SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
พอประมาณ
มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน
ความรู้
คุณธรรม
เรื่องที่ 2
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับสังคมทุนนิยม
การมีเหตุผล
ระบบทุนนิยมเน้นการทากาไรสูงสุด
เป็นเป้าหมายสาคัญ การคิดด้านเดียวโดยไม่
คานึงถึงส่วนประกอบของสังคมในส่วนอื่นๆ
ทาให้คนที่อยู่ภายในสังคมถูกหล่อหลอมจน
กลายเป็นคนที่เห็นแก่ตัว เมื่อคนในสังคม
พัฒนาเป็นตัวใครตัวมัน ก็จะส่งผลทาให้เกิด
ปัญหาในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้าน
เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ทาให้
ต้องใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อรักษาวิถีชีวิต ประเพณี
ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ยังคงอยู่
ความพอประมาณ
หนึ่งสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นส่วน
ใหญ่ในสังคมทุนนิยม เป็นเพราะการไม่
ประเมินสถานภาพตัวเอง ไม่รู้จักฐานะตัวเองที่
แท้จริง เช่น ปัญหาการซื้อขายยาเสพติดที่เกิด
จากความอยากรวย ความอยากได้อยากมีมาก
เกินไปจนต้องตัดไม้ทาลายป่าเพื่อสร้างรีสอร์ท
การคอรัปชั่นในหน่วยงานรัฐบาลที่เกิดจาก
ความโลภ การเดินทางเข้าเมืองหลวงเพื่อหา
เงินโดยไม่คานึงถึงศักยภาพ ความถนัดและ
ความเหมาะสม ทาให้ต้องใช้เงินแบบชักหน้า
ไมถึงหลัง เป็นนี้บัตรเครดิต ปัญหาเหล่านี้จะ
หมดไปหากทุกคนรู้จักประเมินตนเอง ทาแค่
เท่าที่ตัวเองไหว อยากได้ในสิ่งที่สามารถสร้าง
ได้อย่างสุจริต อยากมีแต่ต้องไม่ละเมิด
ผลประโยชน์ในทรัพยากรทางธรรมชาติจนเกิน
ความพอประมาณ
การมีภูมิคุ้มกัน
ปัญหาทั้งหมดที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่
ละเอียดอ่อน ยากต่อการแก้เพราะเป็นค่านิยม
วิถีชีวิตไม่ใช่กฎหมาย ทาให้ต้องมีการวางแผน
และใช้ความรู้อย่างถูกวิธีในการจัดการ เช่น
การแก้ปัญหาการคอรัปชั่น ต้องมีแผนและ
ลาดับการอบรมอย่างชัดเจนเพื่อสร้าง ปลูกฝัง
จิตสานึกถึงความสุขและความทุกข์ยากของคน
ในประเทศชาติ การหาความรู้ หาแหล่วง
พลังงานทางเลือกธรรมชาติที่บริสุทธิ์ พร้อม
รณรงค์การใช้เท่าที่จาเป็น การช่วยกันส่งเสริม
วิถีชีวิตของชุมชน
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
การแก้ปัญหาในสังคม ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องอย่าง
แท้จริง เช่น การแก้ปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น ต้องมีความรู้ด้าน
พฤติกรรม ความต้องการพื้นฐานที่แท้จริงว่าพวกเขาต้องการอะไร การ
แก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจของเกษตรกรไทย ต้องรู้จักวิถีชีวิต แนวความคิด
และทางเลือกในการทาอาชีพที่ชัดเจนของเกษตรกร รู้ถึงปัญหาและเหตุผลที่
แท้จริงที่ทาให้เกิดการกูยืม การแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ต้องรู้ให้เท่าทันถึง
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากใช้ทรัพยากรในแต่ละประเภท นอกจากนั้นยังต้อง
รู้จักแสวงหาและวิเคราะห์ถึงแหล่งทรัพยากรทางเลือกใหม่
คุณธรรม
จุดเริ่มต้นที่แท้จริงของปัญหาในสังคมทุนนิยมคือ ความเห็นแก่ตัว
หากเรามีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ คิดถึงใจเขาใจเรา ปัญหาหลายอย่างก็จะ
คลี่คลายลง เช่น หากข้าราชการคานึงถึงจิตใจของประชาชนทั้งประเทศก็จะ
ไม่เกิดการคอร์รัปชั่น หากผู้ที่ขายและผลิตยาเสพติดคานึงถึงผลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นหลังจากลูกค้าของเขาเสพยาเข้าไปแล้วก็จะทาให้ปัญหายาเสพติด
ลดหมดไป หากนายทุนที่ต้องการสร้างรีสอร์ท หรือสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่
คานึงถึงทรัพยากรที่ลูกหลานจะต้องใช้ในอนาคต ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมก็
จะไม่เกิดขึ้น
เรื่องที่ 3
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับเศรษฐกิจ
การมีเหตุผล
เกี่ยวข้องกับในส่วนของการทาบัญชี
ครัวเรือนเพื่อช่วยลดค่าใช้จ่าย เพราะทาให้เห็น
ข้อมูลการใช้จ่ายที่แท้จริง รวมทั้งการประหยัด
ค่าใช้จ่ายโดยการลดสิ่งที่ให้โทษกับตัวเอง
เพื่อให้สุขภาพของตัวเองนั้นดีขึ้น และในส่วน
ขององค์กรทีต้องการลดค่าใช้จ่าย เพราะการ
เปลี่ยนบริหารจะทาให้คนงานมีใจในการ
ทางานมากขึ้น ทาให้ผลที่ได้ดีขึ้นไปด้วยโดย
ไม่ต้องเพิ่มต้นทุน
ความพอประมาณ
ในส่วนของการลดค่าใช้ จะมีการใช้
หลักการพอประมาณคือ หยุดนิสัยซื้อไม่หยุด
หยุดนิสัยกินไม่เป็นเวลา และรสนิยมในการซื้อ
เครื่องแต่งกายที่ไม่ควรแพงจนเกินไป แต่
สามารถทาให้ตัวเองดูดีขึ้นได้ ในปัจจุบันที่
สังคมเป็นแบบระบบทุนนิยมเองก็เช่นกัน ต้อง
ใช้ความพอประมาณเพื่อให้ถูกระบบทุนนิยม
นั้นเล่นงาน
การมีภูมิคุ้มกัน
จากนโยบายของรัฐบาลสหรัฐที่บอกว่า
ประชาชนไม่จาเป็นต้องมีเงินเก็บ ทาให้เห็นว่า
ภูมิคุ้มกันนั้นสาคัญเพียงใด เพราะนโยบายนั้น
เป็นแค่คาแนะนาเฉยๆ ไม่จาเป็นต้องทาจริงๆ
ก็ได้ ดังนั้นประชาชนจึงต้องคิดก่อนว่าจะทา
อย่างไรจึงจะสามารถอยู่ได้โดยไม่เดือนร้อน
จากปัญหาเศรษฐกิจต่างๆ ในส่วนของการ
ลงทุนก็เช่นกัน ภูมิคุ้มกันจะช่วยให้เข้าใจความ
เสี่ยงของการลงทุน และไม่เป็นเหยื่อของ
การตลาด
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
เกี่ยวข้องกับส่วนของการออมเงินขององค์กร ซึ่งจาเป็นต้องใช้
ความรู้ในเรื่องของการผลิตเพื่อวิเคราะห์ว่าจะสามารถลดค่าใช้จ่ายส่วนไหน
ได้บ้าง การออมในระดับบุคคลก็เช่นกัน ต้องใช้ความรู้ในการลดค่าใช้จ่าย
และความรู้เรื่องสุขภาพเพื่อใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่ได้ประโยชน์มากที่สุด ที่
สาคัญคือในเรื่องของการลงทุน จาเป็นต้องใช้ความรู้ในเรื่องการลงทุน เพื่อ
ไม่ให้เกิดหนี้
คุณธรรม
ความโลภคือสิ่งที่มาพร้อมกับการค้าแบบเสรี การควบคุมตัวเองจึง
มีความสาคัญ การไม่ไปยุ่งกับอบายมุกก็เช่นกัน และการที่ไม่มีหนี้คือ
ความสุขอย่างหนึ่ง เมื่อเกิดกองทุนก็จะให้เกิดการแบ่งปันทาให้สามารถ
ช่วยเหลือผู้อื่นได้
เรื่องที่ 4
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับการเมืองการปกครอง
การมีเหตุผล
ถ้าหากประชาชนมีการศึกษาและสนใจ
การปกครองบ้านเมือง ประชาชนส่วนใหญ่มี
ความต้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่การกินดีอยู่ดี มี
ชีวิตที่ดีขึ้น จึงเลือกคนดีมาบริหารประเทศ
