SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
1.อยุธยา สมเด็จพระรามาธิบดี ที่1 ทรงก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาตั้งแต่ 
พ.ศ.1893 สภาพการเมืองการปกครองสมัยอยุธยาแบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ 
ช่วง พ.ศ.1893-1991 และช่วงหลังการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จ 
พระบรมไตรโลกนาถช่วง พ.ศ.1991-2031 
อยุธยาปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ทรงเป็น 
ผู้นำาสูงสุดของอาณาจักรและทรงไว้ซึ่งพระราชอำานาจเด็ดขาดแต่ 
พระองค์เดียวในการปกครองทั้งในช่วงยามสงบและช่วงสงคราม พระ 
มหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาทรงได้รับแนวคิดเรื่องเทวราชา ซึ่งมาจาก 
เขมรและเขมรเองก็รับมาจากอินเดียซึ่งคติเรื่องเทวราชามีพื้นฐานจาก 
ลัทธิพราหมณ์ซึ่งมีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ทรงมิใช่มนุษย์ธรรมดา 
พระมหากษัตริย์มีความศักดิ์สิทธิ์สูงส่งและมีอำานาจน่าเกรงขาม ด้วยเหตุ 
นี้ ได้มีส่วนช่วยสนับสนุนให้อาณาจักรอยุธยาที่มีอาณาจักรกว้างใหญ่ 
ไพศาลสามารถดำารงอยู่ได้นานหลายร้อยปีแม้ต้องเผชิญกับความ 
ผันผวนทางการเมืองหลายอย่าง เช่น พระมหากษัตริย์ที่มีความอ่อนแอ 
หลายพระองค์ การแย่งชิงราชสมบัติเกิดขึ้นหลายครั้ง 
รูปแบบการปกครองอยุธยา พ.ศ.1893-1991 ปกครองโดยแบ่งการ 
ปกครองออกเป็นการปกครองส่วนกลางและการปกครองหัวเมือง การ 
ปกครองส่วนกลางมีราชธานีเป็นศูนย์กลางพระมหากษัตริย์ทรงปกครอง 
ด้วยพระองค์เองโดยมีขุนนาง 4 กรมช่วยดูแล คือ กรมเวียง เป็น 
พนักงานปกครองท้องที่ รักษาความสงบเรียบร้อยในเขตเมืองและ 
บริเวณใกล้เคียง กรมวัง เป็นหัวหน้าในพระราชสำานัก และดูแลเรื่อง 
ความยุติธรรม กรมคลัง เป็นพนักงานรับจ่ายและเก็บรักษาพระราช 
สมบัติที่ได้มาจากการเก็บภาษีอากร กรมนา เป็นพนักงานตรวจตราการ 
ทำาไร่นา ออกหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์แก่ชาวนารวมทั้งเก็บหางข้าวขึ้น 
ฉางหลวงเก็บไว้ในราชการ ส่วนการปกครองหัวเมืองนั้นเมืองอยู่ห่าง 
จากราชธานีแต่มีความสำาคัญต่อเมืองหลวงทั้งด้านเศรษฐกิจและการ 
ทหารอยุธยาจะส่งเจ้านายไปปกครองหัวเมืองเหล่านี้จะมีอิสระในการ 
ปกครองค่อนข้างมาก 
เศรฐกิจ อยุธยามีที่ตั้งอยู่ในเขตที่ราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยาตอนล่าง 
ดินจึงมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกการเกษตรจึงได้ผลดี 
เป็นอย่างมากพืชสำาคัญคือ ข้าว พริกไทย ฝ้าย หมาก มะพร้าว และผล 
ไม้ต่างๆ และการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ เช่นจีน ญี่ปุ่น อินเดียว 
อาหรับ ด้วยเพราะอยุธยาตั้งอยู่ริมฝั่งแม่นำ้าไม่ไกลจากทะเลเหมาะแก่ 
