SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
บทที่ 1
บทนำ
1.หลักกำรและเหตุผล
วัดเป็นสถานที่สาคัญที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของชาวพุทธทั้งหลาย
เป็นศูนย์รวมของคนในชุมชนที่จะได้พบกันมาทาบุญด้วยกัน รวมสร้างบุญสร้างกุศล
สร้างวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาประจาชาติไทย
ปัญหาที่พบมากในปัจจุบันคือคนที่มาทาบุญที่วัดไม่ดูแลรักษาความสะอาดส่งผลให้เกิดความสกปรกจานวน
คนที่เข้าไปใช้มีมากแต่ไม่มีบุคลากรที่ทาความสะอาดเพียงพอ
ผู้คนที่ขาดจิตสานึกในสังคมไทยมีจานวนมาก
โบสถ์หรือพื้นที่บริเวณรอบๆกุฏิพระสงฆ์ก็มีใบไม้และขยะอยู่บ้างบางบริเวณ
คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้คนที่มาทาบุญที่วัดได้
มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญและเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถานให้คงอยู่กับพวกเราที่เป็นลูกหลาน
ชาวพุทธสืบต่อไป
คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้คนที่มาทาบุญที่วัดได้
มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญ
และเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถานให้คงอยู่กับพวกเราที่เป็นลูกหลานชาวพุทธสืบต่อไป
2.วัตถุประสงค์
1.เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสานึกที่ดีให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และรู้คุณค่า
ของการแบ่งปันและการช่วยเหลือผู้อื่น
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจิตสาธารณะ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3.กลุ่มเป้ ำหมำย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนรินทร์ กาญจนบุรี
จานวน 10-20 คน
4.สถำนที่
วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ตาบลปากแพรก อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
5.กำรบูรณำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง สู่โครงกำร
ความพอประมาณ คือ การลงมือปฏิบัติงานโดยการคานึงถึงกาลังทรัพย์ กาลังกาย
และความสามารถทางด้านจานวนวัสดุอุปกรณ์ที่มีอย่างจากัด
ความมีเหตุผล คือ การลงมือปฏิบัติด้วยจิตใจที่มีจิตสานึก มีจิตสาธารณะ
และพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นอย่างไม่หวังสิ่งใดตอบแทน
ความมีภูมิคุ้มกัน คือ การศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปทากิจกรรมจิตอาสา ว่ามีความเดือดร้อน
หรือมีความจาเป็น มากแค่ไหน?
และวัสดุอุปกรณ์ที่นาไปนั้นมีความเพียงพอต่อจานวนผู้ร่วมกิจกรรมหรือไม่?
เงื่อนไขความรู้ คือ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักข้อเสียของการทิ้งขยะ
การไม่ดูแลความสะอาดของสถานที่ที่เป็นสถานที่สาคัญทางศาสนา
เงื่อนไขคุณธรรม คือ ปลูกฝังจิตสานึกสารธารณะ ช่วยกันรักษาความสะอาดของสถานที่ส่วนรวม
บทที่ 2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. วัด
1.1 วัดเขาเม็งอมรเมศร์
2. การพัฒนา
1.วัด
วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์
รวมทั้งมีพระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย
คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถานแบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มีข้อยุติ
ด้วยบางคนอธิบายว่า มาจากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก“วัตร”
อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปลอีกอย่างว่าการจาศีล ซึ่งวัด(วัตร)
ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ใช้เป็นที่จาศีลภาวนา
หรือสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติภาระกิจที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคนสันนิษฐานว่ามาจากคาว่า
“วัดวา” อันหมายถึงการกาหนดขอบเขตของดินแดนที่สร้างเป็นศาสนสถาน
เพราะวัดกับวามีความหมายอย่างเดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น ความยาว
ความกว้าง เป็นต้น วัดในนัยยะอย่างหลังนี้จึงหมายถึง พื้นที่
แต่เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็นคาเรียกชื่อ
ศาสนสถานในทางพุทธศาสนาที่ใช้เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธาถวายพระพุทธองค์ใน ระยะแรกๆ เช่น
“เชตวนาราม” หรือชื่อเต็มว่า “เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม” ซึ่งมีความหมายว่า
“สวนของอนาถบิณฑที่ป่าเชต” หรือ “เวฬุวนาราม” หรือ “บุปผาราม” เป็นต้น โดย “อาราเม” หรือ “อาราม”
ในคาอ่านของไทยแปลว่าสวน นอกจากนี้ในเวลาต่อมายังมีคาที่ใช้เรียกอีกอย่างว่า “วิหาระ” หรือ “วิหาร”