จากนั้นผู้นาแระเทศก็จะทาให้ประชาชนมี
การศึกษามากขึ้น จากข้อนี้แสดงให้เห็นว่า
ประเทศจะพัฒนาได้ ประชาชนต้องมีความรู้
ก่อนเป็นอันดับแรก เป็นการพัฒนาแบบล่างสู่
บนเป็นเหตุผลที่ทาให้ประเทศพัฒนาไปอย่าง
รวดเร็ว
ความพอประมาณ
ประเทศที่กาลังพัฒนา ไม่เจริญเพราะ
ผู้นาประเทศมีการคอรัปชัน การคอรัปชันเกิด
จากการไม่พอ มักมากในลาภยศ คิดว่า
บ้านเมืองจะเป็นอย่างไรก็ได้ ขอแต่ตนเองมี
เงินซื้อความสุขมากมายก็พอ ถ้าปลูกจิตสานึก
ให้ทุกคนรู้จักพอ ไม่เห็นเรื่องเงินเป็นเรื่อง
สาคัญมากนัก พออยู่พอกิน ไม่อดอยาก ก็จะ
ทาให้ไม่มีปัญหาการคอรัปชัน
การมีภูมิคุ้มกัน
การคอรัปชันเกิดจากประชาชนไม่มีความรู้
เกี่ยวกับการเมือง ในการเลือกตั้งก็คิดแค่ว่า
เลือกใครไปก็ไปโกงอยู่ดี จึงมีความคิดที่ว่าถ้า
ใครให้เงินก็เลือกคนนั้น พอได้ตาแหน่ง
นักการเมืองคนนั้นต้องการจะถอนทุนจากการ
ซื้อเสียงคืน จึงทาให้มีการวนลูปคอรัปชันอยู่
อย่างนี้ ประชาชนต้องมีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันว่า
เหตุการณ์หลังจากนั้นจะเกิดอะไรขึ้น ปฏิเสธ
การรับเงินซื้อเสียง มีความคิดและวิเคราะห์ถึง
สิ่งที่จะตามมา ก็จะกาจัดปัญหาการคอรัปชันนี้
ได้
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
การพัฒนาประเทศได้อย่างรวดเร็ว ต้องเกิดจากประชาชนมีความรู้ มี
การศึกษาก่อน เป็นอันดับแรก เมื่อมีการศึกษาก็จะทาให้ประชาชนสนใจ
การเมืองมากขึ้น เพราะรู้ว่าการเมืองไม่ใช่เรื่องไกลตัว จึงทาให้มีการตื่นตัว
เรื่องการเมืองมากขึ้น รู้จักเรียกร้องสิทธิ ที่ควรจะได้รับ
คุณธรรม
หลังจากมีความรู้แล้ว การศึกษาทาให้ได้ผู้นาที่มีอุดมการณ์แน่วแน่ เป็นคน
ดี มีความอดทน มีความซื่อสัตย์สุจริต รักบ้านเกิด จะทาทุกวิถีทางให้
บ้านเมืองเจริญ ประชาชนก็ต้องมีความซื่อสัตย์ บ้านเมืองก็จะพัฒนายิ่ง
ยิ่งขึ้นไป
เรื่องที่ 5
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับการเมืองศิลปวัฒนธรรม
การมีเหตุผล
ปัจจุบัน คนไทยให้ความสาคัญ
กับวัฒนธรรมทางตะวันตกมากกว่าวัฒนธรรม
ไทยที่เป็นของตัวเองแท้ๆตั้งแต่บรรพบุรุษ
ดังนั้น ถ้าไม่มีการรักษาไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรม
ไทย คุณค่าเหล่านี้อาจสูญหายไป เราจึงควร
ช่วยกันให้ความสาคัญกับศิลปวัฒนธรรม และ
ตระหนักในคุณค่า เพื่อให้สิ่งเหล่านี้คงอยู่ต่อไป
ยังลูกหลานได้
ความพอประมาณ
การถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมคือ
ช่องทางหนึ่งที่จะคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของความ
เป็นไทย ผู้ที่ถ่ายทอดควรมีความภาคภูมิใจใน
วิถีชีวิตความเป็นไทยของตน และสามารถ
ถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้ โดยไม่ต้องใช้หลักการ
อะไรที่มากเกินพอ แต่เลือกใช้ความสามารถ
และความรู้ตามภูมิปัญญาของตนในการนามา
ประยุกต์ใช้
การมีภูมิคุ้มกัน
สิ่งที่สาคัญที่สุดในการสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้กับศิลปวัฒนธรรมไทย คือการทา
ให้คนไทยมีความภูมิใจในตัวเอง ภูมิใจในวิถี
ชีวิตของตน แล้วขยายจากตนเองสู่ชุมชน จน
กลายเป็นความภาคภูมิใจของชุมชนที่จะ
ร่วมมือกันในการอนุรักษ์ไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรม
ไทย ซึ่งความภาคภูมิใจ
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
เงื่อนไขความรู้เป็นสิ่งสาคัญในการถ่ายทอดความรู้ทางด้าน
ศิลปวัฒนธรรม เพราะผู้ที่ถ่ายทอดความรู้นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นผู้เฒ่าผู้แก่
ภายในชุมชนที่ทราบแน่ชัดถึงวิธีการและประวัติความเป็นมาของศิลปะและ
วัฒนธรรมนั้นๆอย่างแท้จริง เราะหากผู้ถ่ายทอดให้ข้อมูลที่ผิด อาจส่งผลให้
คุณค่าของศิลปวัฒนธรรมลดน้อยลง มีผลต่อจารีตและประเพณีดั้งเดิมได้ ใน
ขณะเดียวกันการให้ความรู้ของผู้เฒ่าผู้แก่แต่ละท่านจะทาให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนความรู้ในชุมชนอีกด้วย
คุณธรรม
ในการสืบสานศิลปวัฒนธรรมบางอย่างอาจจะต้องใช้สิ่งที่มากกว่า
ความตั้งใจนั่นก็คือความมีวินัยในการฝึกซ้อมเช่น การแสดงต่างๆ ที่จะต้อง
พึ่งการหมั่นฝึกฝนด้วยตนเองให้มีความชานาญและเชี่ยวชาญขึ้นเรื่อยๆ
การทอผ้าที่จะต้องหมั่นดู ตรวจสอบ มีทั้งวินัยในการเก็บรายละเอียด ความ
ประณีต ตั้งใจทาด้วยใจจริงซื้อสัตย์ต่อตนเองและผู้ที่จะมารับชิ้นงานของตน
นอกจากนั้นในการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาทางศิลปวัฒนธรรมผู้ที่เป็นคน
ถ่ายทอดก็ควรที่มอบวิชาความรู้ด้วยความจริงใจ บอกและให้ความ
ช่วยเหลือเต็มความสามารถเพราะสุดท้ายมันก็คือมรดกตกทอดของแผ่นดิน
ไทยเราด้วยกัน
เรื่องที่ 6
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับการบริหารจัดการ
การมีเหตุผล
เนื่องจากสินค้าและบริการภายใน
ตลาดนั้นมีหลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นสินค้า
ประเภทเดียวกันหรือต่างประเภทกัน ถ้าหาก
เป็นสินค้าประเภทเดียวกันนั้นก็จะมี
หลากหลายยี่ห้อหลากหลายคุณภาพและ
หลากหลายราคาดังนั้นจึงทาให้เกิดการแข่งขัน
กันขึ้น ทาให้ต้องใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงมา
พัฒนาตัวผู้ประกอบการโดยจะส่งผลให้สินค้า
นั้นสามารถที่จะขายได้แม้จะอยู่ภายในตลาด
สินค้าชนิดเดียวกันและอาจส่งผลต่อเนื่องไปถึง
การขยายกิจการได้
ความพอประมาณ
การขยายกิจการนั้น เมื่อสินค้าสามารถ
ขายได้เป็นจานวนมาก จะทาให้กิจการมีกาไร
สะสมเพิ่มขึ้น ก็ควรจะนากาไรที่มีอยู่นี้มาทา
การขยายกิจการแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่
จาเป็นที่จะต้องกู้ เพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงที่จะ
เป็นหนี้ โดยการจะขยายกิจการนั้นควรมีการ
วางแผนที่ดีและความรู้ในด้านต่างๆเพื่อที่จะ
ไม่ให้เกิดปัญหาตามมาในภายหลัง
การมีภูมิคุ้มกัน
เนื่องจากสินค้าในตลาดนั้นมีจานวน
มาก ทาให้การขายสินค้าแต่ละชนิดนั้นย่อม
ต้องมีคู่แข่ง ถ้าหากสินค้าของเรามีคุณภาพ
เท่าๆกับผู้อื่นจะทาให้ต้องแข่งขันกันด้วยการ
ตัดราคาสินค้า ซึ่งจะทาให้ได้กาไรน้อยหรืออาจ
ถึงขั้นขาดทุนจนจาเป็นที่จะต้องปิดกิจการ
ดังนั้นเราควรสร้างความต่างในความเหมือน
ของสินค้าและบริการของเรา ไม่ว่าจะเป็นการ
พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์
หรือแม้กระทั่งการสร้างความประทับใจให้กับ
