SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
วิชาสังคมวิทยา 
วิชาสังคมวิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ 
· การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของมนุษย์กับสังคม 
· โดยมีการสนใจพฤติกรรมทางสังคมทุกด้าน 
จุดมุ่งหมายของสังคมวิทยา 
-การอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมเพื่อเข้าใจ “ธรรมชาติ” ของมนุษย์ 
-ใช้หลักวิทยาศาสตร์ค้นหาความจริง 
ประโยชน์ 
· เข้าใจมนุษย์ในฐานะเป็นสมาชิกของสังคม 
· เข้าใจ “สังคม” 
สังคมวิทยาศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กัน 
โดยมีสิ่งที่ทาหน้าที่ในการกาหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ ดังนี้ 
1. สถานภาพ เป็นตาแหน่งที่ได้จากการเป็นสมาชิกของกลมุ่ ประกอบด้วย 
- สิทธิ 
- หน้าที่ 
- สิ่งเฉพาะบุคคล 
- กาหนดความแตกต่างของสมาชิกในสังคม 
เช่น สถานภาพนิสิต , อาจารย์ 
- สถานภาพอาจจะติดตัวมาตัง้แต่กาเนิด หรือ ได้มาโดยความสามารถ 
2. บทบาทเป็นการปฏิบัติตามสถานภาพในสังคม 
เช่น สถานภาพนิสิต มีบทบาทเรียนหนังสือ
โครงสร้างของสังคม 
โครงสร้างทางสังคมประกอบด้วย 
1. สถานภาพและบทบาทของบุคคลในสังคม 
2. สถาบันทางสังคม 
องค์ประกอบของสถาบันทางสังคม 
1. สถานที่ หรือองค์การ 
2. บุคคล 
3. ระเบียบข้อบังคับ 
สถาบันทางสังคมหลัก 7 สถาบัน ได้แก่ 
1. ครอบครัว 
2. การศึกษา 
3. ศาสนา 
4. เศรษฐกิจ 
5. การเมืองการปกครอง 
6. นันทนาการ 
7. สื่อสารมวลชน 
การจัดระเบียบทางสังคม
การทาให้คนในสังคมอยู่รวมกัน อย่างมีระเบียบ ภายใต้แบบแผนกฎเกณฑ์เดียวกัน 
สิ่งที่ใชัในการจัดระเบียบในสังคม ได้แก่ 
1. ค่านิยม 
- รูปแบบความคิดติดอยู่ในใจ คนส่วนใหญ ่่ 
- เป็นแนวทางปฏิบัติ ประกอบด้วยค่านิยม 
.บุคคล 
.สังคม 
2. บรรทัดฐาน 
คือ รูปแบบพฤติกรรมที่สังคมวางไว้ เพื่อกาหนดแนวทางให้บุคคลปฏิบัติ 3 ประเภท ได้แก่ 
2.1 วิถีประชา ( Folkways ) : วิถีชาวบ้าน 
- ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นหลักเกณฑ์ในการดา เนินชีวิต 
2.2 จารีต ( Mores ): กฎศีลธรรม 
- สาคัญกว่าวิถีประชา ใครฝ่าฝืนมีความชั่ว และ ได้รับโทษ 
2.3 กฎหมาย ( laws ) : 
- บทบัญญัติ ถ้าละเมิดมีบทลงโทษ 
หน้าที่ของสังคม 
1. การรักษาความต่อเนื่องด้านชีวภาพของสมาชิกในสังคม
2. การขัดเกลา อบรม สั่งสอนสมาชิก (Socialization ) 
3. การติดต่อสื่อสาร 
4. ด้านเศรษฐกิจ 
5. จัดระเบียบ + รักษาความสงบ 
6. ผดุงขวัญและให้กาลังใจสมาชิก 
ปัจจัยที่ทาให้สังคมแตกต่างกัน 
1. ภูมิศาสตร์ 
2. ชีวภาพ 
3. สังคมและวัฒนธรรม 
วัฒนธรรม 
-เป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ในอาณาบริเวณหนึ่ง 
-เป็นพฤติกรรมไม่ใช่พันธุกรรม 
*จะต้องมีการเรียนรู้ 
-สืบทอดกันต่อไป 
*โดยอาศัยมนุษย์ 
*ใช้สัญลักษณ์เป็นสื่อ
ลักษณะร่วมของวัฒนธรรม 
1. จะต้องเรียนรู้ 
2. มรดกทางสังคม 
3. เปลี่ยนแปลงได้ 
4. มีจุดจบ / ตาย เช่น อาณาจักรต่างๆ 
องค์ประกอบของวัฒนธรรม 
1. องค์มติ ซึ่งเป็นแนวความคิดร่วม 
2. องค์พิธีการ 
3. องค์การ 
4. องค์วัตถุ 
หน้าที่ของวัฒนธรรม 
1. สร้างมนุษย์ โดยทาหน้าที่กาหนดเป้าหมาย 
2. ควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ 
สถาบันสังคมไทย 
1. สถาบันครอบครัว 
2. สถาบันการศึกษา 
3. ศาสนา 
4. การเมืองและการปกครอง
. นิติบัญญัติ . บริหาร . ตุลาการ , ศาล 
5. นันทนาการ 
6. เศรษฐกิจ 
การแบ่งชัน้ในสังคมไทย 
การแบ่งชัน้ในสังคมไทย จาแนกโดยใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้ 
1.วงศ์ตระกูล 
2. ทรัพย์สมบัติ / รายได้ 
3. อาชีพ 
4. การศึกษา 
5. ภูมิลาเนาที่พัก 
พัฒนาการของสังคมวิทยา 
· สังคมวิทยาพัฒนาขึน้มาเป็นสาขาหนึ่งแยกจากปรัชญาสังคมกลางศตวรรษที่19 
โดยเกิดขึน้ในยุโรป เนื่องจาก 
การเปลี่ยนแปลงมากมายจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ 
นักสังคมวิทยาที่สาคัญ 
ออกุสต์ คองต์ ( Auguste Comte ) 1798-1857 
- ตัง้ชื่อสังคมวิทยา ( Sociology )
เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ ( Herbert Spencer ) 1820-1903 
- นาวิธีการทางชีววิทยาอธิบายสังคม 
คาร์ล มาร์กซ์ ( Karl Marx ) 1818-1883 
- พืน้ฐานทางเศรษฐกิจมีความสาคัญต่อการดารงอยู่และการเปลยี่นแปลงทางสังคม 
- สังคมมีความขัดแย้ง ต้องเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ 
อีมิล เดอร์กไฮม์ ( Emile Durkheim ) 1858-1917 
- สมาชิกในสังคมอยู่เป็นระเบียบได้ : ความเชื่อ+ค่านิยมร่วมกัน เป็นระเบียบของสังคม 
- ส่วนต่างๆของสังคม มีหน้าที่ ( function ) ต่อการดารงอยู่ของสังคมโดยส่วนรวม 
- การฆ่าตัวตายของคนกลุ่มต่างๆขึน้กับพลังทางสังคม 
แมกซ์ เวเบอร์ ( Max Weber ) 1864-1920 
- ให้ความสาคัญกับพฤติกรรมของบุคคล 
- ความคิด ( Idea ) เป็นปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง 
ทฤษฏีหลักของสังคมวิทยา 
1. ทฤษฏีหน้าที่ ( Functionalism ) 
การพิจารณาส่วนต่างๆของสังคมแต่ละส่วน เช่น ครอบครัว ศาสนา การเมือง 
โดยศึกษาถึงหน้าที่ของส่วนต่างๆมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันเป็นสังคมทัง้หมดอย่างไร 
2. ทฤษฏีความขัดแย้ง (Conflict Theory ) 
- สังคมประกอบด้วยสมาชิกที่แบ่งแยกออกเป็นชนชัน้ต่างๆ 
- มีความสัมพันธ์ในลักษณะการถูกเอารัดเอาเปรียบ โดยมีผู้ที่เอารัดเอาเปรียบและผู้ที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ 
- สังคมเป็นระบบที่มีความขัดแย้งตลอดเวลา 
3. ทฤษฏีการกระทาตอบโต้ ( Interactionism ) 
- ความสัมพันธ์ต่อกันของคนในสังคมเป็นกระบวนการตอบโต้ซึ่งกันและกัน 
- มีความผันแปรอยู่เสมอตามสถานการณ์ 
- บุคคลเป็นผู้สร้าง หรือ กาหนดการกระทา ไม่ใช่ถูกกาหนดโดยโครงสร้างทางสังคม 
สังคมวิทยาในศตวรรษที่ 19 : ยุโรป 
- สนใจศึกษาสังคมใหญ่ทัง้สังคม 
- เพื่อเข้าใจระเบียบกฎเกณฑ์ + การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
- เสนอทฤษฏีกว้างๆ 
สังคมวิทยาในศตวรรษที่ 20 : สหรัฐอเมริกา 
- สนใจศึกษาปัญหาสังคมเฉพาะด้าน 
- สนปัญหาในทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมวิทยา สังคมไทย 
1.โครงสร้างทางสังคม 
- ธรรมชาติมนุษย์ : รวมกลุ่ม + ความสัมพันธ์ 
สังคมไทยมีการรวมกลุ่มกันของหลายชนชัน้ในอดีต มีความสัมพันธ์แบบเป็นกันเอง มีความเป็นอยู่ที่มีการเกือ้กูลกัน 
2.เศรษฐกิจ 
- วัตถุ เกิดชนชัน้ 
ระบบเศรษฐกิจของไทย ก่อให้เกิดความต้องการทางด้านวัตถุและชนชัน้มาเป็นเวลานาน 
ดังจะเห็นได้จากระบบขุนมูลนาย ระบบไพร่ทาส ในอดีต และระบบทุนนิยมในปัจจุบันที่ก่อให้ค่านิยมในด้านวัตถุ 
การให้ความสาคัญและเคารพนับถือผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจเป็นสาคัญ 
3.ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติ 
สังคมไทยในอดีตมีความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติว่าเป็นสงิ่ที่ไม่สามารถควบคุมได้ 
สังคมไทยในอดีตจึงมีการใช้ชีวิตที่กลมกลืนกับธรรมชาติมากกว่าการเอาชนะธรรมชาติ 
- ซึ่งความเชื่อของคนไทยได้แสดงออกในด้านศาสนาและไสยศาสตร์หรือพิธีกรรมควบคู่กันไป 
เป็นสิ่งที่ควบคุมมนุษย์ให้อยู่ร่วมกัน และเป็นที่มาของอานาจ 
โดยมีการกาหนดเป็นบรรทัดฐานร่วมกันจากความเชื่อในธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ อาทิ 
- ครอบครัว : ผีเรือน 
- ชุมชน,หมู่บ้าน : เสือ้บ้าน,หลักบ้าน 