อย่างไรก็ตามก็ยังมีคาที่ให้ความหมายว่าวัดอยู่อีกชื่อหนึ่ง คือ “อาวาส”
ดังชื่อเรียกสมภารผู้ครองวัดว่า “เจ้าอาวาส” ซึ่งแปลว่าผู้เป็นใหญ่ในวัด หรือชื่อเรียกวัด เช่น
เทพศิรินทราวาส( เทพ+ศิรินทรา+ อาวาส ) โดยปกติคาว่าอาวาสไม่เป็นที่นิยมใช้กันในความหมายว่าวัด
ทั้งนี้เพราะนิยมนาไปใช้กับความหมายที่แคบกว่าคาว่าอาราม
โดยมักให้ความหมายในเชิงที่เป็นตัวเรือนที่อยู่อาศัยมากกว่า
อาวาสจึงเสมือนเป็นที่อยู่ส่วนย่อยภายในอารามที่หมายถึงพื้นที่ที่เป็นศาสนสถานทั้งเขต เช่น
วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก
ชนิดราชวรวิหาร,วัดบวรนิเวศวิหารกรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร, วัดกัลยาณมิตร
ธนบุรี พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร, วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นตรี
ชนิดราชวรวิหาร,วัดอินทรวิหาร วัดราษฎร์
1.1วัดเขาเม็งอมรเมศร์
ที่อยู่ ถนน เขาเม็งพัฒนา เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 71000
โทรศัพท์ 034659 585
2.กำรพัฒนำ
คาว่า การพัฒนา ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Development นามาใช้เป็นคาเฉพาะและใช้ประกอบคา
อื่นก็ได้ เช่น การพัฒนาประเทศ การพัฒนาชนบท การพัฒนาเมือง และการพัฒนาข้าราชการ
เป็นต้น การพัฒนาจึงถูกนาไปใช้กันโดยทั่วไปและมีความหมายแตกต่างกันออกไป
ดังกล่าวแล้ว เกี่ยวกับความหมายของการพัฒนานั้นได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายความหมายทั้งความหมายที่
คล้ายคลึงกัน และแตกต่างกัน ซึ่งอาจจาแนกออกได้เป็น 10 ลักษณะ คือ
2.1. ความหมายจากรูปศัพท์
โดยรูปศัพท์ การพัฒนา มาจากคาภาษาอังกฤษว่า Development แปลว่า
การเปลี่ยนแปลงที่ละเล็กละน้อย โดยผ่านลาดับขั้นตอนต่างๆ
ไปสู่ระดับที่สามารถขยายตัวขึ้น เติบโตขึ้น มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น และเหมาะสมกว่าเดิมหรืออาจก้าวหน้า
ไปถึงขั้นที่อุดมสมบูรณ์เป็นที่น่าพอใจ ส่วนความหมายจากรูปศัพท์ในภาษาไทยนั้น หมายถึง การทาความเ
จริญ การเปลี่ยนแปลงในทางที่เจริญขึ้น การคลี่คลายไปในทางที่ดี ถ้าเป็นกริยา ใช้คาว่า พัฒนา หมายคว
ามว่า ทาให้เจริญ คือ
ทาให้เติบโตได้ งอกงาม ทาให้งอกงามและมากขึ้น เช่น เจริญทางไมตรี การพัฒนา โดยความหมายจากรู
ปศัพท์จึงหมายถึง การเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดความเจริญเติบโตงอกงามและดีขึ้นจนเป็นที่พึงพอใ
จ ความหมายดังกล่าวนี้ เป็นที่มาของความหมายในภาษาไทยและเป็นแนวทางในการกาหนดความหมายอื่
นๆ
2.2. ความหมายโดยทั่วไป
การพัฒนา ที่เข้าใจโดยทั่วไป มีความหมายใกล้เคียงกับความหมายจากรูปศัพท์ คือ
หมายถึง การทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีกสภาพหนึ่งที่ดีกว่าเดิมอย่างเป็นระบบ หรือก
ารทาให้ดีขึ้นกว่าสภาพเดิมที่เป็นอยู่อย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบทางด้านคุณภาพระหว่างสภาพก
ารณ์ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงเวลาที่ต่างกัน กล่าวคือ ถ้าในปัจจุบันสภาพการณ์ของสิ่งนั้นดีกว่า สมบูรณ์กว่
าก็แสดงว่าเป็นการพัฒนา
การพัฒนา ในความหมายโดยทั่วไปจึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดคุณภาพดีขึ้นกว่าเดิม
ความหมายนี้ นับว่าเป็นความหมายที่รู้จักกันโดยทั่วไป เพราะนามาใช้มากกว่าความหมายอื่นๆ แม้ว่าจะไม่
เป็นที่ยอมรับของนักวิชาการก็ตาม
2.3. ความหมายทางเศรษฐศาสตร์
นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา
ว่า หมายถึง ความเจริญเติบโต โดยเน้นความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นสาคัญ เช่น
ผลผลิตรวมของประเทศเพิ่มขึ้น รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อคนของประชากรเพิ่มขึ้น
มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้น ประชากรมีรายได้เพียงพอที่สามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานขอ
งตนได้ ซึ่งอาจสรุปได้ว่า การพัฒนา
เป็นกระบวนการทางสังคม ที่ผลผลิตออกมาในรูปซึ่งสามารถวัดได้ด้วยเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์
จะเห็นได้ว่า นักเศรษฐศาสตร์ได้กาหนดความหมายของการพัฒนา โดยใช้ความหมายจากรูปศัพท์แล
ะความหมายโดยทั่วไป
คือ หมายถึง ความเจริญเติบโต แต่เป็นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ตามเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์
ซึ่งเป็นการเน้นความหมายเชิงปริมาณ คือ การเพิ่มขึ้น หรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าด้านอื่นๆ