ลูกค้า โดยการที่จะสร้างสิ่งต่างๆเหล่านี้ได้เรา
จาเป็นที่จะต้องมีความรู้ในเชิงลึกเกี่ยวกับ
กิจการของเราและพร้อมที่ปรับปรุงพัฒนา
สินค้าขึ้นไปเรื่อยๆอย่างไม่หยุดนิ่ง
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
เราควรที่จะมีความรู้ในเชิงลึกในด้านธุรกิจของตนเอง การรู้ลึกรู้จริง
นั้นจาเป็นที่จะต้องใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตคือการศึกษาหาความรู้อยู่
ตลอดเวลาไม่หยุดนิ่ง โดยผู้ที่รู้จริงกับไม่รู้จริงนั้นมีความแตกต่างกันอย่าง
สิ้นเชิง เมื่อเรามีความรู้มากเพียงพอ เราก็จะสามารถนาความรู้เหล่านั้นไป
ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการหรือการพัฒนาสินค้าและบริการให้ได้ตรง
ตามความต้องการของตลาดและผู้บริโภค
คุณธรรม
ในการบริหารจัดการนั้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับบุคลากรและสินค้า
สาหรับผู้บริโภค ในกิจการๆหนึ่งนั้นบุคลากรเป็นสิ่งสาคัญอันดับต้นๆ ใน
การบริหารกิจการเราควรบริหารคนอย่างพอดีไม่เห็นแก่ตัวจนเกินไปต้อง
เอาใจเขามาใส่ใจเรา และ ควรมีความซื่อสัตย์ไม่หลอกลวงโดยการนาสินค้า
ปลอมหรือด้อยคุณภาพมาหลอกขายให้กับผู้บริโภค
เรื่องที่ 7
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับการสุขภาพ
การมีเหตุผล
ปัญหาสุขภาพต่างๆที่เกิดขึ้นนั้น มี
สาเหตุหลายสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค หนึ่งในนั้น
ก็คือการเลือกที่จะรับประทานอาหาร อาหารใน
ปัจจุบันนั้นส่วนใหญ่มีรสชาติและสีสันถูกปาก
ถูกใจผู้บริโภค แต่ผู้บริโภคลืมคานึงถึงสิ่งหนึ่ง
กว่าที่จะมีรสชาติและสีสันเป็นอย่างนี้ได้นั้น
จะต้องผ่านกระบวนการอะไรมาบ้าง ไม่ว่าเป็น
การใช้สารเคมี สารปรุงแต่งรสชาติ สีผสม
อาหาร และอื่นๆอีกมากมายกว่าจะมาได้
อาหารจานหนึ่ง ดังนั้นผู้บริโภคควรเลือกที่จะ
รับประทานสิ่งที่ดีต่อสุขภาพและรับประทาน
อย่างพอเหมาะเพื่อให้เกิดผลดีกับร่างกายมาก
ที่สุด
ความพอประมาณ
อาหารแทบทุกชนิดนั้นล้วนมีสารเคมี
ผสมอยู่ แม้สารเคมีเหล่านี้จะมีโทษไม่มากนัก
และร่างกายสามารถขับออกได้ แต่ก็อาจก่อ
โทษได้เมื่อร่างกายได้รับสารเคมีพวกนี้เป็น
จานวนมาก หรือแม้กระทั่งกับอาหารที่มี
ประโยชน์และจาเป็นต่อร่างกาย เช่น ผัก ผลไม้
โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต ก็ควรจะมีการ
รับประทานอย่างพอเหมาะไม่มากเกินไป ไม่
งั้นจะก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดีตามมา
การมีภูมิคุ้มกัน
โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร
นั้น สามารถใช้พืชผักผลไม้อินทรีย์ในการ
บาบัดและรักษาโรคให้หายได้ โดยบริโภคผัก
ผลไม้ไปพร้อมๆกับการรักษาของแพทย์ ดังนั้น
ในเมื่อเราทราบสาเหตุว่าโรคต่างๆนั้นเกิดจาก
สิ่งใดการกระทาใด เราก็ควรจะหลีกเลี่ยง หัน
มารับประทานผักผลไม้ รวมทั้งการพักผ่อน
และออกกาลังกายให้เพียงพอ เพื่อลดความ
เสี่ยงที่จะเกิดโรคขึ้น
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
การหาความรู้นั้นทาให้เราสามารถทราบได้ว่าโรคชนิดนี้เกิดขึ้น
เพราะสิ่งใดการกระทาใด เมื่อเรามีความรู้แล้วเราก็จะสามารถนาไปปรับใช้
กับชีวิตประจาวัน หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดโรคและทาในสิ่งที่เป็นประโยชน์
ต่อร่างกาย
คุณธรรม
การจะลดความเสี่ยงในการเป็นโรคได้นั่น ตัวบุคคลเองจะต้องมีวินัย
ในตนเอง ต้องรู้จักหักห้ามใจตนเองในการเลือกรับประทานอาหาร รวมถึง
ต้องใส่ใจในด้านการออกกาลังกายและพักผ่อนให้เพียงพอ
เรื่องที่ 8
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับการสิ่งแวดล้อม
การมีเหตุผล
สังคมทุนนิยมมีการพัฒนาเศรษฐกิจ
อย่างรวดเร็วทาให้เกิดการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติไปหมดไปในระยะเวลาอันสั้น ส่งผล
ให้ธรรมชาติขาดสมดุล ทาให้เกิดภัยพิบัติที่
ร้ายแรงในทั่วทุกมุมของโลก ดังนั้นเราจึงต้อง
นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามา
บริหารจัดการ การใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ
ให้เกิดความสมดุลและยั่งยืนเพียงพอสาหรับ
ทั้งปัจจุบันและอนาคต นอกจากนั้นยังต้อง
ช่วยกันเพิ่มพื้นที่สีเขียวหรือการทาวนเกษตร
เพื่อทดแทนป่าที่สูญเสียไปอีกยังเป็นการทา
เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของมนุษย์
ความพอประมาณ
ปัญหาหลักของสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น
มากจากการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติที่มาก
จนเกินพอดี ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมสูญเสียสมดุล
หากเรามองกลับมาและย้อนดูให้เห็นถึงความ
จาเป็นที่แท้จริงใช้เพียงแค่ให้พอตามความ
จาเป็นไม่ใช่พอไปตามความอยากอย่าง เราก็
จะมีทรัพยากรธรรมชาติไว้ใช้ในระยะยาว
การมีภูมิคุ้มกัน
ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติช่วยรังสรรค์ความสุขมากมายให้แก่
มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้า ก๊าซ น้ามัน เราจึง
ควรมีการวางแผนในการใช้งาน และมาตรการ
ในการจัดการกับการใช้ที่มากจนเกินความพอดี
นอกจากนั้นยังต้องมีการฟื้นฟูช่วยเหลือ
ธรรมชาติในทางอ้อมเช่น การสร้างฝาย ปลูก
ป่า เพื่อเป็นการช่วยเพิ่มอาหาร น้าและ
ความชื้น ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญในการ
เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
ความรู้ที่จะใช้ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมส่วนหนึ่ง คือ ความรู้
ในการปลูกป่าที่ถูกต้อง การชะลอและเก็บน้าโดยการสร้างฝาย เช่น การ
ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก เป็นวิธีการเพิ่มจานวนป่าที่มั่นคงถาวร ง่ายและ
ประหยัดในการดาเนินงาน ด้วยวิธีการ 3 วิธี คือ
1. ถ้าเลือกได้ที่เหมาะสมแล้ว ก็ทิ้งป่าไว้ตรงนั้น ไม่ต้องไปทาอะไรเลย ป่า
จะเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นป่าสมบูรณ์ โดยไม่ต้องไปปลูกสักต้นเดียว
2. ไม่ไปรังแกป่าหรือตอแยต้นไม้ เพียงแต่คุ้มครองให้ขึ้นเองเท่านั้น
3. ในสภาพป่าเต็งรัง ป่าเสื่อมโทรมไม่ต้องทาอะไร เพราะตอไท้จะแตกกิ่ง
ออกมาอีกถึงแม้ต้นไม่สวย แต่ก็เป็นต้นไม่ใหญ่ได้
คุณธรรม
ปัญหาการตัดไม้ทาลายป่าส่วนใหญ่เกิดจากการละเมิดกฎหมาย
และข้อตกลงที่เคยทาไว้ เรามีความซื่อสัตย์ สุจริต ไม้แอบลักลอบกระทา
