SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
เศรษฐกิจ
พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการ
ดารงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย
เดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็น
ต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.
2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนใน
กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
• เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงชีวิต ที่
  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่
  ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนใน
  วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
  ของประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแส
  โลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
• สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญ
  ผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลและ
  กลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนา
  เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 และได้จัดทาเป็นบทความเรื่อง
  "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นาความกราบบังคลทูลพระ
  กรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.
  2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณา
  โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาบทความที่ทรงแก้ไข
  แล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการ
  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
  ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การ
สหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานา
ประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบ
ยั่งยืน โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อได้มีการตั้งคาถามถึงการยก
ย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษา
และท่าทีขององค์การ
• พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญา
  เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทย ได้เข้าถึงทางสายกลาง
  ของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็น
  พื้นฐานของการดารงชีวิตซึ่งอยู่ ระหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอด
  ระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติ
  สามารถ ทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้าน
  กระแสโลกาภิวัตน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม
• หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็น
  ช่วงที่ประเทศไทย ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ ต้องการ
  รักษาความมั่นคงและเสถียรภาพ เพื่อที่จะยืนหยัดในการไม่พึ่งพาผู้อื่น
  และ พัฒนานโยบายที่สาคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ
• พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดาริว่า มันไม่ได้มีความจาเป็นที่
  เราจะกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความ
  พอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลง
  ความไม่มั่นคงของประเทศได้
• เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชม
  ชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2 อย่างคือ
• 1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค
• 2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง
• ผลที่เกิดขึ้นคือ
• เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน
• ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
• รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• การนาไปใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ถูกใช้เป็นกรอบแนวความคิดและ
  ทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ใน
  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่
  สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุข
  อย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว" ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนา
  เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการ
  เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบ
  ทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชน
  เมืองและชนบทแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญ
  ของไทย เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในส่วนที่
  3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 ความว่า: "บริหาร
  ราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง
  ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตามปรัชญา
  เศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็น
  สาคัญ"
• นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้
  กล่าวเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The
  Francophonie Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่ Burkina
  Faso ว่า ประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ "การ
  พัฒนาแบบยั่งยืน" ในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านการเกษตรกรรม
  เศรษฐกิจ และการแข่งขัน ซึ่งเป็นการสอดคล้องเป้าหมายแนวทางของ
  นานาชาติในประชาคมโลก โดยยกตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤต
  เศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปญหาสามารถ
                                                    ั
  ทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของไทยเติบโตได้ถึงร้อยละ 6.7
นอกประเทศไทย
• การประยุกต์นาหลักปรัชญาเพื่อนาพัฒนาประเทศในต่างประเทศนั้น ประเทศไทยได้เป็น
  ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยน ผ่านทางสานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ โดยมี
  หน้าที่ คอยประสานงานรับความช่วยเหลือทางวิชาการด้านต่าง ๆ จากต่างประเทศมาสู่ภาครัฐ
  แล้วถ่ายทอดต่อไปยังภาคประชาชน และยังส่งผ่านความรู้ที่มีไปยังประเทศกาลังพัฒนาอื่น ๆ
  เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศได้
  ถ่ายทอดมาไม่ต่ากว่า 5 ปี และประสานกับสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน
  โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง
  ต่างชาติก็สนใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เพราะพิสูจน์แล้วว่าเป็นสิ่งทีดีและมีประโยชน์ ซึ่งแต่ละ
                                                                   ่
  ประเทศมีความต้องการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับวิถีชีวิต
  สภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละประเทศ โดยได้ให้ผู้แทนจากประเทศเหล่านี้ได้มาดูงานในหลาย
  ระดับ ทั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายนโยบาย จนถึงระดับปลัดกระทรวง และรัฐมนตรี
  ประจากระทรวงต่าง ๆนอกจากนั้นอดิเทพ ภาณุพงศ์ เอกอัครราชทูตไทยประจากรุงเวียนนา
  ประเทศออสเตรีย ได้กล่าวว่า ต่างชาติสนใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง[13] เนื่องจากมาจาก
  พระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยราษฎรของพระองค์ และทราบสาเหตุ
  ที่รัฐบาลไทยนามาเป็นนโยบาย ส่วนประเทศที่พัฒนาแล้วก็ต้องการศึกษาเพื่อนาไปช่วยเหลือ
  ประเทศอื่น
และรัฐมนตรีประจากระทรวงต่าง ๆนอกจากนั้นอดิเทพ ภาณุพงศ์
เอกอัครราชทูตไทยประจากรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ได้กล่าวว่า
ต่างชาติสนใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง[13] เนื่องจากมาจากพระราชดาริใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยราษฎรของพระองค์ และทราบ
สาเหตุที่รัฐบาลไทยนามาเป็นนโยบาย ส่วนประเทศที่พัฒนาแล้วก็ต้องการ
ศึกษาเพื่อนาไปช่วยเหลือประเทศอื่น
       ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวถึงผลสาเร็จอย่างหนึ่งของเศรษฐกิจ
พอเพียงโดยองค์การสหประชาชาติ คือ "สหประชาชาติเห็นด้วยกับ
พระมหากษัตริย์ในเรื่องนี้ [เศรษฐกิจพอเพียง] โดยเริ่มใช้มาตรวัดคุณภาพ