- รัฐ : กษัตริย์ ( เทวราช,สมมติราช ) 
ลักษณะสังคมไทยในอดีต 
1. เชื่อในสิ่งนอกเหนือธรรมชาติ ความผูกพันในชีวิตและวัฒนธรรมคนไทย 
- ดินฟ้ าอากาศควบคุมไม่ได้ 
- ธรรมชาติมีจิตวิญญาณให้คุณให้โทษ 
- ประชากรหลายเผ่าพันธุ์ นาไปสู่การบูรณาการทางวัฒนธรรม 
2. การปกครอง หรือ ประชาธิปไตย 
- ผู้นา ผู้ปกครอง มีบุญ 
ยอมรับข้อขัดแย้ง ทาให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข
นอกจากนียั้งนาไปสู่ ระบบอุปถัมภ์ ในปัจจุบัน 
ลักษณะสาคัญของสังคมและวัฒนธรรมไทย 
เอกลักษณ์ไทย 
1. ยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์ 
2. สังคมพุทธ โดยแฝงความเชื่อวิญญาณ 
+ ลัทธิพราหมณ์ 
3. ยึดครอบครัว + เครือญาติ 
4. สังคมเสรี มีนา้ใจ สนุกสบาย 
คนไทย = ผู้มีจิตใจยิ่งใหญ่ เสรี 
+ ไม่เป็นรองใคร 
5. พืน้ฐานเศรษฐกิจ เกษตรกรรม 
6. ยกย่องผู้มีความรู้ ความสามารถ 
7. ความงดงามอ่อนช้อยของศิลปะไทย 
8. เมืองหลวง เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม , ความรุ่งเรือง นาไปสู่ปัญหาต่าง ๆ 
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 
สาเหตุ . ในระบบ .นอกระบบ 
การเปลี่ยนแปลงสังคมวัฒนธรรมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทย ประกอบด้วย 
. ขนาดกลุ่มคน 
. โครงสร้างสังคม 
. วัฒนธรรม + พฤติกรรม 
การเปรียบเทียบค่านิยมไทย และ ตะวันตก 
ดัง้เดิมไทย ตะวันตก 
1.นับถือบุคคล 1.นับถือหลักการ 
2. นิยมความสนุกสนาน 2.นิยมทางานหนัก 
3.ใช้จ่ายทรัพย์ปัจจุบัน 3. ออมทรัพย์เพื่อลงทุน 
4. ทาบุญให้ทาน 4.ไม่นิยมให้ + ขอ 
5.นิยมทางสายกลาง 5.ความรุนแรง + เข้มงวด 
6.ถือตนเองเป็นสาคัญ 6.ถือกฎหมาย +ระเบียบ 
การยอมรับแนวคิดของตะวันตก ( พ.ศ. 2505 ) 
- การเปลี่ยนแปลงบ้านเมืองให้ทันสมัย (แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชน์) 
กระตุ้นให้เกิดความต้องการด้านวัตถุ 
- อิทธิพลของการศึกษามีเหตุผลเป็นวิทยาศาสตร์ 
ควบคุมสภาพแวดล้อม + จักรวาลด้วยเทคโนโลยี 
เกิดความขัดแย้งความเชื่อทางศาสนา + การทาตัวให้กลมกลืนกับธรรมชาติ +
จักรวาลหายไป 
วิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยมเสรีครอบงาประเทศ 
1. ช่องว่างการแย่งทรัพยากรระหว่างกลุ่มบุคคล 
2. การทาลายสภาพแวดล้อม + ระบบนิเวศน์ 
3. การโยกย้ายถิ่นฐาน 
4. การฆ่าตัวเองทางวัฒนธรรม 
เดิม 
โครงสร้างสังคม 
ใหม่ 
โครงสร้างทางสังคม 
- ความสัมพันธ์พี่น้อง เครือญาติ มิตร 
- เคารพผู้อาวุโส 
- เป็นกันเองอย่างเสมอภาค 
- ความสัมพันธ์ความแตกต่าง ชนชัน้สูง-ต่า 
พิจารณาจากฐานะทางเศรษฐกิจเป็นสาคัญ 
- ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มั่งคงั่ และมีอานาจกับผู้ที่ต้องพึ่งพาอาศัย 
5. เกิดกลุ่มผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง ซึ่งยุติโดยวิถีทางการเมือง 
6. การบิดเบือนกฎหมายบ้านเมืองขาดความเป็นธรรม 
สังคมที่ละเมิด ท้าทายกฏหมาย 
7. ปัจเจกบุคคลสุดโต่ง ค่านิยมทางวัตถุ 
8. คุณค่าในความเป็นมนุษย์น้อยลง 
9. ความเชื่อในทางศาสนา คุณธรรม ศีลธรรมหมดไป หรือลดน้อยลง 
พฤติกรรมเบยี่งเบน + อาชญากรรมมากขึน้ 
ขัดแย้ง : คนรวย อานาจมาก มีทัศนคติที่จะต้องเป็นผู้ที่ได้เสมอ 
ในขณะที่คนจน ไม่ยอมรับความจน ต่าต้อยอีกต่อไป 
โดยอาจหันไปกระทาผิดเพื่อเป็นที่ยอมรับในสังคมมากขึน้ ตามค่านิยมของสังคมที่ให้ความสาคัญต่อวัตถุนิยม 
10. คนในสังคมถูกหล่อหลอมจากลัทธิความเชื่อทุนนิยมเสรี 
ปัญหาสังคมไทย
จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมไทย อาทิ การเน้นการพัฒนาประเทศโดยดังได้กล่าวข้างต้น 
โดยเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม และการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ ตลอดจนการรับแนวคิด ค่านิยมของตะวันตก 
โดยไม่ได้มีการปรับให้เหมาะสมกับสภาพของสังคมไทยอย่างแท้จริง ก่อให้ประเทศไทยต้องประสบปัญหาสังคมมากมาย 
ดังนี้ 
1.การเปลี่ยนแลงทางเทคโนโลยี + สังคม ก่อให้เกิดปัญหาการปรับตัว 
ภาวะความแปลกแยก 
. สิน้หวัง 
. สังคมที่เต็มไปด้วยคนที่มีกิเลส และความต้องการด้านวัตถุ 
. ความเหลื่อมลา้ที่ไม่เท่าเทียมกันและความยากจน 
. ปัญหาคุณภาพชีวิต 
. การอพยพย้ายถิ่นของคน จากชนบทมาสู่สังคมเมือง 
. ปัญหาการว่างงาน 
. ปัญหาการเพิ่มของประชากร 
. สภาวะแวดล้อมเสื่อมโทรม 
. อุบัติเหตุ อุบัติภัย 
. ผู้สูงอายุถูกทอดทิง้ 
. ชุมชนแออัด 
. ความไม่เป็นระเบียบของสังคม 
. ปัญหาโสเภณี
. ปัญหายาเสพติด 
. วิกฤตนักโทษล้นคุก 
. ปัญหาการขาดสงิ่ยึดเหนี่ยวทางใจ 
. ปัญหาศีลธรรม 
. ปัญหาเศรษฐกิจ 
. ปัญหาสุขภาพอนามัย 
เช่น เอดส์ 
. ปัญหาพฤติกรรมเบยี่งเบน และปัญหาอาชญากรรม 
ปัญหาดังกล่าวข้างต้นล้วนแล้วแต่ทาให้สังคมขาดความเป็นระเบียบ 
คนในสังคมขาดความสุขในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 
และการพัฒนาประเทศอย่างแท้จริง 
สรุปได้ว่า สังคมวิทยา พฤติกรรมเบยี่งเบนและอาชญากรรม จึงมีความสัมพันธ์กัน 
. สังคมวิทยา ศึกษาสังคม และพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมที่อยู่ร่วมกัน โดยมีบรรทัดฐานในการกาหนดการปฏิบัติ 
หรือพฤติกรรมของคนในสังคม ซึ่งหากมีสมาชิกในสังคมมีการละเมิดบรรทัดฐาน พฤติกรรมดังกล่าว เรียกว่า 
พฤติกรรมเบยี่งเบน ซึ่งจะมีลักษณะของการละเมิดบรรทัดฐานเพียงเล็กน้อยไม่มีความรุนแรง 
ไปจนกระทั่งการละเมิดกฎหมาย ซึ่งเรียกว่า อาชญากรรม 
ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวจะทาให้สังคมขาดความเป็นระเบียบนาไปสู่ปัญหาต่างๆ 
อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของสังคม
วัฒนธรรมและประเพณีไทย 
การที่มนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นกลมุ่เป็นสังคมขึน้มาย่อมต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลมุ่มีระเบียบแบบแผนที่ค 
วบคุมพฤติกรรมของบุคคลในกลมุ่ให้อยู่ในขอบเขตที่จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสงบสุข 
สิ่งที่เป็นเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของกลุ่มคนนีเ้ราเรียกว่า "วัฒนธรรม" ดังนัน้ 
วัฒนธรรมจึงเปรียบเสมือนอาภรณ์ห่อหุ้มร่างกายตกแต่งคนให้น่าดูชม วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ต้องควบคู่กับคนเสมอไป 
"วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมกลมุ่ใดกลมุ่หนึ่ง 
หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง มนุษย์ได้คิดสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ใช้ในการปฏิบัติ การจัดระเบียบตลอดจนระบบความเชื่อ 
ค่านิยม ความรู้ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ" 
"วัฒนธรรมคือความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ หรือลักษณะประจาชนกลมุ่ใดกลมุ่หนึ่งที่อยู่ในสังคม 
ซึ่งไม่เพียงแต่จะหมายถึงความสาเร็จในด้านศิลปกรรมหรือมารยาททางสังคมเท่านัน้ กล่าวคือ 
ชนทุกกลุ่มต้องมีวัฒนธรรม ดังนัน้ เมื่อมีความแตกต่างระหว่างชนแต่ละกลมุ่ ก็ย่อมมีความแตกต่างทางวัฒนธรรมนั่นเอง 
เช่น ชาวนาจีน กับชาวนาในสหรัฐอเมริกา ย่อมมีความแตกต่างกัน 
"วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือผลิตสร้างขึน้ เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีชีวิตและส่วนรวม 
วัฒนธรรมคือวิถีแห่งชีวิตของมนุษย์ในส่วนร่วมที่ถ่ายทอดกันได้ เรียนกันได้ เอาอย่างกันได้ 