ปล่อยให้ธรรมชาติในส่วนที่ถูกอนุรักษ์อยู่อย่างปลอดภัย ใช้เฉพาะเท่าที่มี
การแบ่งไว้ ก็จะทาให้ระบบนิเวศของป่ากลับเป็นปกติ
เรื่องที่ 9
วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับการเกษตรกรรม
การมีเหตุผล
ในอดีตเกษตรกรส่วนใหญ่เริ่มทา
การเกษตรเชิงเดี่ยวกันแทบทุกราย เนื่องจาก
เลือกปลูกพืชตามที่ตลาดต้องการ ทาให้ได้ผล
ผลิตเป็นจานวนมาก เมื่อเกษตรกรเห็นว่าการ
ทาเกษตรแบบนี้ได้ผลกาไร จึงเริ่มใช้สารเคมี
เข้าช่วยเพื่อที่จะทาให้ได้ผลผลิตที่มากขึ้น
รูปทรงดูสวย โดยที่เกษตรกรเหล่านั้นไม่รู้มา
ก่อนว่า การกระทาแบบนี้จะทาให้ดินเสื่อม
คุณภาพ ไม่สามารถปลูกพืชอีกต่อไปได้ แล้วก็
ล้มละลายกันไปแทบทุกลาย แต่ก็ยังมี
เกษตรกรบางกลุ่มได้หาวิธีมาแก้ไขปัญหา โดย
การทาเกษตรผสมผสาน ปลูกพืชหลากหลาย
ชนิด ดูแลรักษาและเพิ่มคุณภาพให้กับดิน ทา
ให้เกษตรกรนั้นสามารถกลับมาปลูกพืชได้อีก
ครั้ง และยังสามารถทารายได้ให้กับตัวเองได้
อีกด้วย
ความพอประมาณ
ในการทาเกษตรผสมผสาน สิ่งที่สาคัญ
ก็คือการจัดสรรพื้นที่ในการปลูกพืช ให้สามารถ
เลี้ยงชีพของตัวเองได้ คานึงถึงกาลังในการ
ทางานของตนเองว่ากาลังของตนนั้นสามารถ
ทาได้แค่ไหน ไม่ควรทาอะไรเกินตัวเช่น ปลูก
พืชมากจนเกินไปจนทาให้ไม่สามารถดูแลได้
อย่างทั่วถึง ซึ่งขัดกับหลักการพอเพียงที่ควร
ทาอะไรให้พอดีแก่ตัวเอง เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตได้
อย่างมีความสุขนั่นเอง
การมีภูมิคุ้มกัน
ในการทาการเกษตร ควรมีการ
วางแผนที่แน่ชัด เมื่อปลูกพืชเพื่อเป็นผลผลิต
ในการจาหน่ายแล้ว ก็ควรปลูกพืชผักสวนครัว
ไว้รับประทานเองด้วย เพราะการทาเกษตร
ผสมผสานนั้น ทาให้เกษตรกรสามารถผลิต
อาหารเองได้ มีรายได้ที่แน่นอน มีเงินเก็บ และ
มีสุขภาพที่ดี ถ้าหากวางแผนไว้ไม่ดี จะทาให้
เกิดผลเสียได้
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
ความรู้ในหลายๆด้านเช่น ความรู้เกี่ยวกับดิน ความรู้ด้านจุลินทรีย์
ความรู้เรื่องนิสัยของพืชแต่ละชนิด ฯลฯ เกษตรกรทุกรายจาเป็นจะต้องมีไว้
เพื่อจะนามาใช้กับการทาเกษตรของตนเอง เช่น นามาทดลองเพื่อเพิ่ม
คุณภาพของผลผลิต ปรับปรุงระบบการหมุนเวียนปลูกพืชเพื่อทาให้สามารถ
ผลิตผลผลิตออกมาจาหน่ายหรือนามาบริโภคเองได้ทั้งปี
คุณธรรม
หลักของคุณธรรมจาเป็นต่อเกษตรกรอย่างมาก เกษตรกรที่ดีไม่
ควรมีความโลภมากจนเกินไป และหันไปใช้สารเคมีในการเพิ่มผลผลิตแทน
ถึงแม้ตนเองจะได้เงินจารการจาหน่ายผลผลิตที่มากแต่กลับต้องแลกด้วย
สุขภาพของตนเอง
เรื่องที่ 10
การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาประยุกต์ใช้ของปราชญ์ชาวบ้าน
การมีเหตุผล
ครูบาสุทธินันท์รู้จักสรุปบทเรียนความ
ผิดพลาดของตนเอง โดยคานึกถึงคาสอบที่ว่า
“การพึ่งตัวเอง” จึงได้ยุติการทาเกษตรเชิงเดี่ยว
และใช้สารเคมีโดยสิ้นเชิง
ความพอประมาณ
ครูลดต้นทุนค่าปุ๋ ยโดยการเลี้ยงสัตว์
และให้สัตว์เหล่านั้นหากินเอง มูลของสัตว์ก็จะ
เป็นปุ๋ยชั้นดี
การมีภูมิคุ้มกัน
ครูบาสุทธินันท์เลือกปลูกยูคาลิปตัส
สลับกับไม้ยืนต้น การที่เลือกปลูกยูคาลิปตัส
เพราะโตเร็ว สามารถให้รายได้ตั้งแต่ 3 ปี และ
ไม่ตองดูแลรักษามาก
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
ครูบาสุทธินันท์เป็นคนที่เรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นนักค้นคว้า นักวิจัย
นักทดลอง ใช้ความรู้ที่มีคิดวิธีป้องกันดินเสื่อม คิดค้นการเลี้ยงวัวด้วยหญ้า
คุณธรรม
ได้จัดตั้งโรงเรียนชุมชนอีสาน เพื่อสร้างชีวิตใหม่ให้เกษตรกร แสดง
ถึงความมีน้าใจ ช่วยเหลือเพื่อนเกษตรกรด้วยกัน
ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
การมีเหตุผล
หลังจากพ่อคาเดื่องติดหนี้ เครียด หัน
ไปพึ่งอบายมุข จากนั้นก็คิดวางแผนลดต้นทุน
และให้ได้ผลผลิตเท่าเดิมหรือมากยิ่งขึ้น
ความพอประมาณ
พ่อคาเดื่องลดการใช้ปุ๋ยไปครึ่งใน แต่ก็
ได้ผลผลิตเท่าเดิม จึงนาเงินส่วนที่เหลือนี้ไปใช้
หนี้
การมีภูมิคุ้มกัน
พ่อคาเดื่องใช้เวลา 3 ปีในการทดลองว่าวิธี
ปลูกข้าวของเขานั้นประสบความสาเร็วอย่าง
แน่นอน ก่อนที่จะเผยแพร่ออกไป
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
พ่อคาเดื่องใช้วิธีคลุมต้นข้าวด้วยฟาง ที่เคยมีชาวญี่ปุ่นคนหนึ่งได้
เขียนบทความไว้ ว่าเป็นวิธีที่ได้ผลอย่างดี
คุณธรรม
หลังจากที่พ่อคาเดื่องค้นพบวิธีปลูกข้าวแล้ว พ่อก็ได้แนะนาวิธีนี้
ให้กับเกษตรกรทั่วไป พร้อมให้คาแนะนา แสดงถึงความมีน้าใจต่อเพื่อน
เกษตรกรด้วยกัน
พ่อคาเดื่อง ภาษี
การมีเหตุผล
การเริ่มต้นการทาเกษตรผสมผสาน
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงถึงจะมีพื้นที่
มากแค่ไหน แต่ก็ต้องเริ่มจาก 1 อยู่ดี เพื่อเป็น
การทดลองบุกเบิก
ความพอประมาณ
คุณสาเริงใช้พื้นที่ดินเพียงเล็กน้อย ใน
การทาการเกษตร มีผักผลไม้ชนิดต่างๆ ไว้ใช้
ในครอบครัวและยังมีคนมารับซื้อไปขายอีก
การมีภูมิคุ้มกัน
คุณสาเริงมีหลักสาคัญในการทาเกษตร
ประณีตคือการวางระบบน้าให้เหมาะสม การ
ฟื้นฟูและเสริมธาตุอาหารในดิน และสุดท้ายการ
เลือกพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับพื้นที่ 1 ไร
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
ได้มีการศึกษาการใช้ผักตบชวามาเลี้ยงสัตว์ และยังสามารถนามา
คลุมดิน เพื่อกลายเป็นปุ๋ยชั้นดี และยังใช้น้ามันที่ได้จากพืชไปใช้กับ
เครื่องยนต์ได้อีกด้วย
คุณธรรม
คุณสาเริงมีจิตใจที่ดีเมื่อตัวเองประสบความสาเร็จ ก็แนะนาคนอื่นที่
เข้ามาศึกษา แถมยังมีความขยันอดทน คิดค้นสิ่งต่างๆ มาพัฒนาการ
เกษตรให้ดีขึ้น
คุณสาเริง เย็นรัมย์
การมีเหตุผล
พ่อชาลีคิดว่าถ้าต้องการจะทา
การเกษตรบนที่สูง โดยที่ไม่ต้องพึ่งฝนเพียง
อย่างเดี๋ยว ต้องทาการขุดบ่อน้าขึ้น
ความพอประมาณ
หลังจากพ่อชาลีขุดพ่อน้าเสร็จก็ทาให้
มีปลา มีนาข้าว มีสวนผลไม้ ไว้กินกันใน
ครอบครัว
การมีภูมิคุ้มกัน
พ่อชาลีมีความอดทนและมีปณิธานที่
แรงกล้า ที่จะสร้างบ่อปลา นาข้าว สวนผลไม้ใน
ครอบครัว เป็นแรงหนุนชาติ
หลัก 3 ห่วง
หลัก 2 เงื่อนไข
ความรู้
พ่อชาลีใช้ความรู้ ประสบการณ์จากการที่ตนเคยเป็นคนงานมาก่อน
มาใช้ในการสร้างบ่อปลา
คุณธรรม
พ่อชาลีแสดงถึงจิตสาธารณะโดยการเพาะกล้าไม้ยืนต้น เพื่อ
แจกจ่ายและร่วมมือกันปลูกป่า
พ่อชาลี มาระแสง

More Related Content

Similar to บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2

มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..
