SlideShare a Scribd company logo
สื่อ IT
เรื่อง ระบบฟิ วดัล
จัดทำโดย
นำงสำว ชนำภำ อุบลแสน เลขที่ 35
นำงสำว รวิศรำ จันทรำพูน เลขที่ 44
ชั้นมัธยมศึกษำที่ 5.4
เสนอ
คุณครู เตือนใจ ไชยศิลป์
สื่อกำรเรียนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชำประวัติศำสตร์ ส3212
โรงเรียนสำมัคคีวิทยำคม จังหวัดเชียงรำย
ภำคเรียนที่1 ปี กำรศึกษำ 2560
ระบบฟิ วดัล(Feudalism)
ระบบฟิวดัล ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 ยุโรปได้เกิดระบบฟิวดัล (Feudalism)
หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ซึ่งเป็นระบบที่ครอบคลุมทังทางด้านการเมื่องการปกครอง
สังคม และ เศรษฐกิจของยุโรปยุคกลางในเวลาต่อมา คาว่าFeudalism มาจากคาว่า
ฟีฟ (Fief) หมายถึง ที่ดินที่เป็นพันธสัญญาระหว่างเจ้านายที่เป็นเจ้าของที่ดิน ซึ่ง
เจ้าของที่ดินจะเป็นพวกขุนนาง เรียกว่า ลอร์ด(Lord) กับผู้ใช้ประโยชน์ในที่ดิน คือ ข้า
หรือเรียกว่า วัสซัล(Vassal)ความสัมพันธ์ในระบบฟิวดัลคือความสัมพันธ์ระหว่างผู้
อุปถัมภ์กับผู้ได้รับการอุปถัมภ์
กำรเกิดระบบฟิ วดัล
ระบบฟิวดัลมีพัฒนาการมาตั้งแต่จักรวรรดิโรมันเสื่อมอานาจ และปรากฏชัดเจนใน
ปลายสมัยราชวงศ์คาโรแลงเจียน (Carolingian) ของพวกแฟรงค์ เมื่อกษัตริย์เสื่อม
อานาจลงได้เกิดการแย่งชิงอานาจระหว่างกลุ่มผู้ปกครอง ทาให้พวกเยอรมันเผ่าอื่นรุกราน
ส่งผลให้ประชาชนขาดความมั่นคงและหันไปพึ่งขุนนางที่ปกครองท้องถิ่นของตนซึ่งมี
อานาจสิทธิ์ขาดในการจัดตั้งกองทัพและออกกฎหมายของตนเอง ต่อมาจักรพรรดิชาร์
ลมาญ (Charlemagne ค.ศ. 768-814) แห่งราชวงศ์คาโรแลงเจียนสิ้นพระชนม์
อาณาจักรของพวกแฟรงค์ถูกแบ่งแยกเป็น 3 ส่วนและมีการแย่งชิงอานาจกันระหว่าง
ผู้ปกครองทั้งสาม ซึ่งต้องอาศัยความช่วยเหลือจากขุนนางที่มีอานาจปกครองเขตต่างๆ
ส่วนราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละเขตก็ต้องพึ่งพาขุนนางของตนด้วย ทาให้ขุนนางแต่ละเขต
ปกครองมีอานาจมาก ส่วนกษัตริย์หรือประมุขของดินแดนต่างๆ ไม่มีอานาจที่แท้จริง
ควำมสัมพันธ์ภำยใต้ระบบฟิ วดัล
เป็นระบบอุปถัมภ์ มีที่ดิน (fief) เป็นสิ่งกาหนดฐานะและความสัมพันธ์ของคนในสังคม โดยเป็น
การตกลงร่วมกันระหว่างลอร์ด (lord) หรือ “เจ้า” หรือผู้ให้ถือครองที่ดินกับ “ข้า” หรือ วาสซาล
(vassal) หรือผู้ถือครองที่ดินว่า แต่ละฝ่ายมีพันธะหน้าที่ต่อกัน โดยเจ้าจะให้กรรมสิทธิ์ในที่ดินแก่ข้า