วัฒนธรรมจึงเป็นผลผลิตของส่วนร่วมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนสมัยก่อน สืบต่อกันมาเป็นประเพณี 
วัฒนธรรมจึงเป็นทัง้ความคิดเห็นหรือการกระทาของมนุษย์ในส่วนร่วมที่เป็นลักษณะเดียวกัน 
และสาแดงให้ปรากฏเป็นภาษา ความเชื่อ ระเบียบประเพณี 
พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติพุทธศักราช 2485 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2486 
ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมไว้ดังนี้ 
วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ 
และศีลธรรมอันดีของประชาชน 
วัฒนธรรมจึงเป็นลักษณะพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ 
ทัง้บุคคลและสังคมที่ได้วิวัฒนาการต่อเนื่องมาอย่างมีแบบแผน 
แต่อย่างไรก็ดีมนุษย์นัน้ไม่ได้เกาะกลมุ่อยู่เฉพาะในสังคมของตนเอง ได้มีความสัมพันธ์ติดต่อกับสังคมต่างๆ 
ซึ่งอาจอยู่ใกล้ชิดมีพรมแดนติดต่อกัน หรือยู่ปะปนในสถานที่เดียวกันหรือ 
การที่ชนชาติหนึ่งตกอยู่ใต้การปกครองของชนชาติหนึ่ง มนุษย์เป็นผู้รู้จักเปลี่ยนแปลงปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ
จึงนาเอาวัฒนธรรมที่เห็นจากได้สัมพันธ์ติดต่อมาใช้โดยอาจรับมาเพิ่มเติมเป็นวัฒนธรรมของตนเองโดยตรงหรือนาเอามา 
ดัดแปลงแก้ไขให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพวัฒนธรรมที่มีอยู่เดิม 
ในปัจจุบันนีจึ้งไม่มีประเทศชาติใดที่มีวัฒนธรรมบริสุทธิ์อย่างแท้จริง แต่จะมีวัฒนธรรมที่มีพืน้ฐานมาจากความรู้ 
ประสบการณ์ที่สังคมตกทอดมาโดยเฉพาะของสังคมนัน้ และจากวัฒนธรรมแหล่งอื่นที่เข้ามาผสมปะปนอยู่ 
และวัฒนธรรมไทยก็มีแนวทางเช่นนี้ 
ความสาคัญของวัฒนธรรม 
วัฒนธรรมเป็นเรื่องที่สาคัญยงิ่ในความเป็นชาติ ชาติใดที่ไร้เสียซึ่งวัฒนธรรมอันเป็นของตนเองแล้ว 
ชาตินัน้จะคงความเป็นชาติอยู่ไม่ได้ ชาติที่ไร้วัฒนธรรม แม้จะเป็นผู้พิชิตในการสงคราม 
แต่ในที่สุดก็จะเป็นผู้ถูกพิชิตในด้านวัฒนธรรม ซึ่งนับว่าเป็นการถูกพิชิตอย่างราบคาบและสิน้เชิง 
ทัง้นีเ้พราะผู้ที่ถูกพิชิตในทางวัฒนธรรมนัน้จะไม่รู้ตัวเลยว่าตนได้ถูกพิชิต เช่น พวกตาดที่พิชิตจีนได้ 
และตัง้ราชวงศ์หงวนขึน้ปกครองจีน แต่ในที่สุดถูกชาวจีนซึ่งมีวัฒนธรรมสูงกว่ากลืนจนเป็นชาวจีนไปหมดสิน้ 
ดังนัน้จึงพอสรุปได้ว่า วัฒนธรรมมีความสาคัญดังนี้ 
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชีแ้สดงให้เห็นความแตกต่างของบุคคล กลุ่มคน หรือชุมชน 
เป็นสิ่งที่ทาให้เห็นว่าตนมีความแตกต่างจากสัตว์ 
ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เรามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นนัน้ขึน้อยู่กับวัฒนธรรมของกลมุ่ชน 
ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรม เช่น ชาวเกาะซามัวมองเห็นดวงจันทร์ว่ามีหญิงกาลังทอผ้า 
ชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กาลังมองหาเหยอื่ ชาวไทยมองเห็นเหมือนรูปกระต่าย 
วัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดปัจจัย 4 เช่น เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่อาศัย การรักษาโรค 
วัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดการแสดงความรู้สึกทางอารมณ์ และการควบคุมอารมณ์ เช่น 
ผู้ชายไทยจะไม่ปล่อยให้นา้ตาไหลต่อหน้าสาธารณะชนเมื่อเสียใจ 
เป็นตัวกาหนดการกระทาบางอย่าง ในชุมชนว่าเหมาะสมหรือไม่ 
ซึ่งการกระทาบางอย่างในสังคมหนึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเหมาะสมแต่ไม่เป็นที่ยอมรับในอีกสังคมหนึ่ง 
จะเห็นได้ว่าผู้สร้างวัฒนธรรมคือมนุษย์ และสังคมเกิดขึน้ก็เพราะ มนุษย์ วัฒนธรรมกับสังคมจึงเป็นสิ่งคกูั่น 
โดยแต่ละสังคมย่อมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมีขนาดใหญ่หรือมีความซับซ้อน มากเพียงใด 
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมมักจะมีมากขึน้เพียงใดนัน้วัฒนธรรมต่าง ๆ 
ของแต่ละสังคมอาจเหมือนหรือต่างกันสืบเนื่องมาจากความแตกต่างทางด้านความเชื่อ เชือ้ชาติ ศาสนาและถิ่นที่อยู่ 
เป็นต้น 
ลักษณะของวัฒนธรรม 
เพื่อที่จะให้เข้าใจถึงความหมายของคาว่า "วัฒนธรรม" ได้อย่างลึกซึง้ จึงขออธิบายถึงลักษณะของวัฒนธรรม 
ซึ่งอาจแยกอธิบายได้ดังต่อไปนี้
วัฒนธรรมเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ ตรงที่มีการรู้จักคิด มีการเรียนรู้ 
จัดระเบียบชีวิตให้เจริญ อยู่ดีกินดี มีความสุขสะดวกสบาย รู้จักแก้ไขปัญหา 
ซึ่งแตกต่างไปจากสัตว์ที่เกิดการเรียนรู้โดยอาศัยความจาเท่านัน้ 
วัฒนธรรมเป็นมรดกของสังคม เนื่องจากมีการถ่ายทอดการเรียนรู้ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนรุ่นหนึ่ง 
ทัง้โดยทางตรงและโดยทางอ้อม โดยไม่ขาดช่วงระยะเวลา และ มนุษย์ใช้ภาษาในการถ่ายทอดวัฒนธรรม 
ภาษาจึงเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ถ่ายทอดวัฒนธรรมนั่นเอง 
วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิต หรือเป็นแบแผนของการดาเนินชีวิตของ มนุษย์ 
มนุษย์เกิดในสังคมใดก็จะเรียนรู้และซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่ ดังนัน้ 
วัฒนธรรมในแต่ละสังคมจึงแตกต่างกัน 
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่คงที่ มนุษย์มีการคิดค้นประดิษฐ์สิ่งใหม่ ๆ และ 
ปรับปรุงของเดิมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อความเหมาะสม และความอยู่ รอดของสังคม เช่น 
สังคมไทยสมัยก่อนผู้หญิงจะทางานบ้าน ผู้ชายทางานนอกบ้าน เพื่อหาเลีย้ง ครอบครัว 
แต่ปัจจุบันสภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป ทาให้ผู้หญิงต้องออกไปทางานนอกบ้าน เพื่อหา รายได้มาจุนเจือครอบครัว 
บทบาทของผู้หญิงในสังคมไทยจึงเปลี่ยนแปลงไป 
หน้าที่ของวัฒนธรรม 
วัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดรูปแบบของสถาบัน ซึ่งมีลักษณะแตกต่าง กันไปในแต่ละสังคม เช่น 
วัฒนธรรมอิสลามอนุญาตให้ชาย (ที่มีความสามารถเลีย้งดูและ ให้ความ ยุติธรรมแก่ภรรยา) มีภรรยาได้มากกว่า 1 คน 
โดยไม่เกิด 4 คน แต่ห้ามสมสู่ ระหว่าง เพศเดียว กัน อย่างเด็ดขาด ในขณะที่ศาสนาอื่นอนุญาตให้ชายมีภรรยาได้เพียง 1 
คน แต่ไม่มีบัญญัติห้าม ความสัมพันธ์ระหว่างเพศเดียวกัน ฉะนัน้รูปแบบของสถาบันครอบครัวจึงอาจแตกต่างกันไป 
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่กาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมของคน จะเป็นเช่นไรก็ขึน้อยู่กับวัฒนธรรมของกลมุ่สังคมนัน้ ๆ 
เช่น วัฒนธรรมในการพบปะทักทายของ ไทย ใช้ในการสวัสดีของชาวตะวันตกทั่วไปใช้ในการสัมผัสมือ 
ของชาวทิเบตใช้การแลบลิน้ ของชาว มุสลิมใช้การกล่าวสลาม เป็นต้น 
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ควบคุมสังคม สร้างความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ให้แก่สังคม เพราะในวัฒนธรรมจะมีทัง้ความศรัทธา 
ความเชื่อ ค่านิยม บรรทัดฐาน เป็นต้น ตลอดจน ผลตอบแทนในการปฏิบัติและบทลงโทษเมื่อฝ่าฝืน 
ฉะนัน้จึงกล่าวได้ว่า ถ้าหากเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรมดีแล้ว จะทาให้ สามารถเข้าใจพฤติกรรมต่าง ๆ 
ของคนในแต่ละสังคมได้อย่างถูกต้อง 
ที่มาของวัฒนธรรมไทย 
วัฒนธรรมไทยมีที่มาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ 
สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ 
เนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะทางด้านภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่มและอุดมสมบูรณ์ด้วยแม่นา้ลาคลอง 