2.4. ความหมายทางพัฒนบริหารศาสตร์
นักพัฒนาบริหารศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา เป็น 2ระดับ
คือ ความหมายอย่างแคบและความหมายอย่างกว้าง ความหมายอย่างแคบ การพัฒนา
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการกระทาการให้ดีขึ้นอันเป็นการเปลี่ยนแปลงในด้านคุณภาพเพียงด้
านเดียว ส่วนความหมายอย่างกว้างนั้น การพัฒนา เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการก
ระทาทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นไปพร้อมๆ กัน ไม่ใช่ด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว
การพัฒนา ในความหมายของนักพัฒนบริหารศาสตร์จะมีขอบข่ายกว้างขวางกว่าความหมายจากรูปศั
พท์ ความหมายโดยทั่วไป และความหมายทางเศรษฐศาสตร์ที่กล่าวมาแล้ว เพราะหมายถึง การเปลี่ยนแป
ลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทั้งในด้านคุณภาพ (ดีขึ้น)
ปริมาณ (มากขึ้น) และสิ่งแวดล้อม (มีความเหมาะสม) ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดี
ยว
2.5. ความหมายทางเทคโนโลยี
ในทางเทคโนโลยี การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรม และการผลิตด้วยเทคโ
นโลยีที่ทันสมัย ด้วยนักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ ทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงจากสังคมประเพณีนิยม เป็
นสังคมสมัยใหม่ที่ทันสมัย หรือ การพัฒนา คือ
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของมนุษย์ด้วยเทคโนโลยีนั่นเอง
จะเห็นได้ว่า ความหมายของ การพัฒนา ในทางเทคโนโลยีแตกต่างออกไปจากความหมายที่กล่าวมา
แล้วข้างต้น โดยหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ทันสมัยด้วยความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทค
โนโลยี ซึ่งเป็นความหมายอีกแนวทางหนึ่ง
2.6. ความหมายทางการวางแผน
ในทางการวางแผน การพัฒนา เป็นเรื่องเกี่ยวกับการชักชวน การกระตุ้นเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ด้วยการปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจัง เป็นไปตามลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกันเป็นวงจร โดยไม่มีก
ารสิ้นสุด ซึ่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (The United National Educatio
nal, Scientific and cultural Organization :
UNESCOสรุปได้ว่า การพัฒนาเป็นหน้าที่ (Function) ของการวางแผนและการจัดการ ดังนี้
D = f (P+M)
เมื่อ D = Development คือ การพัฒนา
P = Planning คือ การวางแผน
M = Management คือ การบริหารงานหรือการจัดการ
ดังนั้น การพัฒนา จะเกิดขึ้นได้ด้วยการวางแผนที่ดี มีการบริหารงานและการจัดการอย่างเป็นระบบ
ทาให้การดาเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
การพัฒนา ในความหมายของนักวางแผน จะเป็นไปอีกแนวทางหนึ่ง โดยอาจสรุปได้ว่า หมายถึง ก
ารเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของมนุษย์ไว้ล่วงหน้า ในลักษณะของแผนและโครงการ แล้วบริ
หารหรือจัดการให้เป็นไปตามแผนและโครงการจนประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วาง
ไว้ จะเห็นได้ว่าความหมายของการพัฒนาทางการวางแผนกาหนดให้การพัฒนาเป็นกิจกรรมของมนุษย์และ
เกิดขึ้นจากการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้เกิดจากการวางแผนโดยมนุษย์ ไม่ใช่ก
ารพัฒนาในความหมายนี้
2.7. ความหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ในขั้นของการปฏิบัติ การพัฒนา หมายถึง การชักชวนหรือการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยกา
รปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจังและเป็นลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกันในลักษณะที่เป็นวงจร ไม่มีการ
สิ้นสุด
การพัฒนา ในความหมายของการปฏิบัติการนี้เป็นความหมายต่อเนื่องจากความหมายทางการวางแผ
นโดยมุ่งเน้นถึงการนาแผนและโครงการไปดาเนินการอย่างจริงจังและอย่างต่อเนื่อง เพราะถึงจะมีแผนและ
โครงการแล้วแต่ถ้าหากไม่มีการนาไปปฏิบัติการพัฒนาก็ไม่สามารถเกิดขึ้นได้
2.8. ความหมายทางพระพุทธศาสนา
พระราชวรมุนี ได้ให้ความหมายและอธิบายไว้ว่า ในทางพุทธศาสนา การพัฒนา มาจากคาภาษาบา
ลีว่า วัฒนะ แปลว่า เจริญ แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน
คือ การพัฒนาคน เรียกว่า ภาวนา กับการพัฒนาสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่คน
เช่น วัตถุสิ่งแวดล้อมต่างๆ เรียกว่า พัฒนา หรือ วัฒนา เช่น