การค้าขายกับต่างประเทศอันเป็นแหล่งรายได้ของรัฐทำาให้อยุธยามี 
ความมั่งคั่ง
สังคม อยุธยาประกอบด้วยกลุ่มคนแบ่งออกเป็น 6 ชนชั้น คือ พระ 
มหากษัตริย์ทรงมีอำานาจสูงสุดในการบริหารทุกด้าน เจ้านายประกอบ 
ด้วย พระราชโอรถ ธิดาและเชื้อพระวงศ์มีหน้าที่ช่วยราชการแผ่นดิน 
ตามคำาสั่งของพระมหากษัตริย์ ขุนนาง คือชนชั้นสูงรับราชการกับ 
พระเจ้าแผ่นดิน พระสงฆ์ คือ บุคคลที่บวช ไพร่ เป็นเสรีชนที่ต้องใช้ 
แรงงานรัฐบาล และควบคุมโดยขุนนางและเจ้านายซึ่งเรียกรวมกันว่า 
มูลนาย ทาศ คือชนกลุ่มน้อยของสังคมที่ได้จากการกวาดต้อนผู้คนจาก 
เมืองที่แพ้สงครามหรือที่มาจากการขายตัวเองเมื่อยากจน 
ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ.1991-2031 ได้มีการปรับปรุงรูป 
แบบการปกครองที่ใช้อยู่ในสมัยอยุธยาตอนต้นให้มีประสิทธิภาพยิ่งกว่า 
เดิมการปฏิรูปการปกครอง พ.ศ.1998 ครั้งนี้มีความสำาคัญต่อการ 
การเมืองการปกครองของไทยเป็นอย่างมาก เพราะรูปแบบการปรับปรุง 
การปกครองใหม่ครั้งนี้ใช้เป็นหลักการปกครองอาณาจักร มาจนถึงรัช 
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 
สาเหตุที่ทรงปฏิรูปการปกครองมี 2 ประการ คือ การปกครองหัวเมืองที่ 
ใช้ระบบเมืองลูกหลวงเมืองหลานหลวงนั้นมีจุดอ่อนค่อนข้างนอกเพราะ 
ผู้ปกครองเมืองเหล่านั้นเป็นเจ้านายชั้นสูงมีอำานาจในการปกครองค่อน 
ข้างอิสระ ทางส่วนกลางแทบไม่ได้เข้าไปควบคุมการบริหารเลย เพราะ 
ความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับพระมหากษัตริย์จึงทรงวางพระทัยจึงเปิด 
โอกาสให้เมืองเหล่านี้ซ่องสุมกำาลังคนสร้างอำานาจทางการเมืองได้อย่าง 
มากมายจนสามารถคุกคามความปลอดภัยของราชบัลลังก์ ดังเช่น 
เหตุการณ์ ขุนหลวงพระงั่วเจ้าเมืองสุพรรณบุรีแย่งชิงราชบัลลังก์จาก 
สมเด็จพระราเมศวรในปีพ.ศ.1913 และในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลก 
นาถอยุธยามีอาณาเขตขยายออกไปอย่างกว้างขวางมากกว่าช่วงก่อตั้ง 
แรกมาก เนื่องจากการที่รวมอาณาจักรสุโขทัยเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ 
อยุธยาในสมัยเจ้าสามพระยาจึงจำาเป็นต้องเปลี่ยนการปกครองให้ดีมี 
ประสิทธิภาพมากกว่าเดิมให้สามารถควบคุมสุโขทัยซึงเพิ่งจะรวมกับ 
อยุธยาไว้ได้อย่างปลอดภัยไม่ให้สุโขทัยก่อปัญหาแยกตัวออกจาก 
อยุธยาซึ่งอาจจะทำาให้สุโขทัยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้าน 
นาซึ่งเป็นคู่แข่งสำาคัญของอยุธยานขณะนั้น 
ลักษณะการปฏิรูป สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถยึดหลัก 3 ประการ 
คือ 1.การดึงอำานาจเข้าสู่ส่วนกลางและจัดระเบียบการปกครองส่วนกลาง 
ใหม่ ด้วยการตั้งกรม 2 กรม คือ กรมกลาโหมมีอัครมหาเสนาบดีตำาแหน่ง 