KoNg KoNgpop
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
Nattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
Plam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
Plam Preeya
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
freelance
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
Pisan Chueachatchai
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Nan NaJa
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
nang_phy29
 
วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02
Jaji Biwty
 
วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002
Jaji Biwty
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
superglag
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
jennysutthida
 

Similar to บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2 (20)

มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
Se appl chapter 1
Se appl chapter 1Se appl chapter 1
Se appl chapter 1
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02วิชาสังคมวิทยา02
วิชาสังคมวิทยา02
 
วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002วิชาสังคมวิทยา 002
วิชาสังคมวิทยา 002
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 

More from freelance

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart2

  • 2. เรื่องที่ 2 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับสังคมทุนนิยม การมีเหตุผล ระบบทุนนิยมเน้นการทากาไรสูงสุด เป็นเป้าหมายสาคัญ การคิดด้านเดียวโดยไม่ คานึงถึงส่วนประกอบของสังคมในส่วนอื่นๆ ทาให้คนที่อยู่ภายในสังคมถูกหล่อหลอมจน กลายเป็นคนที่เห็นแก่ตัว เมื่อคนในสังคม พัฒนาเป็นตัวใครตัวมัน ก็จะส่งผลทาให้เกิด ปัญหาในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ทาให้ ต้องใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อรักษาวิถีชีวิต ประเพณี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ยังคงอยู่ ความพอประมาณ หนึ่งสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นส่วน ใหญ่ในสังคมทุนนิยม เป็นเพราะการไม่ ประเมินสถานภาพตัวเอง ไม่รู้จักฐานะตัวเองที่ แท้จริง เช่น ปัญหาการซื้อขายยาเสพติดที่เกิด จากความอยากรวย ความอยากได้อยากมีมาก เกินไปจนต้องตัดไม้ทาลายป่าเพื่อสร้างรีสอร์ท การคอรัปชั่นในหน่วยงานรัฐบาลที่เกิดจาก ความโลภ การเดินทางเข้าเมืองหลวงเพื่อหา เงินโดยไม่คานึงถึงศักยภาพ ความถนัดและ ความเหมาะสม ทาให้ต้องใช้เงินแบบชักหน้า ไมถึงหลัง เป็นนี้บัตรเครดิต ปัญหาเหล่านี้จะ หมดไปหากทุกคนรู้จักประเมินตนเอง ทาแค่ เท่าที่ตัวเองไหว อยากได้ในสิ่งที่สามารถสร้าง ได้อย่างสุจริต อยากมีแต่ต้องไม่ละเมิด ผลประโยชน์ในทรัพยากรทางธรรมชาติจนเกิน ความพอประมาณ การมีภูมิคุ้มกัน ปัญหาทั้งหมดที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่ ละเอียดอ่อน ยากต่อการแก้เพราะเป็นค่านิยม วิถีชีวิตไม่ใช่กฎหมาย ทาให้ต้องมีการวางแผน และใช้ความรู้อย่างถูกวิธีในการจัดการ เช่น การแก้ปัญหาการคอรัปชั่น ต้องมีแผนและ ลาดับการอบรมอย่างชัดเจนเพื่อสร้าง ปลูกฝัง จิตสานึกถึงความสุขและความทุกข์ยากของคน ในประเทศชาติ การหาความรู้ หาแหล่วง พลังงานทางเลือกธรรมชาติที่บริสุทธิ์ พร้อม รณรงค์การใช้เท่าที่จาเป็น การช่วยกันส่งเสริม วิถีชีวิตของชุมชน หลัก 3 ห่วง
  • 3. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ การแก้ปัญหาในสังคม ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องอย่าง แท้จริง เช่น การแก้ปัญหายาเสพติดที่เกิดขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น ต้องมีความรู้ด้าน พฤติกรรม ความต้องการพื้นฐานที่แท้จริงว่าพวกเขาต้องการอะไร การ แก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจของเกษตรกรไทย ต้องรู้จักวิถีชีวิต แนวความคิด และทางเลือกในการทาอาชีพที่ชัดเจนของเกษตรกร รู้ถึงปัญหาและเหตุผลที่ แท้จริงที่ทาให้เกิดการกูยืม การแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ต้องรู้ให้เท่าทันถึง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากใช้ทรัพยากรในแต่ละประเภท นอกจากนั้นยังต้อง รู้จักแสวงหาและวิเคราะห์ถึงแหล่งทรัพยากรทางเลือกใหม่ คุณธรรม จุดเริ่มต้นที่แท้จริงของปัญหาในสังคมทุนนิยมคือ ความเห็นแก่ตัว หากเรามีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ คิดถึงใจเขาใจเรา ปัญหาหลายอย่างก็จะ คลี่คลายลง เช่น หากข้าราชการคานึงถึงจิตใจของประชาชนทั้งประเทศก็จะ ไม่เกิดการคอร์รัปชั่น หากผู้ที่ขายและผลิตยาเสพติดคานึงถึงผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นหลังจากลูกค้าของเขาเสพยาเข้าไปแล้วก็จะทาให้ปัญหายาเสพติด ลดหมดไป หากนายทุนที่ต้องการสร้างรีสอร์ท หรือสิ่งปลูกสร้างขนาดใหญ่ คานึงถึงทรัพยากรที่ลูกหลานจะต้องใช้ในอนาคต ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมก็ จะไม่เกิดขึ้น
  • 4. เรื่องที่ 3 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับเศรษฐกิจ การมีเหตุผล เกี่ยวข้องกับในส่วนของการทาบัญชี ครัวเรือนเพื่อช่วยลดค่าใช้จ่าย เพราะทาให้เห็น ข้อมูลการใช้จ่ายที่แท้จริง รวมทั้งการประหยัด ค่าใช้จ่ายโดยการลดสิ่งที่ให้โทษกับตัวเอง เพื่อให้สุขภาพของตัวเองนั้นดีขึ้น และในส่วน ขององค์กรทีต้องการลดค่าใช้จ่าย เพราะการ เปลี่ยนบริหารจะทาให้คนงานมีใจในการ ทางานมากขึ้น ทาให้ผลที่ได้ดีขึ้นไปด้วยโดย ไม่ต้องเพิ่มต้นทุน ความพอประมาณ ในส่วนของการลดค่าใช้ จะมีการใช้ หลักการพอประมาณคือ หยุดนิสัยซื้อไม่หยุด หยุดนิสัยกินไม่เป็นเวลา และรสนิยมในการซื้อ เครื่องแต่งกายที่ไม่ควรแพงจนเกินไป แต่ สามารถทาให้ตัวเองดูดีขึ้นได้ ในปัจจุบันที่ สังคมเป็นแบบระบบทุนนิยมเองก็เช่นกัน ต้อง ใช้ความพอประมาณเพื่อให้ถูกระบบทุนนิยม นั้นเล่นงาน การมีภูมิคุ้มกัน จากนโยบายของรัฐบาลสหรัฐที่บอกว่า ประชาชนไม่จาเป็นต้องมีเงินเก็บ ทาให้เห็นว่า ภูมิคุ้มกันนั้นสาคัญเพียงใด เพราะนโยบายนั้น เป็นแค่คาแนะนาเฉยๆ ไม่จาเป็นต้องทาจริงๆ ก็ได้ ดังนั้นประชาชนจึงต้องคิดก่อนว่าจะทา อย่างไรจึงจะสามารถอยู่ได้โดยไม่เดือนร้อน จากปัญหาเศรษฐกิจต่างๆ ในส่วนของการ ลงทุนก็เช่นกัน ภูมิคุ้มกันจะช่วยให้เข้าใจความ เสี่ยงของการลงทุน และไม่เป็นเหยื่อของ การตลาด หลัก 3 ห่วง