การสร้างถนน บ่อน้า อ่างเก็บน้า เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่องของการเพิ่มพูนขยาย ทาให้มากหรือทาให้เติบโตขึ้น
ทางวัตถุและได้เสนอข้อคิดไว้ว่า คาว่า การพัฒนา หรือ คาว่า เจริญ
นั้นไม่ได้แปลว่าทาให้มากขึ้น เพิ่มพูนขึ้นอย่างเดียวเท่านั้น แต่มีความหมายว่า ตัดหรือทิ้ง เช่น
เจริญพระเกศา คือตัดผม มีความหมายว่า รก เช่น นุสิยา
โลกวฑฺฒโน แปลว่า อย่างเป็นคนรกโลกอีกด้วย ดังนั้น การพัฒนาจึงเป็นสิ่งที่ทาแล้วมีความเจริญจริงๆ
คือ
ต้องไม่เกิดปัญหาติดตามมาหรือไม่เสื่อมลงกว่าเดิม ถ้าเกิดปัญหาหรือเสื่อมลง ไม่ใช่เป็นการพัฒนา แต่เป็น
หายนะ ซึ่งตรงกันข้ามกับการพัฒนา
กล่าวได้ว่า การพัฒนา ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนให้มีความสุขมีสภาพแวดล้อ
มที่เหมาะสม การพัฒนาในความหมายนี้ มีลักษณะเดียวกันกับการพัฒนาในความหมายทางด้านการวางแผ
น คือ
เป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น แตกต่างกนเพียงการวางแผนให้ความสาคัญที่วิธีการดาเนินงาน ส่วนพุทธศาสน
ามุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้น คือ ความสุขของมนุษย์เท่านั้น )
2.9. ความหมายทางสังคมวิทยา
นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ว่า
เป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคม ซึ่งได้แก่ คน กลุ่มคน การจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคม
ด้วยการจัดสรรทรัพยากรของสังคมอย่างยุติธรรมและมีประสิทธิภาพ การพัฒนา
เป็นทั้งเป้าหมายและกระบวนการที่ครอบคลุมถึงการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนต่อชีวิตและการทางาน กา
รเปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ ทางสังคม วัฒนธรรมและการเมืองอีกด้วย
นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา โดยเน้นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคม คือ
มนุษย์ กลุ่มทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับความหมายในทางพุทธศาสนา คื
อ การเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสิ่งแวดล้อมให้มีความสุข และมีลักษณะเช่นเดียวกับความหมายทางการวางแ
ผน คือ ด้วยวิธีการจัดสรรทรัพยากรของสังคมอย่างยุติธรรมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งนักวางแผน
เรียกว่า การบริหารและการจัดการนั่นเอง
2.10. ความหมายทางด้านการพัฒนาชุมชน
นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ว่า หมายถึง การที่คนในชุมชนและสังคมโดย
ส่วนรวมได้ร่วมกันดาเนินกิจกรรมเพื่อปรับปรุงความรู้ความสามารถของตนเอง และร่วมกันเปลี่ยนแปลงคุ
ณภาพชีวิตของตนเองชุมชนสังคมให้ดีขึ้น การพัฒนาเป็นเสมือนกลวิธีหรือมรรควิธี
(Mean) ที่ทาให้เกิดผล (Ends) ที่ต้องการ คือ คุณภาพชีวิต ชุมชน และสังคมดีขึ้น
นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ใกล้เคียงกับนักสังคมวิทยา คือ
เป็นวิธีการเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสังคมมนุษย์ให้ดีขึ้น แต่นักพัฒนาชุมชนมุ่งเน้นที่มนุษย์ในชุมชนต้องร่ว
มกันดาเนินงานและได้รับผลจากการพัฒนาร่วมกัน
จากความหมายในด้านต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่า การพัฒนา มีความหมายที่คล้ายคลึง
กันและแตกต่างการออกไปบ้าง ซึ่งถ้าหากพิจารณาจากความหมายเหล่านี้อาจสรุปได้ว่า การพัฒนา หมายถึ
ง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ดีขึ้น ทั้งทางด้านคุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดล้อม ด้วยก
ารวางแผนโครงการและดาเนินงานโดยมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่ตัวของมนุษย์เอง
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรศึกษำ
วัสดุอุปกรณ์
1.ไม้กวาด
2.ที่ตักขยะ
3.ที่ขัดห้องน้า
4.ถังน้า
5.น้ายาล้างห้องน้า
6.ถุงดา
วิธีดำเนินกำรศึกษำ มีดังนี้
1.รวมกลุ่มและกาหนดหัวข้อในการทาโครงการ
2.สารวจสถานที่และหางบประมาณในการทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
3.ไปคุยกับทางวัดเขาเม็งอมรเมรศ์ในเรื่องที่จะยืมสถานที่วัดในการทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
4.กาหนดวันที่จะไปทาโครงการ คือ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558
5.เตรียมอุปกรณ์ที่จะนาไปพัฒนาวัด
6.ไปทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ณ วัดเขาเม็งอมรเมรศ์
6.1 เก็บขยะบริเวณวัด
6.2 กวาดลานวัด
6.3 กวาดถนนภายในวัด
6.4 ล้างห้องน้า
6.5 กวาดบริเวณบันไดทางขึ้น
7. เขียนรายงาน พร้อมสรุป และอภิปรายผล
8. นาเสนอโครงการ