เพื่อทาประโยชน์ในที่ดินนั้น รวมทั้งให้ความคุ้มครองดูแลเมื่อเกิดภัยสงคราม ส่วนข้าต้องสาบานว่าจะ
จงรักภักดีต่อเจ้า รวมทั้งส่งเงินและกองทัพไปร่วมรบในสงครามด้วย ในทางปฏิบัติ กษัตริย์มีสถานะ
เป็น “เจ้า” ของขุนนางทั้งหลาย เนื่องจากในสมัยกลางถือว่าที่ดินทั้งหมดเป็นของกษัตริย์ ดังนั้นขุนนางที่
ครอบครองดินแดนต่างๆ ในเขตของตน จึงเป็น “ข้า” ของกษัตริย์ และนาที่ดินทั้งหมดไปแบ่ง
ให้แก่ “ข้า” ของตน คือ ขุนนางลาดับรองๆ ลงไปอีกทอดหนึ่ง ขุนนางแต่ละคนซึ่งรับที่ดินไปจะเป็น
เจ้าของหน่วยปกครองหรือแมเนอร์ (manor) ของตน และมีฐานะเป็น “เจ้า” ของราษฎรที่เข้าอาศัยอยู่
ในเขตปกครองของตน อนึ่ง พระซึ่งดูแลวัดในเขตปกครองต่างๆ ก็มีสถานะเป็น “ข้า” ของขุนนางด้วย
เพราะวัดก็รับที่ดินจากขุนนาง ในสังคมระบบฟิวดัลยังมีทาสติดที่ดิน (serf) ซึ่งต้องทางานในที่ดินของ
เจ้า และไม่สามารถเดินทางออกนอกเขตปกครองโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้ยังมีพวกเสรีชนซึ่งเช่า
ที่ดินจากเจ้าของแมเนอร์และสามารถเดินทางออกนอกเขตแมเนอร์ได้โดยอิสระ
ควำมสัมพันธ์ภำยใต้ระบบฟิ วดัล
สภำพสังคมในสมัยฟิ วดัล
ระบบสังคมในสมัยฟิวดัลซึ่งรวมถึงระบบสังคม เศรษฐกิจ และการปกครอง เรียกว่า
ระบบแมเนอร์ (Manorialism) มีศูนย์กลางอยู่ที่แมเนอร์ของขุนนางแต่ละคน แม
เนอร์แต่ละแห่งมีลักษณธคล้ายคลึงกันกล่าวคือ มีคฤหาสน์หรือปราสาทของขุนนางเป็น
ศูนย์กลาง มีป้อมและกาแพงล้อมรอบ ภายนอกคฤหาสน์รายล้อมด้วยหมู่บ้านขนาดเล็ก
ของชาวนาที่เป็นข้าของขุนนาง รวมทั้งโบสถ์และพื้นที่เพาะปลูก แต่ละแมเนอร์เป็นหน่วย
เศรษฐกิจที่พึ่งพาตนเอง ไม่จาเป็นต้องอาศัยการผลิตจากภายนอก เว้นแต่สินค้าจาเป็น
เช่น เกลือ เหล็ก และน้ามันดิบ ในระบบแมเนอร์ พวกข้าจะแบ่งผลผลิตของตนให้แก่เจ้า
รวมทั้งการอุทิศแรงงานทาการเพาะปลูกในที่ดินของเจ้า ผู้ที่อาศัยอยู่ในแมเนอร์จะได้รับ
ความคุ้มครองจากขุนนางเมื่อถูกศัตรูรุกราน เช่น สามารถหลบหนีเข้าไปอยู่ในเขตกาแพง
ของคฤหาสน์หรือปราสาทได้
อนึ่ง สังคมแบบฟิวดัลยังยึดถือจรรยาของอัศวินหรือวีรคติ (Chivalry) โดยฝึกหัด
เด็กชายให้เเป็นอัศวินที่กล้าหาญ มีคุณธรรมและเป็นสุภาพบุรุษ ซึ่งเป็นแบบฉบับที่
สุภาพบุรุษตะวันตกยึดถือต่อมา
กำรล่มสลำยของระบบฟิ วดัล