สมุหพระกลาโหมเป็นผู้ควบคุมกิจการด้านทหารทั่วราชอาณาจักร กรม 
มหาดไทยอัครมหาเสนาบดีตำาแหน่งสมุหนายกดูแลควบคุมงานฝ่าย 
พลเรือนทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งกรม จัตุสดมภ์ เวียง เปลี่ยนชื่อเป็น
กรมนครบาล มีหน้าที่ในการปกครองท้องที่ ปราบปรามโจรผู้ร้ายรักษา 
ความสงบภายในดูแลกรมเล็กๆในรับผิดชอบของนครบาล เช่น กรมกรม 
กองตระเวณขวา-ซ้ายเสนาบดีผู้บังคับบัญชา ได้รับพระราทานยศและ 
ราชทินนามว่า พระยายมราชอินทราธิบดีศรีวิชัยบริรักษ์โลกากร เรียก 
สั้น ๆ ว่า พระยายมราช มีศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำาตำาแหน่ง ตรา 
พระยมราชขี่สิงห์ กรมวังเปลี่ยนชื่อเป็น ธรรมมาธิกรณ์หน้าที่รับผิดชอบ 
งานราชสำานักทั้งหมดทั้งด้านธุระการละพิธีการต่างๆรวมตั้งดูแลด้าน 
ความยุติธรรมและมีหน้าที่แต่งตั้งขุนนางตำาแหน่งยุกระบัตรซึ่งมีหน้าที 
สอดส่องดูแลการทำางานของเจ้าเมืองคอยรายงานให้ส่วนกลางทราบ 
เป็นเสมือนสายลับของพระเจ้าแผ่นดิน เสนาบดีผู้บังคับ บัญชาได้รับ 
พระราชทานยศและทินนามว่าพระยาธรรมาธิบดีศรีวิริยพงษวงษภักดี 
บดินทรเดโชชัยมไหสุริยาธิบดีศรีรัตนมนเทียรบาลเรียกสั้นว่าพระยาธร 
รมาธิบดี ศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำาตำาแหน่ง ตราเทพยดาทรงพระ 
โค กรมคลังเปลี่ยนชื่อเป็นโกษาธิบดี หน้าที่จ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ 
ที่ได้มาจากการเก็บภาษีอากรดูแลการค้าสำาเภาต่อมามีหน้าที่เพื่อคือเป็น 
ผู้ดูแลรับรองคณะทูตจากต่างประเทศควบคุมชาวต่างชาติเข้าอยุธยา 
เสนาบดีผู้บังคับบัญชาได้รับพระราชทานยศและราชทินนามว่า 
เจ้าพระยาศรีธรรมราชเดชชาติอำามาตยานุชิตพิพธรัตนราชโกษาธิบดี 
เรียกสั้นว่า ๆ ว่า พระยาศรีธรรมราช มีศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำา 
ตำาแหน่ง ตราบัวแก้ว 
กรมนาเปลี่ยนเป็นเกษตราธิการหน้าที่ตรวจตราและส่งเสริมการทำานา 
ของประชาชนเก็บหางข้าวออกโฉนดที่นาจัดซื้อข้าวขึ้นฉางหลวง 
ตัดสินข้อพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่นา เสนาบดีผู้บังคับบัญชา ได้รับ 
พระราชทานยศและราชทินนามว่า เจ้าพระยาพล-เทพราชเสนาบดีศรี 
ไชยนพรัตน์เกษตราธิบดี เรียกสั้น ๆ ว่า พระยาพลเทพราชเสนา 
ศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำาตำาแหน่ง 9 ดวง ใช้ในโอกาสต่าง ๆ 
2.หลักการแบ่งแยกหน้าที่ มีการแบ่งหน่วยงานราชการเป็น 2 ฝ่าย คือ 
กรมฝ่ายทหารและกรมฝ่ายพลเรือน รวมทั้งแบ่งพลเมืองหรือไพร่ออก 
เป็น 2 ฝ่าย คือ ไพร่ฝ่ายทหารและไพร่ฝ่ายพลเรือน 3.หลักการถ่วง 
ดุลอำานาจ คือ การแบ่งอำานาจของขุนนางออกเป็น 2 ฝ่ายแล้วให้ถ่วงดุล 
ซึ่งกันและกันเพื่อป้องกันไม่ให้ขุนนางชั้นผู้ใหญ่สมคบกันคิดการโค่น 