คนไทยได้ใช้นา้ในแม่นา้ ลาคลอง ในการเกษตรกรรมและการอาบ กิน เพราะฉะนัน้เมื่อถึงเวลาหน้านา้ คือ เพ็ญเดือน 11 
และเพ็ญ เดือน 12 ซึ่งอยู่ในห้วงเวลาปลายเดือนตุลาคมและปลายเดือนพฤศจิกายน อันเป็นระยะเวลา ที่
นา้ไหลหลากมาจากทางภาคเหนือของประเทศ คนไทยจึงจัดทากระทงพร้อม ด้วยธูปเทียนไปลอย ในแม่นา้ลาคลอง 
เพื่อเป็นการขอขมาลาโทษแม่คงคา และขอพรจากแม่คงคา เพราะได้อาศัยนา้กิน นา้ใช้ ทาให้เกิด "ประเพณีลอยกระทง" 
นอกจากนัน้ยังมีประเพณีอื่น ๆ อีกในส่วนที่เกี่ยวกับ แม่นา้ลาคลอง เช่น "ประเพณีแข่งเรือ" 
ระบบการเกษตรกรรม สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม (agrarian society) กล่าวคือ ประชากรร้อยละ 80 
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า คนไทยส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตผูกพันกับระบบการเกษตรกรรม 
และระบบการเกษตรกรรมนีเ้อง ได้เป็น ที่มาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณีขอฝน ประเพณีลงแขก 
และการละเล่น เต้นการาเคียว เป็นต้น 
ค่านิยม (Values) กล่าวได้ว่า "ค่านิยม" มีความเกี่ยวพันกับ วัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด และ "ค่านิยม" 
บางอย่างได้กลายมาเป็น "แกน" ของวัฒนธรรมไทยกล่าวคือ 
วิถีชีวิตของคนไทยโดยส่วนรวมมีเอกลักษณ์ซึ่งแสดงออกถึงอิสรภาพและเสรีภาพ 
การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม (Cultural diffusion) วัฒนธรรมทาง หนึ่ง ย่อม แตกต่างไปจากวัฒนธรรมทางสังคมอื่น ๆ 
ทัง้นีเ้พราะวัฒนธรรมมิได้เกิดขึน้มาใน ภาชนะ ที่ถูกผนึกตราบเท่าที่มนุษย์ เช่น นักท่องเที่ยว พ่อค้า ทหาร 
หมอสอนศาสนา และผู้อพยพยังคง ย้ายถิ่นที่อยู่จากแห่งหนึ่งไปยังแห่งอื่น ๆ 
เขาเหล่านัน้มักนาวัฒนธรรมของพวกเขาติดตัว ไปด้วย เสมอ ซึ่งถือได้ว่า เป็นการเผยแพร่ทางวัฒนธรรม 
เป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วและกว้างขวาง ประจักษ์ พยานในเรื่องนีจ้ะเห็นได้ว่านา้อัดลมชื่อต่าง ๆ มีอยู่ทั่วทุกมุมโลก 
วัฒนธรรมของสังคมอื่น ซึ่งได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทยก็คือ 
วัฒนธรรมไทย หมายถึง วิถีชีวิตของคนไทยในสังคมไทย 
ซึ่งเป็นแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ดีงานและการแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่างๆ 
ที่สมาชิกในสังคมไทยสามารถรู้ เข้าใจ ซาบซึง้ ยอมรับ และใช้ปฏิบัติร่วมกันในสังคมไทย ได้แก่ 
1. ภาษาและวัฒนธรรม หมายถึง 
ภาษาไทยที่ใช้ในการพูดและการเขียนรวมทัง้งานประพันธ์ที่สร้างสรรค์ที่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลา 
ยลักษณ์อักษร 
2. มารยาท หมายถึง การประพฤติ ปฏิบัติระหว่างบุคคลต่อบุคคลที่สังคมยอมรับ ได้แก่ มารยาททางกาย 
และมารยาททางวาจา 
3. การแต่งกาย หมายถึง เครื่องนุ่งห่มที่แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย 
4. ประเพณีและพิธีทางศาสนา หมายถึง กิจกรรมที่ปฏิบัติในวันสาคัญต่างๆ 
5. ศิลปกรรม หมายถึง งานศิลปหัตถกรรม จิตกรรม สถาปัตยกรรม และประติมากรรม 
6. การแสดงและการละเล่น หมายถึง การละเล่นและของเล่นของไทย ดนตรีไทย เพลงไทยประเภทต่างๆ 
และศิลปะการแสดงของไทย 
การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย หมายถึง 
ลักษณะการดา เนินงานของผู้บริหารและครูในด้านบริหารและด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อปลูกฝังวัฒนธรรมไท 
ยในด้านต่างๆ ให้แก่เด็ก ได้แก่
1. ด้านบริหาร หมายถึง การวางแผน เตรียมงานและปฏิบัติงานด้านนโยบาย หลักสูตร บุคลากร 
สภาพแวดล้อมและงบประมาณในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 
2. นโยบาย หมายถึง 
หลักและแนวทางปฏิบัติซึ่งถือเป็นแนวดาเนินการในการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 
3. หลักสูตร หมายถึง เนือ้หา สาระเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 
4. บุคลากร หมายถึง ผู้บริหาร ครูในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 
กรุงเทพมหานคร 
5. สภาพแวดล้อม หมายถึง 
ลักษณะการจัดสภาพแวดล้อมทัง้ภายในและภายนอกห้องเรียนที่ช่วยในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 
6. งบประมาณ หมายถึง เงินที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในโรงเรียนอนุบาล 
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร 
ด้านการจัดการประสบการณ์การเรียนรู้ หมายถึง 
กระบวนการจัดให้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่วางเอาไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 
1. การวางแผนและเตรียมการสอน หมายถึง การเตรียมการในการสอน รวมทัง้การจัดทาแผนการสอนระยะสัน้ 
ระยะยาวสา หรับวัฒนธรรมไทยในด้านต่างๆ 
2. การจัดกิจกรรม หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมที่ใช้ในการสอนวัฒนธรรมไทยด้านต่างๆ ในช่วงเวลาเรียน 
3. การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ หมายถึง กิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึน้นอกเหนือจากกิจกรรมในช่วงเวลาเรียน 
4. สภาพแวดล้อมภายใน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมบรรยากาศต่างๆ 
ภายในห้องเรียนรวมทัง้สื่อการสอนต่างๆ ที่ช่วยในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 
5. การวัดและประเมินผล หมายถึง การสรุปผลและวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม 
ซึ่งผู้วิจัยได้นาการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในโรงเรียนอนุบาล 
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร 
ไปสอบถามและสังเกตการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยของผู้บริหารและครูที่สอนในระดับชัน้อนุบาล 1- 
อนุบาล 3 ที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งการปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็กมีความสาคัญมาก 
เพราะเด็กอนุบาลจะต้องใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียน ดังนัน้ครูจะต้องเป็นผู้ปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็ก 
ซึ่งการจัดกิจกรรมเพอื่ปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็กครูจะต้องจัดเข้าไปกับการเรียนการสอน เช่น การเล่านิทาน 
ครูก็ต้องเลือกนิทานที่มีรูปภาพประกอบ เนือ้หาเกี่ยวกับวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม 
ก็จะทาให้เด็กเรียนรู้และซึมซับวัฒนธรรมต่างๆ โดยที่เด็กได้รับความสนุกสนานอีกด้วย 
สามารถสรุปได้ว่าการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในโรงเรียนอนุบาล 
ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก คือ ครูต้องการปลูกฝังวัฒนธรรมใดให้กับเด็ก 
ครูก็ต้องปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างให้เด็กดูก่อน 
และครูสามารถจัดกิจกรรมเพอื่ปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็กได้ตลอดทัง้วันที่มีการเรียนการสอน 
ก็จะทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ซึมซับ และซาบซึง้ในวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย 
ซึ่งสิ่งที่ครูสอนเหล่านีเ้ท่ากับว่าเป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่คนรุ่นหลัง และสืบทอดวัฒนธรรมไทยต่อไป...