  • 5. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ เกี่ยวข้องกับส่วนของการออมเงินขององค์กร ซึ่งจาเป็นต้องใช้ ความรู้ในเรื่องของการผลิตเพื่อวิเคราะห์ว่าจะสามารถลดค่าใช้จ่ายส่วนไหน ได้บ้าง การออมในระดับบุคคลก็เช่นกัน ต้องใช้ความรู้ในการลดค่าใช้จ่าย และความรู้เรื่องสุขภาพเพื่อใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่ได้ประโยชน์มากที่สุด ที่ สาคัญคือในเรื่องของการลงทุน จาเป็นต้องใช้ความรู้ในเรื่องการลงทุน เพื่อ ไม่ให้เกิดหนี้ คุณธรรม ความโลภคือสิ่งที่มาพร้อมกับการค้าแบบเสรี การควบคุมตัวเองจึง มีความสาคัญ การไม่ไปยุ่งกับอบายมุกก็เช่นกัน และการที่ไม่มีหนี้คือ ความสุขอย่างหนึ่ง เมื่อเกิดกองทุนก็จะให้เกิดการแบ่งปันทาให้สามารถ ช่วยเหลือผู้อื่นได้
  • 6. เรื่องที่ 4 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการเมืองการปกครอง การมีเหตุผล ถ้าหากประชาชนมีการศึกษาและสนใจ การปกครองบ้านเมือง ประชาชนส่วนใหญ่มี ความต้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่การกินดีอยู่ดี มี ชีวิตที่ดีขึ้น จึงเลือกคนดีมาบริหารประเทศ จากนั้นผู้นาแระเทศก็จะทาให้ประชาชนมี การศึกษามากขึ้น จากข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ประเทศจะพัฒนาได้ ประชาชนต้องมีความรู้ ก่อนเป็นอันดับแรก เป็นการพัฒนาแบบล่างสู่ บนเป็นเหตุผลที่ทาให้ประเทศพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว ความพอประมาณ ประเทศที่กาลังพัฒนา ไม่เจริญเพราะ ผู้นาประเทศมีการคอรัปชัน การคอรัปชันเกิด จากการไม่พอ มักมากในลาภยศ คิดว่า บ้านเมืองจะเป็นอย่างไรก็ได้ ขอแต่ตนเองมี เงินซื้อความสุขมากมายก็พอ ถ้าปลูกจิตสานึก ให้ทุกคนรู้จักพอ ไม่เห็นเรื่องเงินเป็นเรื่อง สาคัญมากนัก พออยู่พอกิน ไม่อดอยาก ก็จะ ทาให้ไม่มีปัญหาการคอรัปชัน การมีภูมิคุ้มกัน การคอรัปชันเกิดจากประชาชนไม่มีความรู้ เกี่ยวกับการเมือง ในการเลือกตั้งก็คิดแค่ว่า เลือกใครไปก็ไปโกงอยู่ดี จึงมีความคิดที่ว่าถ้า ใครให้เงินก็เลือกคนนั้น พอได้ตาแหน่ง นักการเมืองคนนั้นต้องการจะถอนทุนจากการ ซื้อเสียงคืน จึงทาให้มีการวนลูปคอรัปชันอยู่ อย่างนี้ ประชาชนต้องมีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทันว่า เหตุการณ์หลังจากนั้นจะเกิดอะไรขึ้น ปฏิเสธ การรับเงินซื้อเสียง มีความคิดและวิเคราะห์ถึง สิ่งที่จะตามมา ก็จะกาจัดปัญหาการคอรัปชันนี้ ได้ หลัก 3 ห่วง
  • 7. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ การพัฒนาประเทศได้อย่างรวดเร็ว ต้องเกิดจากประชาชนมีความรู้ มี การศึกษาก่อน เป็นอันดับแรก เมื่อมีการศึกษาก็จะทาให้ประชาชนสนใจ การเมืองมากขึ้น เพราะรู้ว่าการเมืองไม่ใช่เรื่องไกลตัว จึงทาให้มีการตื่นตัว เรื่องการเมืองมากขึ้น รู้จักเรียกร้องสิทธิ ที่ควรจะได้รับ คุณธรรม หลังจากมีความรู้แล้ว การศึกษาทาให้ได้ผู้นาที่มีอุดมการณ์แน่วแน่ เป็นคน ดี มีความอดทน มีความซื่อสัตย์สุจริต รักบ้านเกิด จะทาทุกวิถีทางให้ บ้านเมืองเจริญ ประชาชนก็ต้องมีความซื่อสัตย์ บ้านเมืองก็จะพัฒนายิ่ง ยิ่งขึ้นไป
  • 8. เรื่องที่ 5 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการเมืองศิลปวัฒนธรรม การมีเหตุผล ปัจจุบัน คนไทยให้ความสาคัญ กับวัฒนธรรมทางตะวันตกมากกว่าวัฒนธรรม ไทยที่เป็นของตัวเองแท้ๆตั้งแต่บรรพบุรุษ ดังนั้น ถ้าไม่มีการรักษาไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรม ไทย คุณค่าเหล่านี้อาจสูญหายไป เราจึงควร ช่วยกันให้ความสาคัญกับศิลปวัฒนธรรม และ ตระหนักในคุณค่า เพื่อให้สิ่งเหล่านี้คงอยู่ต่อไป ยังลูกหลานได้ ความพอประมาณ การถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมคือ ช่องทางหนึ่งที่จะคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของความ เป็นไทย ผู้ที่ถ่ายทอดควรมีความภาคภูมิใจใน วิถีชีวิตความเป็นไทยของตน และสามารถ ถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้ โดยไม่ต้องใช้หลักการ อะไรที่มากเกินพอ แต่เลือกใช้ความสามารถ และความรู้ตามภูมิปัญญาของตนในการนามา ประยุกต์ใช้ การมีภูมิคุ้มกัน สิ่งที่สาคัญที่สุดในการสร้าง ภูมิคุ้มกันให้กับศิลปวัฒนธรรมไทย คือการทา ให้คนไทยมีความภูมิใจในตัวเอง ภูมิใจในวิถี ชีวิตของตน แล้วขยายจากตนเองสู่ชุมชน จน กลายเป็นความภาคภูมิใจของชุมชนที่จะ ร่วมมือกันในการอนุรักษ์ไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรม ไทย ซึ่งความภาคภูมิใจ หลัก 3 ห่วง
  • 9. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ เงื่อนไขความรู้เป็นสิ่งสาคัญในการถ่ายทอดความรู้ทางด้าน ศิลปวัฒนธรรม เพราะผู้ที่ถ่ายทอดความรู้นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นผู้เฒ่าผู้แก่ ภายในชุมชนที่ทราบแน่ชัดถึงวิธีการและประวัติความเป็นมาของศิลปะและ วัฒนธรรมนั้นๆอย่างแท้จริง เราะหากผู้ถ่ายทอดให้ข้อมูลที่ผิด อาจส่งผลให้ คุณค่าของศิลปวัฒนธรรมลดน้อยลง มีผลต่อจารีตและประเพณีดั้งเดิมได้ ใน ขณะเดียวกันการให้ความรู้ของผู้เฒ่าผู้แก่แต่ละท่านจะทาให้เกิดการ แลกเปลี่ยนความรู้ในชุมชนอีกด้วย คุณธรรม ในการสืบสานศิลปวัฒนธรรมบางอย่างอาจจะต้องใช้สิ่งที่มากกว่า ความตั้งใจนั่นก็คือความมีวินัยในการฝึกซ้อมเช่น การแสดงต่างๆ ที่จะต้อง พึ่งการหมั่นฝึกฝนด้วยตนเองให้มีความชานาญและเชี่ยวชาญขึ้นเรื่อยๆ การทอผ้าที่จะต้องหมั่นดู ตรวจสอบ มีทั้งวินัยในการเก็บรายละเอียด ความ ประณีต ตั้งใจทาด้วยใจจริงซื้อสัตย์ต่อตนเองและผู้ที่จะมารับชิ้นงานของตน นอกจากนั้นในการถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาทางศิลปวัฒนธรรมผู้ที่เป็นคน ถ่ายทอดก็ควรที่มอบวิชาความรู้ด้วยความจริงใจ บอกและให้ความ ช่วยเหลือเต็มความสามารถเพราะสุดท้ายมันก็คือมรดกตกทอดของแผ่นดิน ไทยเราด้วยกัน
  • 10. เรื่องที่ 6 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการบริหารจัดการ การมีเหตุผล เนื่องจากสินค้าและบริการภายใน ตลาดนั้นมีหลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นสินค้า ประเภทเดียวกันหรือต่างประเภทกัน ถ้าหาก เป็นสินค้าประเภทเดียวกันนั้นก็จะมี หลากหลายยี่ห้อหลากหลายคุณภาพและ หลากหลายราคาดังนั้นจึงทาให้เกิดการแข่งขัน กันขึ้น ทาให้ต้องใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงมา พัฒนาตัวผู้ประกอบการโดยจะส่งผลให้สินค้า นั้นสามารถที่จะขายได้แม้จะอยู่ภายในตลาด สินค้าชนิดเดียวกันและอาจส่งผลต่อเนื่องไปถึง การขยายกิจการได้ ความพอประมาณ การขยายกิจการนั้น เมื่อสินค้าสามารถ ขายได้เป็นจานวนมาก จะทาให้กิจการมีกาไร สะสมเพิ่มขึ้น ก็ควรจะนากาไรที่มีอยู่นี้มาทา การขยายกิจการแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ จาเป็นที่จะต้องกู้ เพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงที่จะ เป็นหนี้ โดยการจะขยายกิจการนั้นควรมีการ วางแผนที่ดีและความรู้ในด้านต่างๆเพื่อที่จะ ไม่ให้เกิดปัญหาตามมาในภายหลัง การมีภูมิคุ้มกัน เนื่องจากสินค้าในตลาดนั้นมีจานวน มาก ทาให้การขายสินค้าแต่ละชนิดนั้นย่อม ต้องมีคู่แข่ง ถ้าหากสินค้าของเรามีคุณภาพ เท่าๆกับผู้อื่นจะทาให้ต้องแข่งขันกันด้วยการ ตัดราคาสินค้า ซึ่งจะทาให้ได้กาไรน้อยหรืออาจ ถึงขั้นขาดทุนจนจาเป็นที่จะต้องปิดกิจการ ดังนั้นเราควรสร้างความต่างในความเหมือน ของสินค้าและบริการของเรา ไม่ว่าจะเป็นการ พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์ หรือแม้กระทั่งการสร้างความประทับใจให้กับ ลูกค้า โดยการที่จะสร้างสิ่งต่างๆเหล่านี้ได้เรา จาเป็นที่จะต้องมีความรู้ในเชิงลึกเกี่ยวกับ กิจการของเราและพร้อมที่ปรับปรุงพัฒนา สินค้าขึ้นไปเรื่อยๆอย่างไม่หยุดนิ่ง หลัก 3 ห่วง