การที่ระบบฟิวดัลล่มสลายนั้นเป็นผลจากการขยายตัวทางการค้าและอุตสาหกรรม ในยุโรป
โดยเฉพาะในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทาให้เกิดชุมชนพาณิชย์อุตสาหกรรมขึ้น ส่งผลให้ชาวชนบท
ละทิ้งที่นาเข้ามาประกอบอาชีพค้าขาย หรือ ประกอบการผลิตสินค้าในเขตเมืองทาให้สังคมมีการขยายตัว
เกิดเป็นสังคมเมืองขึ้นมาใหม่ ซึงผู้คนที่มาอยู่ในเมืองไม่ได้อยู่ในระบบฟิวดัล แต่เป็นกลุ่มคนที่ประกอบ
อาชีพทางการค้าและอุตสาหกรรม และเมื่อมีประชาชนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ชุมชนเมืองขยายตัวเพิ่ม
มากขึ้น มีเมืองใหม่ๆ เกิดขึ้นทั่วทั้งยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 หัวเมืองในอิตาลี เช่นเมืองเวนิส เมือง
เจนัว เนเธอร์แลนเป็นเมืองสาคัญทางด้านการค้าและอุตสาหกรรม การค้าทางทะเลมีความสาคัญเพิ่มมาก
ขึ้นโดยเฉพาะในเขตทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมืองที่เกิดขึ้นใหม่นี้มีการจัดการปกครองแบบ
เทศาภิบาล มีการเก็บภาษีท้องถิ่นเพื่อที่จะพัฒนาเมือง และมีระบบสร้างความปลอดภัย พวกพ่อค้าและ
พวกช่างมีความมั่งคั่งขึ้น ชนชั้นกลางเหล่านี้เมื่อมีอานาจมากขึ้นจึงได้หันไปสนับสนุนกษัตริย์์เพื่อให้
คุ้มครองกิจการและผลประโยชน์ของตน การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมและระบอบ
การเมืองการปกครอง เพราะทาให้ระบอบการปกครองแบบฟิวดัลเริ่มเสื่อมอานาจลง
ขุนนางที่เคยเป็นใหญ่และมีอานาจอิสระในการปกครองตามระบบแมเนอร์ต้องล่มสลาย ซึ่งส่วนหนึ่งเป็น
ผลมาจากขุนนางต้องออกไปทาสงครามและเสียชีวิตจานวนมาก ทาให้พวกชนชั้นกลาง
(Bourgeoie) ขึ้นมามีอานาจแทนขุนนาง สังคมได้เปลี่ยนค่านิยมจากเรื่องชาติกาเนิดตามชนชั้นมา
เป็น ฐานะทางเศรษฐกิจของบุคคล พวกขุนนางต้องขายที่ดินใด้ชนชั้นกลาง ทาให้เกิดการพัฒนาที่ดินให้
เป็นเกษตรกรรมเพื่อการค้า โดยเจ้าของที่ดินยกเลิกวิธีการดั้งเดิม มาให้ชาวนาเช่าที่ดินและจ่ายเงินให้กับ
เจ้าของแทน ทาให้พันธะตามระบอบฟิวดัลสิ้นสุดลง ระบอบกษัตริย์สามารถดึงอานาจกลับคืนมาได้ และ
สถาปนาอานาจการปกครองสูงสุดตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้อีกครั้งหนึ่ง ทาให้การปกครอง
ระบบฟิวดัลเสื่อมอานาจและล่มสลายลงในคริสต์ศตวรรษที่ 16
ระบบฟิ วดัลก่อให้เกิดผลกระทบที่สำคัญต่อพัฒนำกำรของ
ยุโรป ทั้งด้ำนกำรเมืองและสังคม