More Related Content

Similar to วิชาสังคมวิทยา 002

มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..KoNg KoNgpop
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรมthnaporn999
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479CUPress
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479CUPress
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมChalit Arm'k
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
สัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comteสัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comteSani Satjachaliao
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอsuperglag
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอsuperglag
 

Similar to วิชาสังคมวิทยา 002 (20)

Devian theories
Devian theoriesDevian theories
Devian theories
 
มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
สัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comteสัปดาห์ที่ 7 auguste comte
สัปดาห์ที่ 7 auguste comte
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอ
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 

วิชาสังคมวิทยา 002

  • 1. วิชาสังคมวิทยา วิชาสังคมวิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับ · การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของมนุษย์กับสังคม · โดยมีการสนใจพฤติกรรมทางสังคมทุกด้าน จุดมุ่งหมายของสังคมวิทยา -การอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมเพื่อเข้าใจ “ธรรมชาติ” ของมนุษย์ -ใช้หลักวิทยาศาสตร์ค้นหาความจริง ประโยชน์ · เข้าใจมนุษย์ในฐานะเป็นสมาชิกของสังคม · เข้าใจ “สังคม” สังคมวิทยาศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมซึ่งมีความสัมพันธ์กัน โดยมีสิ่งที่ทาหน้าที่ในการกาหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ ดังนี้ 1. สถานภาพ เป็นตาแหน่งที่ได้จากการเป็นสมาชิกของกลมุ่ ประกอบด้วย - สิทธิ - หน้าที่ - สิ่งเฉพาะบุคคล - กาหนดความแตกต่างของสมาชิกในสังคม เช่น สถานภาพนิสิต , อาจารย์ - สถานภาพอาจจะติดตัวมาตัง้แต่กาเนิด หรือ ได้มาโดยความสามารถ 2. บทบาทเป็นการปฏิบัติตามสถานภาพในสังคม เช่น สถานภาพนิสิต มีบทบาทเรียนหนังสือ
  • 2. โครงสร้างของสังคม โครงสร้างทางสังคมประกอบด้วย 1. สถานภาพและบทบาทของบุคคลในสังคม 2. สถาบันทางสังคม องค์ประกอบของสถาบันทางสังคม 1. สถานที่ หรือองค์การ 2. บุคคล 3. ระเบียบข้อบังคับ สถาบันทางสังคมหลัก 7 สถาบัน ได้แก่ 1. ครอบครัว 2. การศึกษา 3. ศาสนา 4. เศรษฐกิจ 5. การเมืองการปกครอง 6. นันทนาการ 7. สื่อสารมวลชน การจัดระเบียบทางสังคม
  • 3. การทาให้คนในสังคมอยู่รวมกัน อย่างมีระเบียบ ภายใต้แบบแผนกฎเกณฑ์เดียวกัน สิ่งที่ใชัในการจัดระเบียบในสังคม ได้แก่ 1. ค่านิยม - รูปแบบความคิดติดอยู่ในใจ คนส่วนใหญ ่่ - เป็นแนวทางปฏิบัติ ประกอบด้วยค่านิยม .บุคคล .สังคม 2. บรรทัดฐาน คือ รูปแบบพฤติกรรมที่สังคมวางไว้ เพื่อกาหนดแนวทางให้บุคคลปฏิบัติ 3 ประเภท ได้แก่ 2.1 วิถีประชา ( Folkways ) : วิถีชาวบ้าน - ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นหลักเกณฑ์ในการดา เนินชีวิต 2.2 จารีต ( Mores ): กฎศีลธรรม - สาคัญกว่าวิถีประชา ใครฝ่าฝืนมีความชั่ว และ ได้รับโทษ 2.3 กฎหมาย ( laws ) : - บทบัญญัติ ถ้าละเมิดมีบทลงโทษ หน้าที่ของสังคม 1. การรักษาความต่อเนื่องด้านชีวภาพของสมาชิกในสังคม
  • 4. 2. การขัดเกลา อบรม สั่งสอนสมาชิก (Socialization ) 3. การติดต่อสื่อสาร 4. ด้านเศรษฐกิจ 5. จัดระเบียบ + รักษาความสงบ 6. ผดุงขวัญและให้กาลังใจสมาชิก ปัจจัยที่ทาให้สังคมแตกต่างกัน 1. ภูมิศาสตร์ 2. ชีวภาพ 3. สังคมและวัฒนธรรม วัฒนธรรม -เป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ในอาณาบริเวณหนึ่ง -เป็นพฤติกรรมไม่ใช่พันธุกรรม *จะต้องมีการเรียนรู้ -สืบทอดกันต่อไป *โดยอาศัยมนุษย์ *ใช้สัญลักษณ์เป็นสื่อ
  • 5. ลักษณะร่วมของวัฒนธรรม 1. จะต้องเรียนรู้ 2. มรดกทางสังคม 3. เปลี่ยนแปลงได้ 4. มีจุดจบ / ตาย เช่น อาณาจักรต่างๆ องค์ประกอบของวัฒนธรรม 1. องค์มติ ซึ่งเป็นแนวความคิดร่วม 2. องค์พิธีการ 3. องค์การ 4. องค์วัตถุ หน้าที่ของวัฒนธรรม 1. สร้างมนุษย์ โดยทาหน้าที่กาหนดเป้าหมาย 2. ควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ สถาบันสังคมไทย 1. สถาบันครอบครัว 2. สถาบันการศึกษา 3. ศาสนา 4. การเมืองและการปกครอง
  • 6. . นิติบัญญัติ . บริหาร . ตุลาการ , ศาล 5. นันทนาการ 6. เศรษฐกิจ การแบ่งชัน้ในสังคมไทย การแบ่งชัน้ในสังคมไทย จาแนกโดยใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1.วงศ์ตระกูล 2. ทรัพย์สมบัติ / รายได้ 3. อาชีพ 4. การศึกษา 5. ภูมิลาเนาที่พัก พัฒนาการของสังคมวิทยา · สังคมวิทยาพัฒนาขึน้มาเป็นสาขาหนึ่งแยกจากปรัชญาสังคมกลางศตวรรษที่19 โดยเกิดขึน้ในยุโรป เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงมากมายจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ นักสังคมวิทยาที่สาคัญ ออกุสต์ คองต์ ( Auguste Comte ) 1798-1857 - ตัง้ชื่อสังคมวิทยา ( Sociology )
  • 7. เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ ( Herbert Spencer ) 1820-1903 - นาวิธีการทางชีววิทยาอธิบายสังคม คาร์ล มาร์กซ์ ( Karl Marx ) 1818-1883 - พืน้ฐานทางเศรษฐกิจมีความสาคัญต่อการดารงอยู่และการเปลยี่นแปลงทางสังคม - สังคมมีความขัดแย้ง ต้องเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติ อีมิล เดอร์กไฮม์ ( Emile Durkheim ) 1858-1917 - สมาชิกในสังคมอยู่เป็นระเบียบได้ : ความเชื่อ+ค่านิยมร่วมกัน เป็นระเบียบของสังคม - ส่วนต่างๆของสังคม มีหน้าที่ ( function ) ต่อการดารงอยู่ของสังคมโดยส่วนรวม - การฆ่าตัวตายของคนกลุ่มต่างๆขึน้กับพลังทางสังคม แมกซ์ เวเบอร์ ( Max Weber ) 1864-1920 - ให้ความสาคัญกับพฤติกรรมของบุคคล - ความคิด ( Idea ) เป็นปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง ทฤษฏีหลักของสังคมวิทยา 1. ทฤษฏีหน้าที่ ( Functionalism ) การพิจารณาส่วนต่างๆของสังคมแต่ละส่วน เช่น ครอบครัว ศาสนา การเมือง โดยศึกษาถึงหน้าที่ของส่วนต่างๆมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันเป็นสังคมทัง้หมดอย่างไร 2. ทฤษฏีความขัดแย้ง (Conflict Theory ) - สังคมประกอบด้วยสมาชิกที่แบ่งแยกออกเป็นชนชัน้ต่างๆ - มีความสัมพันธ์ในลักษณะการถูกเอารัดเอาเปรียบ โดยมีผู้ที่เอารัดเอาเปรียบและผู้ที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ - สังคมเป็นระบบที่มีความขัดแย้งตลอดเวลา 3. ทฤษฏีการกระทาตอบโต้ ( Interactionism ) - ความสัมพันธ์ต่อกันของคนในสังคมเป็นกระบวนการตอบโต้ซึ่งกันและกัน - มีความผันแปรอยู่เสมอตามสถานการณ์ - บุคคลเป็นผู้สร้าง หรือ กาหนดการกระทา ไม่ใช่ถูกกาหนดโดยโครงสร้างทางสังคม สังคมวิทยาในศตวรรษที่ 19 : ยุโรป - สนใจศึกษาสังคมใหญ่ทัง้สังคม - เพื่อเข้าใจระเบียบกฎเกณฑ์ + การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