  • 11. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ เราควรที่จะมีความรู้ในเชิงลึกในด้านธุรกิจของตนเอง การรู้ลึกรู้จริง นั้นจาเป็นที่จะต้องใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตคือการศึกษาหาความรู้อยู่ ตลอดเวลาไม่หยุดนิ่ง โดยผู้ที่รู้จริงกับไม่รู้จริงนั้นมีความแตกต่างกันอย่าง สิ้นเชิง เมื่อเรามีความรู้มากเพียงพอ เราก็จะสามารถนาความรู้เหล่านั้นไป ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการหรือการพัฒนาสินค้าและบริการให้ได้ตรง ตามความต้องการของตลาดและผู้บริโภค คุณธรรม ในการบริหารจัดการนั้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับบุคลากรและสินค้า สาหรับผู้บริโภค ในกิจการๆหนึ่งนั้นบุคลากรเป็นสิ่งสาคัญอันดับต้นๆ ใน การบริหารกิจการเราควรบริหารคนอย่างพอดีไม่เห็นแก่ตัวจนเกินไปต้อง เอาใจเขามาใส่ใจเรา และ ควรมีความซื่อสัตย์ไม่หลอกลวงโดยการนาสินค้า ปลอมหรือด้อยคุณภาพมาหลอกขายให้กับผู้บริโภค
  • 12. เรื่องที่ 7 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการสุขภาพ การมีเหตุผล ปัญหาสุขภาพต่างๆที่เกิดขึ้นนั้น มี สาเหตุหลายสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค หนึ่งในนั้น ก็คือการเลือกที่จะรับประทานอาหาร อาหารใน ปัจจุบันนั้นส่วนใหญ่มีรสชาติและสีสันถูกปาก ถูกใจผู้บริโภค แต่ผู้บริโภคลืมคานึงถึงสิ่งหนึ่ง กว่าที่จะมีรสชาติและสีสันเป็นอย่างนี้ได้นั้น จะต้องผ่านกระบวนการอะไรมาบ้าง ไม่ว่าเป็น การใช้สารเคมี สารปรุงแต่งรสชาติ สีผสม อาหาร และอื่นๆอีกมากมายกว่าจะมาได้ อาหารจานหนึ่ง ดังนั้นผู้บริโภคควรเลือกที่จะ รับประทานสิ่งที่ดีต่อสุขภาพและรับประทาน อย่างพอเหมาะเพื่อให้เกิดผลดีกับร่างกายมาก ที่สุด ความพอประมาณ อาหารแทบทุกชนิดนั้นล้วนมีสารเคมี ผสมอยู่ แม้สารเคมีเหล่านี้จะมีโทษไม่มากนัก และร่างกายสามารถขับออกได้ แต่ก็อาจก่อ โทษได้เมื่อร่างกายได้รับสารเคมีพวกนี้เป็น จานวนมาก หรือแม้กระทั่งกับอาหารที่มี ประโยชน์และจาเป็นต่อร่างกาย เช่น ผัก ผลไม้ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต ก็ควรจะมีการ รับประทานอย่างพอเหมาะไม่มากเกินไป ไม่ งั้นจะก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดีตามมา การมีภูมิคุ้มกัน โรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร นั้น สามารถใช้พืชผักผลไม้อินทรีย์ในการ บาบัดและรักษาโรคให้หายได้ โดยบริโภคผัก ผลไม้ไปพร้อมๆกับการรักษาของแพทย์ ดังนั้น ในเมื่อเราทราบสาเหตุว่าโรคต่างๆนั้นเกิดจาก สิ่งใดการกระทาใด เราก็ควรจะหลีกเลี่ยง หัน มารับประทานผักผลไม้ รวมทั้งการพักผ่อน และออกกาลังกายให้เพียงพอ เพื่อลดความ เสี่ยงที่จะเกิดโรคขึ้น หลัก 3 ห่วง
  • 13. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ การหาความรู้นั้นทาให้เราสามารถทราบได้ว่าโรคชนิดนี้เกิดขึ้น เพราะสิ่งใดการกระทาใด เมื่อเรามีความรู้แล้วเราก็จะสามารถนาไปปรับใช้ กับชีวิตประจาวัน หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดโรคและทาในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ต่อร่างกาย คุณธรรม การจะลดความเสี่ยงในการเป็นโรคได้นั่น ตัวบุคคลเองจะต้องมีวินัย ในตนเอง ต้องรู้จักหักห้ามใจตนเองในการเลือกรับประทานอาหาร รวมถึง ต้องใส่ใจในด้านการออกกาลังกายและพักผ่อนให้เพียงพอ
  • 14. เรื่องที่ 8 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการสิ่งแวดล้อม การมีเหตุผล สังคมทุนนิยมมีการพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็วทาให้เกิดการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติไปหมดไปในระยะเวลาอันสั้น ส่งผล ให้ธรรมชาติขาดสมดุล ทาให้เกิดภัยพิบัติที่ ร้ายแรงในทั่วทุกมุมของโลก ดังนั้นเราจึงต้อง นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามา บริหารจัดการ การใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติ ให้เกิดความสมดุลและยั่งยืนเพียงพอสาหรับ ทั้งปัจจุบันและอนาคต นอกจากนั้นยังต้อง ช่วยกันเพิ่มพื้นที่สีเขียวหรือการทาวนเกษตร เพื่อทดแทนป่าที่สูญเสียไปอีกยังเป็นการทา เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของมนุษย์ ความพอประมาณ ปัญหาหลักของสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น มากจากการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติที่มาก จนเกินพอดี ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมสูญเสียสมดุล หากเรามองกลับมาและย้อนดูให้เห็นถึงความ จาเป็นที่แท้จริงใช้เพียงแค่ให้พอตามความ จาเป็นไม่ใช่พอไปตามความอยากอย่าง เราก็ จะมีทรัพยากรธรรมชาติไว้ใช้ในระยะยาว การมีภูมิคุ้มกัน ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติช่วยรังสรรค์ความสุขมากมายให้แก่ มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้า ก๊าซ น้ามัน เราจึง ควรมีการวางแผนในการใช้งาน และมาตรการ ในการจัดการกับการใช้ที่มากจนเกินความพอดี นอกจากนั้นยังต้องมีการฟื้นฟูช่วยเหลือ ธรรมชาติในทางอ้อมเช่น การสร้างฝาย ปลูก ป่า เพื่อเป็นการช่วยเพิ่มอาหาร น้าและ ความชื้น ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญในการ เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ หลัก 3 ห่วง