พัฒนาการทางการเมือง ระบบฟิวดัลส่งเสริมพัฒนาการทางการเมืองของยุโรปเพราะมีบทบาท
สาคัญในการวางรากฐานการปกครองท้องถิ่นของดินแดนต่างๆ ในยุโรป การส่งเสริมให้ท้องถิ่นปกครอง
ตนเอง ทาให้ท้องถิ่นเข้มแข็งและมีจิตสานึกร่วมกัน ซึ่งเป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนารัฐชาติและ
อุดมการณ์เสรีนิยมพัฒนาการทางสังคม สังคมยุโรปในระบบฟิวดัลมีประชากร 2 กลุ่มใหญ่ คือผู้ปกครอง
หรือเจ้า และกลุ่มผู้อยู่ใต้ปกครองหรือข้า เมื่อเศรษฐกิจขยายตัวในช่วงปลายสมัยฟิวดัล ได้เกิดกลุ่มพ่อค้า
และสมาคมช่างฝีมือหรือสมาคมอาชีพ (Guild)ซึ่งเป็นชนชั้นกลางที่มีบทบาทสาคัญในการผลิตสินค้า
อุตสาหกรรมและการขยายการค้า กลุ่มชนชั้นกลางเหล่านี้มีฐานะดี และมีบทบาทสาคัญทางการเมืองและ
เศรษฐกิจของยุโรปในเวลาต่อมา
- ผู้เรียบเรียง กุลลดา เกษบุญชู มี้ด : วิวัฒนำกำรรัฐ อังกฤษ-ฝรั่งเศส
- อ้างอิง http://worldrecordhistory.blogspot.com
- อ้างอิง http://hhistoryoftheworldd.blogspot.com

More Related Content

What's hot

ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
enksodsoon
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
Visanu Khumoun
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
พัน พัน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 

What's hot (20)

ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 

ระบบฟิวดัล

  • 1. สื่อ IT เรื่อง ระบบฟิ วดัล จัดทำโดย นำงสำว ชนำภำ อุบลแสน เลขที่ 35 นำงสำว รวิศรำ จันทรำพูน เลขที่ 44 ชั้นมัธยมศึกษำที่ 5.4 เสนอ คุณครู เตือนใจ ไชยศิลป์ สื่อกำรเรียนนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชำประวัติศำสตร์ ส3212 โรงเรียนสำมัคคีวิทยำคม จังหวัดเชียงรำย ภำคเรียนที่1 ปี กำรศึกษำ 2560
  • 2. ระบบฟิ วดัล(Feudalism) ระบบฟิวดัล ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 ยุโรปได้เกิดระบบฟิวดัล (Feudalism) หรือระบบศักดินาสวามิภักดิ์ซึ่งเป็นระบบที่ครอบคลุมทังทางด้านการเมื่องการปกครอง สังคม และ เศรษฐกิจของยุโรปยุคกลางในเวลาต่อมา คาว่าFeudalism มาจากคาว่า ฟีฟ (Fief) หมายถึง ที่ดินที่เป็นพันธสัญญาระหว่างเจ้านายที่เป็นเจ้าของที่ดิน ซึ่ง เจ้าของที่ดินจะเป็นพวกขุนนาง เรียกว่า ลอร์ด(Lord) กับผู้ใช้ประโยชน์ในที่ดิน คือ ข้า หรือเรียกว่า วัสซัล(Vassal)ความสัมพันธ์ในระบบฟิวดัลคือความสัมพันธ์ระหว่างผู้ อุปถัมภ์กับผู้ได้รับการอุปถัมภ์