More Related Content

What's hot

โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จักรพงษ์ แผ่นทอง
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์I'Lay Saruta
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2
กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2
กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2waranyuati
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4Wichai Likitponrak
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 

What's hot (20)

โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รายงานประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
บทคัดย่อ Is
บทคัดย่อ Isบทคัดย่อ Is
บทคัดย่อ Is
 
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2
กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2
กรอบ...สวยด้วย GSP ชุดที่2
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 

Viewers also liked

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
โครงงานประเภทประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทประย กต ใช_งานโครงงานประเภทประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทประย กต ใช_งานChatchayanee Tuppadung
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Chatchayanee Tuppadung
 
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2Chatchayanee Tuppadung
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงาน
ความหมายและความสำค ญของโครงงานความหมายและความสำค ญของโครงงาน
ความหมายและความสำค ญของโครงงานChatchayanee Tuppadung
 
โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_
โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_
โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_Chatchayanee Tuppadung
 
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อโครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อChatchayanee Tuppadung
 

Viewers also liked (20)

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
ขนมญี่ปุ่น
ขนมญี่ปุ่นขนมญี่ปุ่น
ขนมญี่ปุ่น
 
IVT Företagspresentation
IVT FöretagspresentationIVT Företagspresentation
IVT Företagspresentation
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานประเภทประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทประย กต ใช_งานโครงงานประเภทประย กต ใช_งาน
โครงงานประเภทประย กต ใช_งาน
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ2
 
03 e
03 e03 e
03 e
 
บล อก
บล อกบล อก
บล อก
 
ความหมายและความสำค ญของโครงงาน
ความหมายและความสำค ญของโครงงานความหมายและความสำค ญของโครงงาน
ความหมายและความสำค ญของโครงงาน
 
Chanel hwk
Chanel hwkChanel hwk
Chanel hwk
 
Tailieu.vncty.com ch9 nhom7-tt_3893
Tailieu.vncty.com   ch9 nhom7-tt_3893Tailieu.vncty.com   ch9 nhom7-tt_3893
Tailieu.vncty.com ch9 nhom7-tt_3893
 
โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_
โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_
โครงงานการพ ฒนาโปรแกรมประย กต_
 
06 e
06 e06 e
06 e
 
04 e
04 e04 e
04 e
 
It new
It  newIt  new
It new
 
Tailieu.vncty.com 5343 2703
Tailieu.vncty.com   5343 2703Tailieu.vncty.com   5343 2703
Tailieu.vncty.com 5343 2703
 
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อโครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ
โครงงานเพื่อการพัฒนาสื่อ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 

Similar to โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1austin975
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1austin975
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์ออร์คิด คุง
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2Sutee Tee
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926CUPress
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์ออร์คิด คุง
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยPadvee Academy
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2Sutee Tee
 

Similar to โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด (20)

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด บทที่ 1
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรู ณ์
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
การบริหารการเปลี่ยนแปลงในหน่วยงานฉบับสมบรูณ์
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
 
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
ต้นฉบับพัฒนา ปรับปรุง2
 

More from Pat Sirikan Bungkaew

บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นบทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นPat Sirikan Bungkaew
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดPat Sirikan Bungkaew
 

More from Pat Sirikan Bungkaew (6)

It news .7
It news .7It news .7
It news .7
 
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นบทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
It new
It  newIt  new
It new
 