  • 15. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ ความรู้ที่จะใช้ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมส่วนหนึ่ง คือ ความรู้ ในการปลูกป่าที่ถูกต้อง การชะลอและเก็บน้าโดยการสร้างฝาย เช่น การ ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก เป็นวิธีการเพิ่มจานวนป่าที่มั่นคงถาวร ง่ายและ ประหยัดในการดาเนินงาน ด้วยวิธีการ 3 วิธี คือ 1. ถ้าเลือกได้ที่เหมาะสมแล้ว ก็ทิ้งป่าไว้ตรงนั้น ไม่ต้องไปทาอะไรเลย ป่า จะเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นป่าสมบูรณ์ โดยไม่ต้องไปปลูกสักต้นเดียว 2. ไม่ไปรังแกป่าหรือตอแยต้นไม้ เพียงแต่คุ้มครองให้ขึ้นเองเท่านั้น 3. ในสภาพป่าเต็งรัง ป่าเสื่อมโทรมไม่ต้องทาอะไร เพราะตอไท้จะแตกกิ่ง ออกมาอีกถึงแม้ต้นไม่สวย แต่ก็เป็นต้นไม่ใหญ่ได้ คุณธรรม ปัญหาการตัดไม้ทาลายป่าส่วนใหญ่เกิดจากการละเมิดกฎหมาย และข้อตกลงที่เคยทาไว้ เรามีความซื่อสัตย์ สุจริต ไม้แอบลักลอบกระทา ปล่อยให้ธรรมชาติในส่วนที่ถูกอนุรักษ์อยู่อย่างปลอดภัย ใช้เฉพาะเท่าที่มี การแบ่งไว้ ก็จะทาให้ระบบนิเวศของป่ากลับเป็นปกติ
  • 16. เรื่องที่ 9 วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับการเกษตรกรรม การมีเหตุผล ในอดีตเกษตรกรส่วนใหญ่เริ่มทา การเกษตรเชิงเดี่ยวกันแทบทุกราย เนื่องจาก เลือกปลูกพืชตามที่ตลาดต้องการ ทาให้ได้ผล ผลิตเป็นจานวนมาก เมื่อเกษตรกรเห็นว่าการ ทาเกษตรแบบนี้ได้ผลกาไร จึงเริ่มใช้สารเคมี เข้าช่วยเพื่อที่จะทาให้ได้ผลผลิตที่มากขึ้น รูปทรงดูสวย โดยที่เกษตรกรเหล่านั้นไม่รู้มา ก่อนว่า การกระทาแบบนี้จะทาให้ดินเสื่อม คุณภาพ ไม่สามารถปลูกพืชอีกต่อไปได้ แล้วก็ ล้มละลายกันไปแทบทุกลาย แต่ก็ยังมี เกษตรกรบางกลุ่มได้หาวิธีมาแก้ไขปัญหา โดย การทาเกษตรผสมผสาน ปลูกพืชหลากหลาย ชนิด ดูแลรักษาและเพิ่มคุณภาพให้กับดิน ทา ให้เกษตรกรนั้นสามารถกลับมาปลูกพืชได้อีก ครั้ง และยังสามารถทารายได้ให้กับตัวเองได้ อีกด้วย ความพอประมาณ ในการทาเกษตรผสมผสาน สิ่งที่สาคัญ ก็คือการจัดสรรพื้นที่ในการปลูกพืช ให้สามารถ เลี้ยงชีพของตัวเองได้ คานึงถึงกาลังในการ ทางานของตนเองว่ากาลังของตนนั้นสามารถ ทาได้แค่ไหน ไม่ควรทาอะไรเกินตัวเช่น ปลูก พืชมากจนเกินไปจนทาให้ไม่สามารถดูแลได้ อย่างทั่วถึง ซึ่งขัดกับหลักการพอเพียงที่ควร ทาอะไรให้พอดีแก่ตัวเอง เพื่อที่จะได้ใช้ชีวิตได้ อย่างมีความสุขนั่นเอง การมีภูมิคุ้มกัน ในการทาการเกษตร ควรมีการ วางแผนที่แน่ชัด เมื่อปลูกพืชเพื่อเป็นผลผลิต ในการจาหน่ายแล้ว ก็ควรปลูกพืชผักสวนครัว ไว้รับประทานเองด้วย เพราะการทาเกษตร ผสมผสานนั้น ทาให้เกษตรกรสามารถผลิต อาหารเองได้ มีรายได้ที่แน่นอน มีเงินเก็บ และ มีสุขภาพที่ดี ถ้าหากวางแผนไว้ไม่ดี จะทาให้ เกิดผลเสียได้ หลัก 3 ห่วง
  • 17. หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ ความรู้ในหลายๆด้านเช่น ความรู้เกี่ยวกับดิน ความรู้ด้านจุลินทรีย์ ความรู้เรื่องนิสัยของพืชแต่ละชนิด ฯลฯ เกษตรกรทุกรายจาเป็นจะต้องมีไว้ เพื่อจะนามาใช้กับการทาเกษตรของตนเอง เช่น นามาทดลองเพื่อเพิ่ม คุณภาพของผลผลิต ปรับปรุงระบบการหมุนเวียนปลูกพืชเพื่อทาให้สามารถ ผลิตผลผลิตออกมาจาหน่ายหรือนามาบริโภคเองได้ทั้งปี คุณธรรม หลักของคุณธรรมจาเป็นต่อเกษตรกรอย่างมาก เกษตรกรที่ดีไม่ ควรมีความโลภมากจนเกินไป และหันไปใช้สารเคมีในการเพิ่มผลผลิตแทน ถึงแม้ตนเองจะได้เงินจารการจาหน่ายผลผลิตที่มากแต่กลับต้องแลกด้วย สุขภาพของตนเอง
  • 18. เรื่องที่ 10 การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ของปราชญ์ชาวบ้าน การมีเหตุผล ครูบาสุทธินันท์รู้จักสรุปบทเรียนความ ผิดพลาดของตนเอง โดยคานึกถึงคาสอบที่ว่า “การพึ่งตัวเอง” จึงได้ยุติการทาเกษตรเชิงเดี่ยว และใช้สารเคมีโดยสิ้นเชิง ความพอประมาณ ครูลดต้นทุนค่าปุ๋ ยโดยการเลี้ยงสัตว์ และให้สัตว์เหล่านั้นหากินเอง มูลของสัตว์ก็จะ เป็นปุ๋ยชั้นดี การมีภูมิคุ้มกัน ครูบาสุทธินันท์เลือกปลูกยูคาลิปตัส สลับกับไม้ยืนต้น การที่เลือกปลูกยูคาลิปตัส เพราะโตเร็ว สามารถให้รายได้ตั้งแต่ 3 ปี และ ไม่ตองดูแลรักษามาก หลัก 3 ห่วง หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ ครูบาสุทธินันท์เป็นคนที่เรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นนักค้นคว้า นักวิจัย นักทดลอง ใช้ความรู้ที่มีคิดวิธีป้องกันดินเสื่อม คิดค้นการเลี้ยงวัวด้วยหญ้า คุณธรรม ได้จัดตั้งโรงเรียนชุมชนอีสาน เพื่อสร้างชีวิตใหม่ให้เกษตรกร แสดง ถึงความมีน้าใจ ช่วยเหลือเพื่อนเกษตรกรด้วยกัน ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
  • 19. การมีเหตุผล หลังจากพ่อคาเดื่องติดหนี้ เครียด หัน ไปพึ่งอบายมุข จากนั้นก็คิดวางแผนลดต้นทุน และให้ได้ผลผลิตเท่าเดิมหรือมากยิ่งขึ้น ความพอประมาณ พ่อคาเดื่องลดการใช้ปุ๋ยไปครึ่งใน แต่ก็ ได้ผลผลิตเท่าเดิม จึงนาเงินส่วนที่เหลือนี้ไปใช้ หนี้ การมีภูมิคุ้มกัน พ่อคาเดื่องใช้เวลา 3 ปีในการทดลองว่าวิธี ปลูกข้าวของเขานั้นประสบความสาเร็วอย่าง แน่นอน ก่อนที่จะเผยแพร่ออกไป หลัก 3 ห่วง หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ พ่อคาเดื่องใช้วิธีคลุมต้นข้าวด้วยฟาง ที่เคยมีชาวญี่ปุ่นคนหนึ่งได้ เขียนบทความไว้ ว่าเป็นวิธีที่ได้ผลอย่างดี คุณธรรม หลังจากที่พ่อคาเดื่องค้นพบวิธีปลูกข้าวแล้ว พ่อก็ได้แนะนาวิธีนี้ ให้กับเกษตรกรทั่วไป พร้อมให้คาแนะนา แสดงถึงความมีน้าใจต่อเพื่อน เกษตรกรด้วยกัน พ่อคาเดื่อง ภาษี
  • 20. การมีเหตุผล การเริ่มต้นการทาเกษตรผสมผสาน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงถึงจะมีพื้นที่ มากแค่ไหน แต่ก็ต้องเริ่มจาก 1 อยู่ดี เพื่อเป็น การทดลองบุกเบิก ความพอประมาณ คุณสาเริงใช้พื้นที่ดินเพียงเล็กน้อย ใน การทาการเกษตร มีผักผลไม้ชนิดต่างๆ ไว้ใช้ ในครอบครัวและยังมีคนมารับซื้อไปขายอีก การมีภูมิคุ้มกัน คุณสาเริงมีหลักสาคัญในการทาเกษตร ประณีตคือการวางระบบน้าให้เหมาะสม การ ฟื้นฟูและเสริมธาตุอาหารในดิน และสุดท้ายการ เลือกพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับพื้นที่ 1 ไร หลัก 3 ห่วง หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ ได้มีการศึกษาการใช้ผักตบชวามาเลี้ยงสัตว์ และยังสามารถนามา คลุมดิน เพื่อกลายเป็นปุ๋ยชั้นดี และยังใช้น้ามันที่ได้จากพืชไปใช้กับ เครื่องยนต์ได้อีกด้วย คุณธรรม คุณสาเริงมีจิตใจที่ดีเมื่อตัวเองประสบความสาเร็จ ก็แนะนาคนอื่นที่ เข้ามาศึกษา แถมยังมีความขยันอดทน คิดค้นสิ่งต่างๆ มาพัฒนาการ เกษตรให้ดีขึ้น คุณสาเริง เย็นรัมย์
  • 21. การมีเหตุผล พ่อชาลีคิดว่าถ้าต้องการจะทา การเกษตรบนที่สูง โดยที่ไม่ต้องพึ่งฝนเพียง อย่างเดี๋ยว ต้องทาการขุดบ่อน้าขึ้น ความพอประมาณ หลังจากพ่อชาลีขุดพ่อน้าเสร็จก็ทาให้ มีปลา มีนาข้าว มีสวนผลไม้ ไว้กินกันใน ครอบครัว การมีภูมิคุ้มกัน พ่อชาลีมีความอดทนและมีปณิธานที่ แรงกล้า ที่จะสร้างบ่อปลา นาข้าว สวนผลไม้ใน ครอบครัว เป็นแรงหนุนชาติ หลัก 3 ห่วง หลัก 2 เงื่อนไข ความรู้ พ่อชาลีใช้ความรู้ ประสบการณ์จากการที่ตนเคยเป็นคนงานมาก่อน มาใช้ในการสร้างบ่อปลา คุณธรรม พ่อชาลีแสดงถึงจิตสาธารณะโดยการเพาะกล้าไม้ยืนต้น เพื่อ แจกจ่ายและร่วมมือกันปลูกป่า พ่อชาลี มาระแสง