  • 3. กำรเกิดระบบฟิ วดัล ระบบฟิวดัลมีพัฒนาการมาตั้งแต่จักรวรรดิโรมันเสื่อมอานาจ และปรากฏชัดเจนใน ปลายสมัยราชวงศ์คาโรแลงเจียน (Carolingian) ของพวกแฟรงค์ เมื่อกษัตริย์เสื่อม อานาจลงได้เกิดการแย่งชิงอานาจระหว่างกลุ่มผู้ปกครอง ทาให้พวกเยอรมันเผ่าอื่นรุกราน ส่งผลให้ประชาชนขาดความมั่นคงและหันไปพึ่งขุนนางที่ปกครองท้องถิ่นของตนซึ่งมี อานาจสิทธิ์ขาดในการจัดตั้งกองทัพและออกกฎหมายของตนเอง ต่อมาจักรพรรดิชาร์ ลมาญ (Charlemagne ค.ศ. 768-814) แห่งราชวงศ์คาโรแลงเจียนสิ้นพระชนม์ อาณาจักรของพวกแฟรงค์ถูกแบ่งแยกเป็น 3 ส่วนและมีการแย่งชิงอานาจกันระหว่าง ผู้ปกครองทั้งสาม ซึ่งต้องอาศัยความช่วยเหลือจากขุนนางที่มีอานาจปกครองเขตต่างๆ ส่วนราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละเขตก็ต้องพึ่งพาขุนนางของตนด้วย ทาให้ขุนนางแต่ละเขต ปกครองมีอานาจมาก ส่วนกษัตริย์หรือประมุขของดินแดนต่างๆ ไม่มีอานาจที่แท้จริง
  • 4. ควำมสัมพันธ์ภำยใต้ระบบฟิ วดัล เป็นระบบอุปถัมภ์ มีที่ดิน (fief) เป็นสิ่งกาหนดฐานะและความสัมพันธ์ของคนในสังคม โดยเป็น การตกลงร่วมกันระหว่างลอร์ด (lord) หรือ “เจ้า” หรือผู้ให้ถือครองที่ดินกับ “ข้า” หรือ วาสซาล (vassal) หรือผู้ถือครองที่ดินว่า แต่ละฝ่ายมีพันธะหน้าที่ต่อกัน โดยเจ้าจะให้กรรมสิทธิ์ในที่ดินแก่ข้า เพื่อทาประโยชน์ในที่ดินนั้น รวมทั้งให้ความคุ้มครองดูแลเมื่อเกิดภัยสงคราม ส่วนข้าต้องสาบานว่าจะ จงรักภักดีต่อเจ้า รวมทั้งส่งเงินและกองทัพไปร่วมรบในสงครามด้วย ในทางปฏิบัติ กษัตริย์มีสถานะ เป็น “เจ้า” ของขุนนางทั้งหลาย เนื่องจากในสมัยกลางถือว่าที่ดินทั้งหมดเป็นของกษัตริย์ ดังนั้นขุนนางที่ ครอบครองดินแดนต่างๆ ในเขตของตน จึงเป็น “ข้า” ของกษัตริย์ และนาที่ดินทั้งหมดไปแบ่ง ให้แก่ “ข้า” ของตน คือ ขุนนางลาดับรองๆ ลงไปอีกทอดหนึ่ง ขุนนางแต่ละคนซึ่งรับที่ดินไปจะเป็น เจ้าของหน่วยปกครองหรือแมเนอร์ (manor) ของตน และมีฐานะเป็น “เจ้า” ของราษฎรที่เข้าอาศัยอยู่ ในเขตปกครองของตน อนึ่ง พระซึ่งดูแลวัดในเขตปกครองต่างๆ ก็มีสถานะเป็น “ข้า” ของขุนนางด้วย เพราะวัดก็รับที่ดินจากขุนนาง ในสังคมระบบฟิวดัลยังมีทาสติดที่ดิน (serf) ซึ่งต้องทางานในที่ดินของ เจ้า และไม่สามารถเดินทางออกนอกเขตปกครองโดยไม่ได้รับอนุญาต นอกจากนี้ยังมีพวกเสรีชนซึ่งเช่า ที่ดินจากเจ้าของแมเนอร์และสามารถเดินทางออกนอกเขตแมเนอร์ได้โดยอิสระ
