura L.) ดอกตะขบมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก 5 กลีบแยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ไม่มีก้านยอดเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ลักษณะเป็นแฉก 5-6 แฉก