IT NEWS
IT NEWSIT NEWS
IT NEWS
 
It news
It  newsIt  news
It news
 

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด

  • 1. บทที่ 1 บทนำ 1.หลักกำรและเหตุผล วัดเป็นสถานที่สาคัญที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของชาวพุทธทั้งหลาย เป็นศูนย์รวมของคนในชุมชนที่จะได้พบกันมาทาบุญด้วยกัน รวมสร้างบุญสร้างกุศล สร้างวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาประจาชาติไทย ปัญหาที่พบมากในปัจจุบันคือคนที่มาทาบุญที่วัดไม่ดูแลรักษาความสะอาดส่งผลให้เกิดความสกปรกจานวน คนที่เข้าไปใช้มีมากแต่ไม่มีบุคลากรที่ทาความสะอาดเพียงพอ ผู้คนที่ขาดจิตสานึกในสังคมไทยมีจานวนมาก โบสถ์หรือพื้นที่บริเวณรอบๆกุฏิพระสงฆ์ก็มีใบไม้และขยะอยู่บ้างบางบริเวณ คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้คนที่มาทาบุญที่วัดได้ มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญและเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถานให้คงอยู่กับพวกเราที่เป็นลูกหลาน ชาวพุทธสืบต่อไป คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้คนที่มาทาบุญที่วัดได้ มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญ และเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถานให้คงอยู่กับพวกเราที่เป็นลูกหลานชาวพุทธสืบต่อไป 2.วัตถุประสงค์ 1.เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสานึกที่ดีให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และรู้คุณค่า ของการแบ่งปันและการช่วยเหลือผู้อื่น 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจิตสาธารณะ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3.กลุ่มเป้ ำหมำย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนรินทร์ กาญจนบุรี จานวน 10-20 คน 4.สถำนที่
  • 2. วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ตาบลปากแพรก อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 5.กำรบูรณำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง สู่โครงกำร ความพอประมาณ คือ การลงมือปฏิบัติงานโดยการคานึงถึงกาลังทรัพย์ กาลังกาย และความสามารถทางด้านจานวนวัสดุอุปกรณ์ที่มีอย่างจากัด ความมีเหตุผล คือ การลงมือปฏิบัติด้วยจิตใจที่มีจิตสานึก มีจิตสาธารณะ และพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่นอย่างไม่หวังสิ่งใดตอบแทน ความมีภูมิคุ้มกัน คือ การศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปทากิจกรรมจิตอาสา ว่ามีความเดือดร้อน หรือมีความจาเป็น มากแค่ไหน? และวัสดุอุปกรณ์ที่นาไปนั้นมีความเพียงพอต่อจานวนผู้ร่วมกิจกรรมหรือไม่? เงื่อนไขความรู้ คือ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักข้อเสียของการทิ้งขยะ การไม่ดูแลความสะอาดของสถานที่ที่เป็นสถานที่สาคัญทางศาสนา เงื่อนไขคุณธรรม คือ ปลูกฝังจิตสานึกสารธารณะ ช่วยกันรักษาความสะอาดของสถานที่ส่วนรวม
  • 3. บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. วัด 1.1 วัดเขาเม็งอมรเมศร์ 2. การพัฒนา 1.วัด วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์ รวมทั้งมีพระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถานแบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มีข้อยุติ ด้วยบางคนอธิบายว่า มาจากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก“วัตร” อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปลอีกอย่างว่าการจาศีล ซึ่งวัด(วัตร) ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ใช้เป็นที่จาศีลภาวนา หรือสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติภาระกิจที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคนสันนิษฐานว่ามาจากคาว่า “วัดวา” อันหมายถึงการกาหนดขอบเขตของดินแดนที่สร้างเป็นศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมายอย่างเดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น ความยาว ความกว้าง เป็นต้น วัดในนัยยะอย่างหลังนี้จึงหมายถึง พื้นที่ แต่เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็นคาเรียกชื่อ ศาสนสถานในทางพุทธศาสนาที่ใช้เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธาถวายพระพุทธองค์ใน ระยะแรกๆ เช่น “เชตวนาราม” หรือชื่อเต็มว่า “เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม” ซึ่งมีความหมายว่า “สวนของอนาถบิณฑที่ป่าเชต” หรือ “เวฬุวนาราม” หรือ “บุปผาราม” เป็นต้น โดย “อาราเม” หรือ “อาราม” ในคาอ่านของไทยแปลว่าสวน นอกจากนี้ในเวลาต่อมายังมีคาที่ใช้เรียกอีกอย่างว่า “วิหาระ” หรือ “วิหาร”
  • 4. อย่างไรก็ตามก็ยังมีคาที่ให้ความหมายว่าวัดอยู่อีกชื่อหนึ่ง คือ “อาวาส” ดังชื่อเรียกสมภารผู้ครองวัดว่า “เจ้าอาวาส” ซึ่งแปลว่าผู้เป็นใหญ่ในวัด หรือชื่อเรียกวัด เช่น เทพศิรินทราวาส( เทพ+ศิรินทรา+ อาวาส ) โดยปกติคาว่าอาวาสไม่เป็นที่นิยมใช้กันในความหมายว่าวัด ทั้งนี้เพราะนิยมนาไปใช้กับความหมายที่แคบกว่าคาว่าอาราม โดยมักให้ความหมายในเชิงที่เป็นตัวเรือนที่อยู่อาศัยมากกว่า อาวาสจึงเสมือนเป็นที่อยู่ส่วนย่อยภายในอารามที่หมายถึงพื้นที่ที่เป็นศาสนสถานทั้งเขต เช่น วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร,วัดบวรนิเวศวิหารกรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร, วัดกัลยาณมิตร ธนบุรี พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร, วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร,วัดอินทรวิหาร วัดราษฎร์ 1.1วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ที่อยู่ ถนน เขาเม็งพัฒนา เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 034659 585 2.