  • 8. - เสนอทฤษฏีกว้างๆ สังคมวิทยาในศตวรรษที่ 20 : สหรัฐอเมริกา - สนใจศึกษาปัญหาสังคมเฉพาะด้าน - สนปัญหาในทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมวิทยา สังคมไทย 1.โครงสร้างทางสังคม - ธรรมชาติมนุษย์ : รวมกลุ่ม + ความสัมพันธ์ สังคมไทยมีการรวมกลุ่มกันของหลายชนชัน้ในอดีต มีความสัมพันธ์แบบเป็นกันเอง มีความเป็นอยู่ที่มีการเกือ้กูลกัน 2.เศรษฐกิจ - วัตถุ เกิดชนชัน้ ระบบเศรษฐกิจของไทย ก่อให้เกิดความต้องการทางด้านวัตถุและชนชัน้มาเป็นเวลานาน ดังจะเห็นได้จากระบบขุนมูลนาย ระบบไพร่ทาส ในอดีต และระบบทุนนิยมในปัจจุบันที่ก่อให้ค่านิยมในด้านวัตถุ การให้ความสาคัญและเคารพนับถือผู้ที่มีฐานะทางเศรษฐกิจเป็นสาคัญ 3.ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติ สังคมไทยในอดีตมีความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติว่าเป็นสงิ่ที่ไม่สามารถควบคุมได้ สังคมไทยในอดีตจึงมีการใช้ชีวิตที่กลมกลืนกับธรรมชาติมากกว่าการเอาชนะธรรมชาติ - ซึ่งความเชื่อของคนไทยได้แสดงออกในด้านศาสนาและไสยศาสตร์หรือพิธีกรรมควบคู่กันไป เป็นสิ่งที่ควบคุมมนุษย์ให้อยู่ร่วมกัน และเป็นที่มาของอานาจ โดยมีการกาหนดเป็นบรรทัดฐานร่วมกันจากความเชื่อในธรรมชาติที่ไม่สามารถควบคุมได้ อาทิ - ครอบครัว : ผีเรือน - ชุมชน,หมู่บ้าน : เสือ้บ้าน,หลักบ้าน - รัฐ : กษัตริย์ ( เทวราช,สมมติราช ) ลักษณะสังคมไทยในอดีต 1. เชื่อในสิ่งนอกเหนือธรรมชาติ ความผูกพันในชีวิตและวัฒนธรรมคนไทย - ดินฟ้ าอากาศควบคุมไม่ได้ - ธรรมชาติมีจิตวิญญาณให้คุณให้โทษ - ประชากรหลายเผ่าพันธุ์ นาไปสู่การบูรณาการทางวัฒนธรรม 2. การปกครอง หรือ ประชาธิปไตย - ผู้นา ผู้ปกครอง มีบุญ ยอมรับข้อขัดแย้ง ทาให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข
  • 9. นอกจากนียั้งนาไปสู่ ระบบอุปถัมภ์ ในปัจจุบัน ลักษณะสาคัญของสังคมและวัฒนธรรมไทย เอกลักษณ์ไทย 1. ยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์ 2. สังคมพุทธ โดยแฝงความเชื่อวิญญาณ + ลัทธิพราหมณ์ 3. ยึดครอบครัว + เครือญาติ 4. สังคมเสรี มีนา้ใจ สนุกสบาย คนไทย = ผู้มีจิตใจยิ่งใหญ่ เสรี + ไม่เป็นรองใคร 5. พืน้ฐานเศรษฐกิจ เกษตรกรรม 6. ยกย่องผู้มีความรู้ ความสามารถ 7. ความงดงามอ่อนช้อยของศิลปะไทย 8. เมืองหลวง เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม , ความรุ่งเรือง นาไปสู่ปัญหาต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สาเหตุ . ในระบบ .นอกระบบ การเปลี่ยนแปลงสังคมวัฒนธรรมไทย
  • 10. การเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมไทย ประกอบด้วย . ขนาดกลุ่มคน . โครงสร้างสังคม . วัฒนธรรม + พฤติกรรม การเปรียบเทียบค่านิยมไทย และ ตะวันตก ดัง้เดิมไทย ตะวันตก 1.นับถือบุคคล 1.นับถือหลักการ 2. นิยมความสนุกสนาน 2.นิยมทางานหนัก 3.ใช้จ่ายทรัพย์ปัจจุบัน 3. ออมทรัพย์เพื่อลงทุน 4. ทาบุญให้ทาน 4.ไม่นิยมให้ + ขอ 5.นิยมทางสายกลาง 5.ความรุนแรง + เข้มงวด 6.ถือตนเองเป็นสาคัญ 6.ถือกฎหมาย +ระเบียบ การยอมรับแนวคิดของตะวันตก ( พ.ศ. 2505 ) - การเปลี่ยนแปลงบ้านเมืองให้ทันสมัย (แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชน์) กระตุ้นให้เกิดความต้องการด้านวัตถุ - อิทธิพลของการศึกษามีเหตุผลเป็นวิทยาศาสตร์ ควบคุมสภาพแวดล้อม + จักรวาลด้วยเทคโนโลยี เกิดความขัดแย้งความเชื่อทางศาสนา + การทาตัวให้กลมกลืนกับธรรมชาติ +
  • 11. จักรวาลหายไป วิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยมเสรีครอบงาประเทศ 1. ช่องว่างการแย่งทรัพยากรระหว่างกลุ่มบุคคล 2. การทาลายสภาพแวดล้อม + ระบบนิเวศน์ 3. การโยกย้ายถิ่นฐาน 4. การฆ่าตัวเองทางวัฒนธรรม เดิม โครงสร้างสังคม ใหม่ โครงสร้างทางสังคม - ความสัมพันธ์พี่น้อง เครือญาติ มิตร - เคารพผู้อาวุโส - เป็นกันเองอย่างเสมอภาค - ความสัมพันธ์ความแตกต่าง ชนชัน้สูง-ต่า พิจารณาจากฐานะทางเศรษฐกิจเป็นสาคัญ - ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มั่งคงั่ และมีอานาจกับผู้ที่ต้องพึ่งพาอาศัย 5. เกิดกลุ่มผลประโยชน์ที่ขัดแย้ง ซึ่งยุติโดยวิถีทางการเมือง 6. การบิดเบือนกฎหมายบ้านเมืองขาดความเป็นธรรม สังคมที่ละเมิด ท้าทายกฏหมาย 7. ปัจเจกบุคคลสุดโต่ง ค่านิยมทางวัตถุ 8. คุณค่าในความเป็นมนุษย์น้อยลง 9. ความเชื่อในทางศาสนา คุณธรรม ศีลธรรมหมดไป หรือลดน้อยลง พฤติกรรมเบยี่งเบน + อาชญากรรมมากขึน้ ขัดแย้ง : คนรวย อานาจมาก มีทัศนคติที่จะต้องเป็นผู้ที่ได้เสมอ ในขณะที่คนจน ไม่ยอมรับความจน ต่าต้อยอีกต่อไป โดยอาจหันไปกระทาผิดเพื่อเป็นที่ยอมรับในสังคมมากขึน้ ตามค่านิยมของสังคมที่ให้ความสาคัญต่อวัตถุนิยม 10. คนในสังคมถูกหล่อหลอมจากลัทธิความเชื่อทุนนิยมเสรี ปัญหาสังคมไทย
  • 12. จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมไทย อาทิ การเน้นการพัฒนาประเทศโดยดังได้กล่าวข้างต้น โดยเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม และการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ ตลอดจนการรับแนวคิด ค่านิยมของตะวันตก โดยไม่ได้มีการปรับให้เหมาะสมกับสภาพของสังคมไทยอย่างแท้จริง ก่อให้ประเทศไทยต้องประสบปัญหาสังคมมากมาย ดังนี้ 1.การเปลี่ยนแลงทางเทคโนโลยี + สังคม ก่อให้เกิดปัญหาการปรับตัว ภาวะความแปลกแยก . สิน้หวัง . สังคมที่เต็มไปด้วยคนที่มีกิเลส และความต้องการด้านวัตถุ . ความเหลื่อมลา้ที่ไม่เท่าเทียมกันและความยากจน . ปัญหาคุณภาพชีวิต . การอพยพย้ายถิ่นของคน จากชนบทมาสู่สังคมเมือง . ปัญหาการว่างงาน . ปัญหาการเพิ่มของประชากร . สภาวะแวดล้อมเสื่อมโทรม . อุบัติเหตุ อุบัติภัย . ผู้สูงอายุถูกทอดทิง้ . ชุมชนแออัด . ความไม่เป็นระเบียบของสังคม . ปัญหาโสเภณี
  • 13. . ปัญหายาเสพติด . วิกฤตนักโทษล้นคุก . ปัญหาการขาดสงิ่ยึดเหนี่ยวทางใจ . ปัญหาศีลธรรม . ปัญหาเศรษฐกิจ . ปัญหาสุขภาพอนามัย เช่น เอดส์ . ปัญหาพฤติกรรมเบยี่งเบน และปัญหาอาชญากรรม ปัญหาดังกล่าวข้างต้นล้วนแล้วแต่ทาให้สังคมขาดความเป็นระเบียบ คนในสังคมขาดความสุขในการดาเนินชีวิตอย่างแท้จริง อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และการพัฒนาประเทศอย่างแท้จริง สรุปได้ว่า สังคมวิทยา พฤติกรรมเบยี่งเบนและอาชญากรรม จึงมีความสัมพันธ์กัน . สังคมวิทยา ศึกษาสังคม และพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมที่อยู่ร่วมกัน โดยมีบรรทัดฐานในการกาหนดการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมของคนในสังคม ซึ่งหากมีสมาชิกในสังคมมีการละเมิดบรรทัดฐาน พฤติกรรมดังกล่าว เรียกว่า พฤติกรรมเบยี่งเบน ซึ่งจะมีลักษณะของการละเมิดบรรทัดฐานเพียงเล็กน้อยไม่มีความรุนแรง ไปจนกระทั่งการละเมิดกฎหมาย ซึ่งเรียกว่า อาชญากรรม ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวจะทาให้สังคมขาดความเป็นระเบียบนาไปสู่ปัญหาต่างๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของสังคม
  • 14. วัฒนธรรมและประเพณีไทย การที่มนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นกลมุ่เป็นสังคมขึน้มาย่อมต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลมุ่มีระเบียบแบบแผนที่ค วบคุมพฤติกรรมของบุคคลในกลมุ่ให้อยู่ในขอบเขตที่จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสงบสุข สิ่งที่เป็นเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของกลุ่มคนนีเ้ราเรียกว่า "วัฒนธรรม" ดังนัน้ วัฒนธรรมจึงเปรียบเสมือนอาภรณ์ห่อหุ้มร่างกายตกแต่งคนให้น่าดูชม วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ต้องควบคู่กับคนเสมอไป "วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมกลมุ่ใดกลมุ่หนึ่ง หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง มนุษย์ได้คิดสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ใช้ในการปฏิบัติ การจัดระเบียบตลอดจนระบบความเชื่อ ค่านิยม ความรู้ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ" "วัฒนธรรมคือความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ หรือลักษณะประจาชนกลมุ่ใดกลมุ่หนึ่งที่อยู่ในสังคม ซึ่งไม่เพียงแต่จะหมายถึงความสาเร็จในด้านศิลปกรรมหรือมารยาททางสังคมเท่านัน้ กล่าวคือ ชนทุกกลุ่มต้องมีวัฒนธรรม ดังนัน้ เมื่อมีความแตกต่างระหว่างชนแต่ละกลมุ่ ก็ย่อมมีความแตกต่างทางวัฒนธรรมนั่นเอง เช่น ชาวนาจีน กับชาวนาในสหรัฐอเมริกา ย่อมมีความแตกต่างกัน "วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือผลิตสร้างขึน้ เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีชีวิตและส่วนรวม วัฒนธรรมคือวิถีแห่งชีวิตของมนุษย์ในส่วนร่วมที่ถ่ายทอดกันได้ เรียนกันได้ เอาอย่างกันได้ วัฒนธรรมจึงเป็นผลผลิตของส่วนร่วมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนสมัยก่อน สืบต่อกันมาเป็นประเพณี วัฒนธรรมจึงเป็นทัง้ความคิดเห็นหรือการกระทาของมนุษย์ในส่วนร่วมที่เป็นลักษณะเดียวกัน และสาแดงให้ปรากฏเป็นภาษา ความเชื่อ ระเบียบประเพณี พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติพุทธศักราช 2485 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2486 ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมไว้ดังนี้ วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน วัฒนธรรมจึงเป็นลักษณะพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ ทัง้บุคคลและสังคมที่ได้วิวัฒนาการต่อเนื่องมาอย่างมีแบบแผน แต่อย่างไรก็ดีมนุษย์นัน้ไม่ได้เกาะกลมุ่อยู่เฉพาะในสังคมของตนเอง ได้มีความสัมพันธ์ติดต่อกับสังคมต่างๆ ซึ่งอาจอยู่ใกล้ชิดมีพรมแดนติดต่อกัน หรือยู่ปะปนในสถานที่เดียวกันหรือ การที่ชนชาติหนึ่งตกอยู่ใต้การปกครองของชนชาติหนึ่ง มนุษย์เป็นผู้รู้จักเปลี่ยนแปลงปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ
  • 15. จึงนาเอาวัฒนธรรมที่เห็นจากได้สัมพันธ์ติดต่อมาใช้โดยอาจรับมาเพิ่มเติมเป็นวัฒนธรรมของตนเองโดยตรงหรือนาเอามา ดัดแปลงแก้ไขให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพวัฒนธรรมที่มีอยู่เดิม ในปัจจุบันนีจึ้งไม่มีประเทศชาติใดที่มีวัฒนธรรมบริสุทธิ์อย่างแท้จริง แต่จะมีวัฒนธรรมที่มีพืน้ฐานมาจากความรู้ ประสบการณ์ที่สังคมตกทอดมาโดยเฉพาะของสังคมนัน้ และจากวัฒนธรรมแหล่งอื่นที่เข้ามาผสมปะปนอยู่ และวัฒนธรรมไทยก็มีแนวทางเช่นนี้ ความสาคัญของวัฒนธรรม วัฒนธรรมเป็นเรื่องที่สาคัญยงิ่ในความเป็นชาติ ชาติใดที่ไร้เสียซึ่งวัฒนธรรมอันเป็นของตนเองแล้ว ชาตินัน้จะคงความเป็นชาติอยู่ไม่ได้ ชาติที่ไร้วัฒนธรรม แม้จะเป็นผู้พิชิตในการสงคราม แต่ในที่สุดก็จะเป็นผู้ถูกพิชิตในด้านวัฒนธรรม ซึ่งนับว่าเป็นการถูกพิชิตอย่างราบคาบและสิน้เชิง ทัง้นีเ้พราะผู้ที่ถูกพิชิตในทางวัฒนธรรมนัน้จะไม่รู้ตัวเลยว่าตนได้ถูกพิชิต เช่น พวกตาดที่พิชิตจีนได้ และตัง้ราชวงศ์หงวนขึน้ปกครองจีน แต่ในที่สุดถูกชาวจีนซึ่งมีวัฒนธรรมสูงกว่ากลืนจนเป็นชาวจีนไปหมดสิน้ ดังนัน้จึงพอสรุปได้ว่า วัฒนธรรมมีความสาคัญดังนี้ วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชีแ้สดงให้เห็นความแตกต่างของบุคคล กลุ่มคน หรือชุมชน เป็นสิ่งที่ทาให้เห็นว่าตนมีความแตกต่างจากสัตว์ ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เรามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นนัน้ขึน้อยู่กับวัฒนธรรมของกลมุ่ชน ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรม เช่น ชาวเกาะซามัวมองเห็นดวงจันทร์ว่ามีหญิงกาลังทอผ้า ชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กาลังมองหาเหยอื่ ชาวไทยมองเห็นเหมือนรูปกระต่าย วัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดปัจจัย 4 เช่น เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่อาศัย การรักษาโรค วัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดการแสดงความรู้สึกทางอารมณ์ และการควบคุมอารมณ์ เช่น ผู้ชายไทยจะไม่ปล่อยให้นา้ตาไหลต่อหน้าสาธารณะชนเมื่อเสียใจ เป็นตัวกาหนดการกระทาบางอย่าง ในชุมชนว่าเหมาะสมหรือไม่ ซึ่งการกระทาบางอย่างในสังคมหนึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเหมาะสมแต่ไม่เป็นที่ยอมรับในอีกสังคมหนึ่ง จะเห็นได้ว่าผู้สร้างวัฒนธรรมคือมนุษย์ และสังคมเกิดขึน้ก็เพราะ มนุษย์ วัฒนธรรมกับสังคมจึงเป็นสิ่งคกูั่น โดยแต่ละสังคมย่อมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมีขนาดใหญ่หรือมีความซับซ้อน มากเพียงใด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมมักจะมีมากขึน้เพียงใดนัน้วัฒนธรรมต่าง ๆ ของแต่ละสังคมอาจเหมือนหรือต่างกันสืบเนื่องมาจากความแตกต่างทางด้านความเชื่อ เชือ้ชาติ ศาสนาและถิ่นที่อยู่ เป็นต้น ลักษณะของวัฒนธรรม เพื่อที่จะให้เข้าใจถึงความหมายของคาว่า "วัฒนธรรม" ได้อย่างลึกซึง้ จึงขออธิบายถึงลักษณะของวัฒนธรรม ซึ่งอาจแยกอธิบายได้ดังต่อไปนี้
  • 16. วัฒนธรรมเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์ ตรงที่มีการรู้จักคิด มีการเรียนรู้ จัดระเบียบชีวิตให้เจริญ อยู่ดีกินดี มีความสุขสะดวกสบาย รู้จักแก้ไขปัญหา ซึ่งแตกต่างไปจากสัตว์ที่เกิดการเรียนรู้โดยอาศัยความจาเท่านัน้ วัฒนธรรมเป็นมรดกของสังคม เนื่องจากมีการถ่ายทอดการเรียนรู้ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนรุ่นหนึ่ง ทัง้โดยทางตรงและโดยทางอ้อม โดยไม่ขาดช่วงระยะเวลา และ มนุษย์ใช้ภาษาในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ภาษาจึงเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ถ่ายทอดวัฒนธรรมนั่นเอง วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิต หรือเป็นแบแผนของการดาเนินชีวิตของ มนุษย์ มนุษย์เกิดในสังคมใดก็จะเรียนรู้และซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่ ดังนัน้ วัฒนธรรมในแต่ละสังคมจึงแตกต่างกัน วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่คงที่ มนุษย์มีการคิดค้นประดิษฐ์สิ่งใหม่ ๆ และ ปรับปรุงของเดิมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อความเหมาะสม และความอยู่ รอดของสังคม เช่น สังคมไทยสมัยก่อนผู้หญิงจะทางานบ้าน ผู้ชายทางานนอกบ้าน เพื่อหาเลีย้ง ครอบครัว แต่ปัจจุบันสภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป ทาให้ผู้หญิงต้องออกไปทางานนอกบ้าน เพื่อหา รายได้มาจุนเจือครอบครัว บทบาทของผู้หญิงในสังคมไทยจึงเปลี่ยนแปลงไป หน้าที่ของวัฒนธรรม วัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดรูปแบบของสถาบัน ซึ่งมีลักษณะแตกต่าง กันไปในแต่ละสังคม เช่น วัฒนธรรมอิสลามอนุญาตให้ชาย (ที่มีความสามารถเลีย้งดูและ ให้ความ ยุติธรรมแก่ภรรยา) มีภรรยาได้มากกว่า 1 คน โดยไม่เกิด 4 คน แต่ห้ามสมสู่ ระหว่าง เพศเดียว กัน อย่างเด็ดขาด ในขณะที่ศาสนาอื่นอนุญาตให้ชายมีภรรยาได้เพียง 1 คน แต่ไม่มีบัญญัติห้าม ความสัมพันธ์ระหว่างเพศเดียวกัน ฉะนัน้รูปแบบของสถาบันครอบครัวจึงอาจแตกต่างกันไป วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่กาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมของคน จะเป็นเช่นไรก็ขึน้อยู่กับวัฒนธรรมของกลมุ่สังคมนัน้ ๆ เช่น วัฒนธรรมในการพบปะทักทายของ ไทย ใช้ในการสวัสดีของชาวตะวันตกทั่วไปใช้ในการสัมผัสมือ ของชาวทิเบตใช้การแลบลิน้ ของชาว มุสลิมใช้การกล่าวสลาม เป็นต้น วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ควบคุมสังคม สร้างความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ให้แก่สังคม เพราะในวัฒนธรรมจะมีทัง้ความศรัทธา ความเชื่อ ค่านิยม บรรทัดฐาน เป็นต้น ตลอดจน ผลตอบแทนในการปฏิบัติและบทลงโทษเมื่อฝ่าฝืน ฉะนัน้จึงกล่าวได้ว่า ถ้าหากเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรมดีแล้ว จะทาให้ สามารถเข้าใจพฤติกรรมต่าง ๆ ของคนในแต่ละสังคมได้อย่างถูกต้อง ที่มาของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยมีที่มาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะทางด้านภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่มและอุดมสมบูรณ์ด้วยแม่นา้ลาคลอง คนไทยได้ใช้นา้ในแม่นา้ ลาคลอง ในการเกษตรกรรมและการอาบ กิน เพราะฉะนัน้เมื่อถึงเวลาหน้านา้ คือ เพ็ญเดือน 11 และเพ็ญ เดือน 12 ซึ่งอยู่ในห้วงเวลาปลายเดือนตุลาคมและปลายเดือนพฤศจิกายน อันเป็นระยะเวลา ที่