ชีวิตในการวัดความเจริญของแต่ละประเทศ แทนอัตราผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ ซึ่งกล่าวถึงแต่ความเจริญทางเศรษฐกิจเท่านัน     ้

More Related Content

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
banlangkhao
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
Ultraman Sure
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Wongduean Phumnoi
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
Ultraman Sure
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Chanon Mala
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
patcharapornfilmmii
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
freelance
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
นายจักราวุธ คำทวี
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ  คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
แผนพัฒนาฯ 11 จักราวุธ คำทวี ๑๓ มิ.ย.๕๗
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 2. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการ ดารงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็น ต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของ ประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนใน กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
  • 3. • เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงชีวิต ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนใน วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ของประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแส โลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
  • 4. • สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญ ผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลและ กลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 และได้จัดทาเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นาความกราบบังคลทูลพระ กรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาบทความที่ทรงแก้ไข แล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
  • 5. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การ สหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานา ประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบ ยั่งยืน โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อได้มีการตั้งคาถามถึงการยก ย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษา และท่าทีขององค์การ
  • 6. • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทย ได้เข้าถึงทางสายกลาง ของชีวิตและเพื่อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็น พื้นฐานของการดารงชีวิตซึ่งอยู่ ระหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอด ระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติ สามารถ ทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้าน กระแสโลกาภิวัตน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม • หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็น ช่วงที่ประเทศไทย ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ ต้องการ รักษาความมั่นคงและเสถียรภาพ เพื่อที่จะยืนหยัดในการไม่พึ่งพาผู้อื่น และ พัฒนานโยบายที่สาคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดาริว่า มันไม่ได้มีความจาเป็นที่ เราจะกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความ พอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลง ความไม่มั่นคงของประเทศได้
  • 7. • เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชม ชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2 อย่างคือ • 1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค • 2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง • ผลที่เกิดขึ้นคือ • เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน • ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม • รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก
  • 9. • การนาไปใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ถูกใช้เป็นกรอบแนวความคิดและ ทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่ สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุข อย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว" ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบ ทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชน เมืองและชนบทแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญ ของไทย เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 ความว่า: "บริหาร ราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็น สาคัญ"
  • 10. • นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้ กล่าวเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The Francophonie Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่ Burkina Faso ว่า ประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ "การ พัฒนาแบบยั่งยืน" ในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านการเกษตรกรรม เศรษฐกิจ และการแข่งขัน ซึ่งเป็นการสอดคล้องเป้าหมายแนวทางของ นานาชาติในประชาคมโลก โดยยกตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤต เศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปญหาสามารถ ั ทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของไทยเติบโตได้ถึงร้อยละ 6.7
  • 11. นอกประเทศไทย • การประยุกต์นาหลักปรัชญาเพื่อนาพัฒนาประเทศในต่างประเทศนั้น ประเทศไทยได้เป็น ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยน ผ่านทางสานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ โดยมี หน้าที่ คอยประสานงานรับความช่วยเหลือทางวิชาการด้านต่าง ๆ จากต่างประเทศมาสู่ภาครัฐ แล้วถ่ายทอดต่อไปยังภาคประชาชน และยังส่งผ่านความรู้ที่มีไปยังประเทศกาลังพัฒนาอื่น ๆ เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศได้ ถ่ายทอดมาไม่ต่ากว่า 5 ปี และประสานกับสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง ต่างชาติก็สนใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เพราะพิสูจน์แล้วว่าเป็นสิ่งทีดีและมีประโยชน์ ซึ่งแต่ละ ่ ประเทศมีความต้องการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับวิถีชีวิต สภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละประเทศ โดยได้ให้ผู้แทนจากประเทศเหล่านี้ได้มาดูงานในหลาย ระดับ ทั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายนโยบาย จนถึงระดับปลัดกระทรวง และรัฐมนตรี ประจากระทรวงต่าง ๆนอกจากนั้นอดิเทพ ภาณุพงศ์ เอกอัครราชทูตไทยประจากรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ได้กล่าวว่า ต่างชาติสนใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง[13] เนื่องจากมาจาก พระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยราษฎรของพระองค์ และทราบสาเหตุ ที่รัฐบาลไทยนามาเป็นนโยบาย ส่วนประเทศที่พัฒนาแล้วก็ต้องการศึกษาเพื่อนาไปช่วยเหลือ ประเทศอื่น
  • 12. และรัฐมนตรีประจากระทรวงต่าง ๆนอกจากนั้นอดิเทพ ภาณุพงศ์ เอกอัครราชทูตไทยประจากรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ได้กล่าวว่า ต่างชาติสนใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง[13] เนื่องจากมาจากพระราชดาริใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยราษฎรของพระองค์ และทราบ สาเหตุที่รัฐบาลไทยนามาเป็นนโยบาย ส่วนประเทศที่พัฒนาแล้วก็ต้องการ ศึกษาเพื่อนาไปช่วยเหลือประเทศอื่น ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวถึงผลสาเร็จอย่างหนึ่งของเศรษฐกิจ พอเพียงโดยองค์การสหประชาชาติ คือ "สหประชาชาติเห็นด้วยกับ พระมหากษัตริย์ในเรื่องนี้ [เศรษฐกิจพอเพียง] โดยเริ่มใช้มาตรวัดคุณภาพ ชีวิตในการวัดความเจริญของแต่ละประเทศ แทนอัตราผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ ซึ่งกล่าวถึงแต่ความเจริญทางเศรษฐกิจเท่านัน ้