กำรพัฒนำ คาว่า การพัฒนา ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Development นามาใช้เป็นคาเฉพาะและใช้ประกอบคา อื่นก็ได้ เช่น การพัฒนาประเทศ การพัฒนาชนบท การพัฒนาเมือง และการพัฒนาข้าราชการ เป็นต้น การพัฒนาจึงถูกนาไปใช้กันโดยทั่วไปและมีความหมายแตกต่างกันออกไป ดังกล่าวแล้ว เกี่ยวกับความหมายของการพัฒนานั้นได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายความหมายทั้งความหมายที่ คล้ายคลึงกัน และแตกต่างกัน ซึ่งอาจจาแนกออกได้เป็น 10 ลักษณะ คือ 2.1. ความหมายจากรูปศัพท์ โดยรูปศัพท์ การพัฒนา มาจากคาภาษาอังกฤษว่า Development แปลว่า การเปลี่ยนแปลงที่ละเล็กละน้อย โดยผ่านลาดับขั้นตอนต่างๆ ไปสู่ระดับที่สามารถขยายตัวขึ้น เติบโตขึ้น มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น และเหมาะสมกว่าเดิมหรืออาจก้าวหน้า ไปถึงขั้นที่อุดมสมบูรณ์เป็นที่น่าพอใจ ส่วนความหมายจากรูปศัพท์ในภาษาไทยนั้น หมายถึง การทาความเ จริญ การเปลี่ยนแปลงในทางที่เจริญขึ้น การคลี่คลายไปในทางที่ดี ถ้าเป็นกริยา ใช้คาว่า พัฒนา หมายคว ามว่า ทาให้เจริญ คือ ทาให้เติบโตได้ งอกงาม ทาให้งอกงามและมากขึ้น เช่น เจริญทางไมตรี การพัฒนา โดยความหมายจากรู ปศัพท์จึงหมายถึง การเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดความเจริญเติบโตงอกงามและดีขึ้นจนเป็นที่พึงพอใ
  • 5. จ ความหมายดังกล่าวนี้ เป็นที่มาของความหมายในภาษาไทยและเป็นแนวทางในการกาหนดความหมายอื่ นๆ 2.2. ความหมายโดยทั่วไป การพัฒนา ที่เข้าใจโดยทั่วไป มีความหมายใกล้เคียงกับความหมายจากรูปศัพท์ คือ หมายถึง การทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีกสภาพหนึ่งที่ดีกว่าเดิมอย่างเป็นระบบ หรือก ารทาให้ดีขึ้นกว่าสภาพเดิมที่เป็นอยู่อย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบทางด้านคุณภาพระหว่างสภาพก ารณ์ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงเวลาที่ต่างกัน กล่าวคือ ถ้าในปัจจุบันสภาพการณ์ของสิ่งนั้นดีกว่า สมบูรณ์กว่ าก็แสดงว่าเป็นการพัฒนา การพัฒนา ในความหมายโดยทั่วไปจึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดคุณภาพดีขึ้นกว่าเดิม ความหมายนี้ นับว่าเป็นความหมายที่รู้จักกันโดยทั่วไป เพราะนามาใช้มากกว่าความหมายอื่นๆ แม้ว่าจะไม่ เป็นที่ยอมรับของนักวิชาการก็ตาม 2.3. ความหมายทางเศรษฐศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ว่า หมายถึง ความเจริญเติบโต โดยเน้นความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นสาคัญ เช่น ผลผลิตรวมของประเทศเพิ่มขึ้น รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อคนของประชากรเพิ่มขึ้น มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้น ประชากรมีรายได้เพียงพอที่สามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานขอ งตนได้ ซึ่งอาจสรุปได้ว่า การพัฒนา เป็นกระบวนการทางสังคม ที่ผลผลิตออกมาในรูปซึ่งสามารถวัดได้ด้วยเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์ จะเห็นได้ว่า นักเศรษฐศาสตร์ได้กาหนดความหมายของการพัฒนา โดยใช้ความหมายจากรูปศัพท์แล ะความหมายโดยทั่วไป คือ หมายถึง ความเจริญเติบโต แต่เป็นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ตามเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นการเน้นความหมายเชิงปริมาณ คือ การเพิ่มขึ้น หรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าด้านอื่นๆ 2.4. ความหมายทางพัฒนบริหารศาสตร์ นักพัฒนาบริหารศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา เป็น 2ระดับ คือ ความหมายอย่างแคบและความหมายอย่างกว้าง ความหมายอย่างแคบ การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการกระทาการให้ดีขึ้นอันเป็นการเปลี่ยนแปลงในด้านคุณภาพเพียงด้ านเดียว ส่วนความหมายอย่างกว้างนั้น การพัฒนา เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการก ระทาทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นไปพร้อมๆ กัน ไม่ใช่ด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว
  • 6. การพัฒนา ในความหมายของนักพัฒนบริหารศาสตร์จะมีขอบข่ายกว้างขวางกว่าความหมายจากรูปศั พท์ ความหมายโดยทั่วไป และความหมายทางเศรษฐศาสตร์ที่กล่าวมาแล้ว เพราะหมายถึง การเปลี่ยนแป ลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทั้งในด้านคุณภาพ (ดีขึ้น) ปริมาณ (มากขึ้น) และสิ่งแวดล้อม (มีความเหมาะสม) ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดี ยว 2.5. ความหมายทางเทคโนโลยี ในทางเทคโนโลยี การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรม และการผลิตด้วยเทคโ นโลยีที่ทันสมัย ด้วยนักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ ทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงจากสังคมประเพณีนิยม เป็ นสังคมสมัยใหม่ที่ทันสมัย หรือ การพัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของมนุษย์ด้วยเทคโนโลยีนั่นเอง จะเห็นได้ว่า ความหมายของ การพัฒนา ในทางเทคโนโลยีแตกต่างออกไปจากความหมายที่กล่าวมา แล้วข้างต้น โดยหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ทันสมัยด้วยความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทค โนโลยี ซึ่งเป็นความหมายอีกแนวทางหนึ่ง 2.6. ความหมายทางการวางแผน ในทางการวางแผน การพัฒนา เป็นเรื่องเกี่ยวกับการชักชวน การกระตุ้นเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ด้วยการปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจัง เป็นไปตามลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกันเป็นวงจร โดยไม่มีก ารสิ้นสุด ซึ่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (The United National Educatio nal, Scientific and cultural Organization : UNESCOสรุปได้ว่า การพัฒนาเป็นหน้าที่ (Function) ของการวางแผนและการจัดการ ดังนี้ D = f (P+M) เมื่อ D = Development คือ การพัฒนา P = Planning คือ การวางแผน M = Management คือ การบริหารงานหรือการจัดการ ดังนั้น การพัฒนา จะเกิดขึ้นได้ด้วยการวางแผนที่ดี มีการบริหารงานและการจัดการอย่างเป็นระบบ ทาให้การดาเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ การพัฒนา ในความหมายของนักวางแผน จะเป็นไปอีกแนวทางหนึ่ง โดยอาจสรุปได้ว่า หมายถึง ก ารเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของมนุษย์ไว้ล่วงหน้า ในลักษณะของแผนและโครงการ แล้วบริ