  • 17. นา้ไหลหลากมาจากทางภาคเหนือของประเทศ คนไทยจึงจัดทากระทงพร้อม ด้วยธูปเทียนไปลอย ในแม่นา้ลาคลอง เพื่อเป็นการขอขมาลาโทษแม่คงคา และขอพรจากแม่คงคา เพราะได้อาศัยนา้กิน นา้ใช้ ทาให้เกิด "ประเพณีลอยกระทง" นอกจากนัน้ยังมีประเพณีอื่น ๆ อีกในส่วนที่เกี่ยวกับ แม่นา้ลาคลอง เช่น "ประเพณีแข่งเรือ" ระบบการเกษตรกรรม สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม (agrarian society) กล่าวคือ ประชากรร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า คนไทยส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตผูกพันกับระบบการเกษตรกรรม และระบบการเกษตรกรรมนีเ้อง ได้เป็น ที่มาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณีขอฝน ประเพณีลงแขก และการละเล่น เต้นการาเคียว เป็นต้น ค่านิยม (Values) กล่าวได้ว่า "ค่านิยม" มีความเกี่ยวพันกับ วัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด และ "ค่านิยม" บางอย่างได้กลายมาเป็น "แกน" ของวัฒนธรรมไทยกล่าวคือ วิถีชีวิตของคนไทยโดยส่วนรวมมีเอกลักษณ์ซึ่งแสดงออกถึงอิสรภาพและเสรีภาพ การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม (Cultural diffusion) วัฒนธรรมทาง หนึ่ง ย่อม แตกต่างไปจากวัฒนธรรมทางสังคมอื่น ๆ ทัง้นีเ้พราะวัฒนธรรมมิได้เกิดขึน้มาใน ภาชนะ ที่ถูกผนึกตราบเท่าที่มนุษย์ เช่น นักท่องเที่ยว พ่อค้า ทหาร หมอสอนศาสนา และผู้อพยพยังคง ย้ายถิ่นที่อยู่จากแห่งหนึ่งไปยังแห่งอื่น ๆ เขาเหล่านัน้มักนาวัฒนธรรมของพวกเขาติดตัว ไปด้วย เสมอ ซึ่งถือได้ว่า เป็นการเผยแพร่ทางวัฒนธรรม เป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วและกว้างขวาง ประจักษ์ พยานในเรื่องนีจ้ะเห็นได้ว่านา้อัดลมชื่อต่าง ๆ มีอยู่ทั่วทุกมุมโลก วัฒนธรรมของสังคมอื่น ซึ่งได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทยก็คือ วัฒนธรรมไทย หมายถึง วิถีชีวิตของคนไทยในสังคมไทย ซึ่งเป็นแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ดีงานและการแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่างๆ ที่สมาชิกในสังคมไทยสามารถรู้ เข้าใจ ซาบซึง้ ยอมรับ และใช้ปฏิบัติร่วมกันในสังคมไทย ได้แก่ 1. ภาษาและวัฒนธรรม หมายถึง ภาษาไทยที่ใช้ในการพูดและการเขียนรวมทัง้งานประพันธ์ที่สร้างสรรค์ที่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลา ยลักษณ์อักษร 2. มารยาท หมายถึง การประพฤติ ปฏิบัติระหว่างบุคคลต่อบุคคลที่สังคมยอมรับ ได้แก่ มารยาททางกาย และมารยาททางวาจา 3. การแต่งกาย หมายถึง เครื่องนุ่งห่มที่แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย 4. ประเพณีและพิธีทางศาสนา หมายถึง กิจกรรมที่ปฏิบัติในวันสาคัญต่างๆ 5. ศิลปกรรม หมายถึง งานศิลปหัตถกรรม จิตกรรม สถาปัตยกรรม และประติมากรรม 6. การแสดงและการละเล่น หมายถึง การละเล่นและของเล่นของไทย ดนตรีไทย เพลงไทยประเภทต่างๆ และศิลปะการแสดงของไทย การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย หมายถึง ลักษณะการดา เนินงานของผู้บริหารและครูในด้านบริหารและด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อปลูกฝังวัฒนธรรมไท ยในด้านต่างๆ ให้แก่เด็ก ได้แก่
  • 18. 1. ด้านบริหาร หมายถึง การวางแผน เตรียมงานและปฏิบัติงานด้านนโยบาย หลักสูตร บุคลากร สภาพแวดล้อมและงบประมาณในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 2. นโยบาย หมายถึง หลักและแนวทางปฏิบัติซึ่งถือเป็นแนวดาเนินการในการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 3. หลักสูตร หมายถึง เนือ้หา สาระเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4. บุคลากร หมายถึง ผู้บริหาร ครูในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร 5. สภาพแวดล้อม หมายถึง ลักษณะการจัดสภาพแวดล้อมทัง้ภายในและภายนอกห้องเรียนที่ช่วยในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 6. งบประมาณ หมายถึง เงินที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร ด้านการจัดการประสบการณ์การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการจัดให้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่วางเอาไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 1. การวางแผนและเตรียมการสอน หมายถึง การเตรียมการในการสอน รวมทัง้การจัดทาแผนการสอนระยะสัน้ ระยะยาวสา หรับวัฒนธรรมไทยในด้านต่างๆ 2. การจัดกิจกรรม หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมที่ใช้ในการสอนวัฒนธรรมไทยด้านต่างๆ ในช่วงเวลาเรียน 3. การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ หมายถึง กิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึน้นอกเหนือจากกิจกรรมในช่วงเวลาเรียน 4. สภาพแวดล้อมภายใน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมบรรยากาศต่างๆ ภายในห้องเรียนรวมทัง้สื่อการสอนต่างๆ ที่ช่วยในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย 5. การวัดและประเมินผล หมายถึง การสรุปผลและวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม ซึ่งผู้วิจัยได้นาการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร ไปสอบถามและสังเกตการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยของผู้บริหารและครูที่สอนในระดับชัน้อนุบาล 1- อนุบาล 3 ที่อยู่ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งการปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็กมีความสาคัญมาก เพราะเด็กอนุบาลจะต้องใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียน ดังนัน้ครูจะต้องเป็นผู้ปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็ก ซึ่งการจัดกิจกรรมเพอื่ปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็กครูจะต้องจัดเข้าไปกับการเรียนการสอน เช่น การเล่านิทาน ครูก็ต้องเลือกนิทานที่มีรูปภาพประกอบ เนือ้หาเกี่ยวกับวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม ก็จะทาให้เด็กเรียนรู้และซึมซับวัฒนธรรมต่างๆ โดยที่เด็กได้รับความสนุกสนานอีกด้วย สามารถสรุปได้ว่าการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในโรงเรียนอนุบาล ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก คือ ครูต้องการปลูกฝังวัฒนธรรมใดให้กับเด็ก ครูก็ต้องปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างให้เด็กดูก่อน และครูสามารถจัดกิจกรรมเพอื่ปลูกฝังวัฒนธรรมให้กับเด็กได้ตลอดทัง้วันที่มีการเรียนการสอน ก็จะทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ซึมซับ และซาบซึง้ในวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย ซึ่งสิ่งที่ครูสอนเหล่านีเ้ท่ากับว่าเป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่คนรุ่นหลัง และสืบทอดวัฒนธรรมไทยต่อไป...