  • 6. สภำพสังคมในสมัยฟิ วดัล ระบบสังคมในสมัยฟิวดัลซึ่งรวมถึงระบบสังคม เศรษฐกิจ และการปกครอง เรียกว่า ระบบแมเนอร์ (Manorialism) มีศูนย์กลางอยู่ที่แมเนอร์ของขุนนางแต่ละคน แม เนอร์แต่ละแห่งมีลักษณธคล้ายคลึงกันกล่าวคือ มีคฤหาสน์หรือปราสาทของขุนนางเป็น ศูนย์กลาง มีป้อมและกาแพงล้อมรอบ ภายนอกคฤหาสน์รายล้อมด้วยหมู่บ้านขนาดเล็ก ของชาวนาที่เป็นข้าของขุนนาง รวมทั้งโบสถ์และพื้นที่เพาะปลูก แต่ละแมเนอร์เป็นหน่วย เศรษฐกิจที่พึ่งพาตนเอง ไม่จาเป็นต้องอาศัยการผลิตจากภายนอก เว้นแต่สินค้าจาเป็น เช่น เกลือ เหล็ก และน้ามันดิบ ในระบบแมเนอร์ พวกข้าจะแบ่งผลผลิตของตนให้แก่เจ้า รวมทั้งการอุทิศแรงงานทาการเพาะปลูกในที่ดินของเจ้า ผู้ที่อาศัยอยู่ในแมเนอร์จะได้รับ ความคุ้มครองจากขุนนางเมื่อถูกศัตรูรุกราน เช่น สามารถหลบหนีเข้าไปอยู่ในเขตกาแพง ของคฤหาสน์หรือปราสาทได้ อนึ่ง สังคมแบบฟิวดัลยังยึดถือจรรยาของอัศวินหรือวีรคติ (Chivalry) โดยฝึกหัด เด็กชายให้เเป็นอัศวินที่กล้าหาญ มีคุณธรรมและเป็นสุภาพบุรุษ ซึ่งเป็นแบบฉบับที่ สุภาพบุรุษตะวันตกยึดถือต่อมา
  • 7. กำรล่มสลำยของระบบฟิ วดัล การที่ระบบฟิวดัลล่มสลายนั้นเป็นผลจากการขยายตัวทางการค้าและอุตสาหกรรม ในยุโรป โดยเฉพาะในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทาให้เกิดชุมชนพาณิชย์อุตสาหกรรมขึ้น ส่งผลให้ชาวชนบท ละทิ้งที่นาเข้ามาประกอบอาชีพค้าขาย หรือ ประกอบการผลิตสินค้าในเขตเมืองทาให้สังคมมีการขยายตัว เกิดเป็นสังคมเมืองขึ้นมาใหม่ ซึงผู้คนที่มาอยู่ในเมืองไม่ได้อยู่ในระบบฟิวดัล แต่เป็นกลุ่มคนที่ประกอบ อาชีพทางการค้าและอุตสาหกรรม และเมื่อมีประชาชนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ชุมชนเมืองขยายตัวเพิ่ม มากขึ้น มีเมืองใหม่ๆ เกิดขึ้นทั่วทั้งยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 หัวเมืองในอิตาลี เช่นเมืองเวนิส เมือง เจนัว เนเธอร์แลนเป็นเมืองสาคัญทางด้านการค้าและอุตสาหกรรม การค้าทางทะเลมีความสาคัญเพิ่มมาก ขึ้นโดยเฉพาะในเขตทะเลเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เมืองที่เกิดขึ้นใหม่นี้มีการจัดการปกครองแบบ เทศาภิบาล มีการเก็บภาษีท้องถิ่นเพื่อที่จะพัฒนาเมือง