  • 7. หารหรือจัดการให้เป็นไปตามแผนและโครงการจนประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วาง ไว้ จะเห็นได้ว่าความหมายของการพัฒนาทางการวางแผนกาหนดให้การพัฒนาเป็นกิจกรรมของมนุษย์และ เกิดขึ้นจากการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเท่านั้น การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้เกิดจากการวางแผนโดยมนุษย์ ไม่ใช่ก ารพัฒนาในความหมายนี้ 2.7. ความหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติ ในขั้นของการปฏิบัติ การพัฒนา หมายถึง การชักชวนหรือการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยกา รปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจังและเป็นลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกันในลักษณะที่เป็นวงจร ไม่มีการ สิ้นสุด การพัฒนา ในความหมายของการปฏิบัติการนี้เป็นความหมายต่อเนื่องจากความหมายทางการวางแผ นโดยมุ่งเน้นถึงการนาแผนและโครงการไปดาเนินการอย่างจริงจังและอย่างต่อเนื่อง เพราะถึงจะมีแผนและ โครงการแล้วแต่ถ้าหากไม่มีการนาไปปฏิบัติการพัฒนาก็ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ 2.8. ความหมายทางพระพุทธศาสนา พระราชวรมุนี ได้ให้ความหมายและอธิบายไว้ว่า ในทางพุทธศาสนา การพัฒนา มาจากคาภาษาบา ลีว่า วัฒนะ แปลว่า เจริญ แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ การพัฒนาคน เรียกว่า ภาวนา กับการพัฒนาสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่คน เช่น วัตถุสิ่งแวดล้อมต่างๆ เรียกว่า พัฒนา หรือ วัฒนา เช่น การสร้างถนน บ่อน้า อ่างเก็บน้า เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่องของการเพิ่มพูนขยาย ทาให้มากหรือทาให้เติบโตขึ้น ทางวัตถุและได้เสนอข้อคิดไว้ว่า คาว่า การพัฒนา หรือ คาว่า เจริญ นั้นไม่ได้แปลว่าทาให้มากขึ้น เพิ่มพูนขึ้นอย่างเดียวเท่านั้น แต่มีความหมายว่า ตัดหรือทิ้ง เช่น เจริญพระเกศา คือตัดผม มีความหมายว่า รก เช่น นุสิยา โลกวฑฺฒโน แปลว่า อย่างเป็นคนรกโลกอีกด้วย ดังนั้น การพัฒนาจึงเป็นสิ่งที่ทาแล้วมีความเจริญจริงๆ คือ ต้องไม่เกิดปัญหาติดตามมาหรือไม่เสื่อมลงกว่าเดิม ถ้าเกิดปัญหาหรือเสื่อมลง ไม่ใช่เป็นการพัฒนา แต่เป็น หายนะ ซึ่งตรงกันข้ามกับการพัฒนา กล่าวได้ว่า การพัฒนา ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนให้มีความสุขมีสภาพแวดล้อ มที่เหมาะสม การพัฒนาในความหมายนี้ มีลักษณะเดียวกันกับการพัฒนาในความหมายทางด้านการวางแผ น คือ เป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น แตกต่างกนเพียงการวางแผนให้ความสาคัญที่วิธีการดาเนินงาน ส่วนพุทธศาสน ามุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้น คือ ความสุขของมนุษย์เท่านั้น ) 2.9. ความหมายทางสังคมวิทยา
  • 8. นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคม ซึ่งได้แก่ คน กลุ่มคน การจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคม ด้วยการจัดสรรทรัพยากรของสังคมอย่างยุติธรรมและมีประสิทธิภาพ การพัฒนา เป็นทั้งเป้าหมายและกระบวนการที่ครอบคลุมถึงการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนต่อชีวิตและการทางาน กา รเปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ ทางสังคม วัฒนธรรมและการเมืองอีกด้วย นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา โดยเน้นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคม คือ มนุษย์ กลุ่มทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับความหมายในทางพุทธศาสนา คื อ การเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสิ่งแวดล้อมให้มีความสุข และมีลักษณะเช่นเดียวกับความหมายทางการวางแ ผน คือ ด้วยวิธีการจัดสรรทรัพยากรของสังคมอย่างยุติธรรมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งนักวางแผน เรียกว่า การบริหารและการจัดการนั่นเอง 2.10. ความหมายทางด้านการพัฒนาชุมชน นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ว่า หมายถึง การที่คนในชุมชนและสังคมโดย ส่วนรวมได้ร่วมกันดาเนินกิจกรรมเพื่อปรับปรุงความรู้ความสามารถของตนเอง และร่วมกันเปลี่ยนแปลงคุ ณภาพชีวิตของตนเองชุมชนสังคมให้ดีขึ้น การพัฒนาเป็นเสมือนกลวิธีหรือมรรควิธี (Mean) ที่ทาให้เกิดผล (Ends) ที่ต้องการ คือ คุณภาพชีวิต ชุมชน และสังคมดีขึ้น นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ใกล้เคียงกับนักสังคมวิทยา คือ เป็นวิธีการเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสังคมมนุษย์ให้ดีขึ้น แต่นักพัฒนาชุมชนมุ่งเน้นที่มนุษย์ในชุมชนต้องร่ว มกันดาเนินงานและได้รับผลจากการพัฒนาร่วมกัน จากความหมายในด้านต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่า การพัฒนา มีความหมายที่คล้ายคลึง กันและแตกต่างการออกไปบ้าง ซึ่งถ้าหากพิจารณาจากความหมายเหล่านี้อาจสรุปได้ว่า การพัฒนา หมายถึ ง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ดีขึ้น ทั้งทางด้านคุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดล้อม ด้วยก ารวางแผนโครงการและดาเนินงานโดยมนุษย์ เพื่อประโยชน์แก่ตัวของมนุษย์เอง
  • 10. 3.ไปคุยกับทางวัดเขาเม็งอมรเมรศ์ในเรื่องที่จะยืมสถานที่วัดในการทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด 4.กาหนดวันที่จะไปทาโครงการ คือ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558 5.เตรียมอุปกรณ์ที่จะนาไปพัฒนาวัด 6.ไปทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ณ วัดเขาเม็งอมรเมรศ์ 6.1 เก็บขยะบริเวณวัด 6.2 กวาดลานวัด 6.3 กวาดถนนภายในวัด
  • 12. 7. เขียนรายงาน พร้อมสรุป และอภิปรายผล 8. นาเสนอโครงการ