และมีระบบสร้างความปลอดภัย พวกพ่อค้าและ พวกช่างมีความมั่งคั่งขึ้น ชนชั้นกลางเหล่านี้เมื่อมีอานาจมากขึ้นจึงได้หันไปสนับสนุนกษัตริย์์เพื่อให้ คุ้มครองกิจการและผลประโยชน์ของตน การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมและระบอบ การเมืองการปกครอง เพราะทาให้ระบอบการปกครองแบบฟิวดัลเริ่มเสื่อมอานาจลง
  • 8. ขุนนางที่เคยเป็นใหญ่และมีอานาจอิสระในการปกครองตามระบบแมเนอร์ต้องล่มสลาย ซึ่งส่วนหนึ่งเป็น ผลมาจากขุนนางต้องออกไปทาสงครามและเสียชีวิตจานวนมาก ทาให้พวกชนชั้นกลาง (Bourgeoie) ขึ้นมามีอานาจแทนขุนนาง สังคมได้เปลี่ยนค่านิยมจากเรื่องชาติกาเนิดตามชนชั้นมา เป็น ฐานะทางเศรษฐกิจของบุคคล พวกขุนนางต้องขายที่ดินใด้ชนชั้นกลาง ทาให้เกิดการพัฒนาที่ดินให้ เป็นเกษตรกรรมเพื่อการค้า โดยเจ้าของที่ดินยกเลิกวิธีการดั้งเดิม มาให้ชาวนาเช่าที่ดินและจ่ายเงินให้กับ เจ้าของแทน ทาให้พันธะตามระบอบฟิวดัลสิ้นสุดลง ระบอบกษัตริย์สามารถดึงอานาจกลับคืนมาได้ และ สถาปนาอานาจการปกครองสูงสุดตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้อีกครั้งหนึ่ง ทาให้การปกครอง ระบบฟิวดัลเสื่อมอานาจและล่มสลายลงในคริสต์ศตวรรษที่ 16
  • 9. ระบบฟิ วดัลก่อให้เกิดผลกระทบที่สำคัญต่อพัฒนำกำรของ ยุโรป ทั้งด้ำนกำรเมืองและสังคม พัฒนาการทางการเมือง ระบบฟิวดัลส่งเสริมพัฒนาการทางการเมืองของยุโรปเพราะมีบทบาท สาคัญในการวางรากฐานการปกครองท้องถิ่นของดินแดนต่างๆ ในยุโรป การส่งเสริมให้ท้องถิ่นปกครอง ตนเอง ทาให้ท้องถิ่นเข้มแข็งและมีจิตสานึกร่วมกัน ซึ่งเป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนารัฐชาติและ อุดมการณ์เสรีนิยมพัฒนาการทางสังคม สังคมยุโรปในระบบฟิวดัลมีประชากร 2 กลุ่มใหญ่ คือผู้ปกครอง หรือเจ้า และกลุ่มผู้อยู่ใต้ปกครองหรือข้า เมื่อเศรษฐกิจขยายตัวในช่วงปลายสมัยฟิวดัล ได้เกิดกลุ่มพ่อค้า และสมาคมช่างฝีมือหรือสมาคมอาชีพ (Guild)ซึ่งเป็นชนชั้นกลางที่มีบทบาทสาคัญในการผลิตสินค้า อุตสาหกรรมและการขยายการค้า กลุ่มชนชั้นกลางเหล่านี้มีฐานะดี และมีบทบาทสาคัญทางการเมืองและ เศรษฐกิจของยุโรปในเวลาต่อมา
  • 10. - ผู้เรียบเรียง กุลลดา เกษบุญชู มี้ด : วิวัฒนำกำรรัฐ อังกฤษ-ฝรั่งเศส - อ้างอิง http://worldrecordhistory.blogspot.com - อ้างอิง http://hhistoryoftheworldd.blogspot.com