ราชบัลลังภ์ และการออกกฎหมายควบคุมพฤติกรรมของเจ้าเมือง เช่น 
ห้ามเจ้าเมืองต่างๆติดต่อกันหากละเมิดโทษถึงตาย 
กล่าวโดยสรุปแล้วการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระบรม 
ไตรโลกนาถนั้นได้สร้างความเป็นปึกแผ่นและความเป็นระเบียบอย่าง 
มากในการปกครองในสมัยอยุธยายังผลให้อาณาจักรอยุธยาสามารถ
ยั่งยืนยาวนานหลายร้อยปี แม้ต้องพบกับความผันผวนทางการเมืองหาย 
ครั้งเช่นการทำาสงครามกับอาณาจักรเพื่อนบ้าน การออกกฎหมาย 
ควบคุมพฤติกรรมของเจ้าเมือง เช่น ห้ามเจ้าเมืองต่างๆติดต่อกันหาก 
ละเมิดโทษถึงตายและการกำาหนดศักดินาในสมัยสมเด็จพระบรม 
ไตรโลกนาถทำาให้กรุงศรีอยุธยาเป็นปึกแผ่นมีระเบียบแบบแผนในการ 
ปกครอง อำานาจถูกรวมไว้ที่พระมหากษัตริย์ เป็นรูปแบบที่เรียกว่า 
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่สมบูรณ์ที่สุดในระบบการปกครองที่มีพระมหา 
กษัตริย์เป็นประมุข 
เศรษฐกิจ หลังการปฏิรูปการปกครอง เศรษฐกิจของอยุธยายังคง 
อยู่กับการเกษตรและการค้ากับต่างประเทศโดยอยุธยาหันไปค้าขายกับ 
ต่างประเทศมากขึ้นเนื่องจากสามารถควบคุมหัวเมืองให้ส่งส่วยสิ่งของ 
ตามต้องการของตลาด เช่น ดีบุก งาช้าง พริกไทย เครื่องเทศ การค้ากับ 
ต่างประเทศรุ่งเรืองเป็นอันมากในสมัยพระมหาจักรพรรดิและหันมา 
ผูกขาดการค้า มีการออกกฎหมายสินค้าต้องห้าม จัดระเบียบการค้าและ 
การเก็บภาษีที่รัดกุมทำาให้รัฐบาลมีฐานะรำ่ารวยและหันมาพึ่งกับการ 
ค้าขายต่างประเทศมากขึ้น แต่ก็มีผลกระทบ คือ หากเมื่อการค้าตกตำ่า 
เศรษฐกิจของอยุธยาก็ต้องตกตำ่าไปด้วย 
ทางการเมือง หลังการปฏิรูปการปกครองมีการเปลี่ยนแปลง 
ทางการเมืองที่สำาคัญคือ การปรับปรุงระเบียบไพร่ และการทำาสงคราม 
กับพม่า การปรับปรุงระเบียบไพร่มีในสมัยพระรามาธิบดีที่2 ทรงสำารวจ 
สำามะโนครัวนับว่าเป็นครั้งแรกของอยุธยาเนื่องจากเพราะในสมัยสมเด็จ 
พระบรมไตรโลกนาถอยุธยาได้ทำาสงครามกับล้านนากันนานไพร่พล 
ของอยุธยาจึงตายมาก ต้องมีการจัดระเบียบไพร่ใหม่เพื่อสะดวกในการ 
ดูแล แบ่งประเภทของไพร่ออกเป็น ไพร่หลวง คือ ไพร่ของพระมหา 
กษัตริย์ จะใช้แรงงานให้แก่รัฐ เช่น ขุดคลอง สร้างกำาแพง สร้างถนน 
ไพร่สม เป็นไพร่ส่วนตัวของพวกมูลนายคือเจ้านายและขุนนางพระ 
มหากษัตริย์จะพระราชทานไพร่สมให้แก่พวกมูลนายตามศักดินาเพื่อใช้ 
ทำางานส่วนตัวของพวกมูลนายนั้นๆและเพื่อเป็นเกียติยศแสดงถึงฐานะ 
ทางสังคมด้วย เมื่อมูลนายเสียชีวิตก็เป็นมรดกของลูกหลานมูลนายต่อ 
ไป การที่อาณาจักรอยุธยามีความมั่นคงสภาพกำาลังทหารที่เข้มแข็ง 
ทำาให้อยุธยาแผ่ขยายอำานาจออกไปเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทาง 
เศรษฐกิจเช่นการเข้าครอบครองเมืองท่าการค้ามะริด ตะนาวศรี อยุธยา 
ยังขยายอำานาจเข้าไปในดินแดนมอญทางด้านตะวันตก และล้านนาทาง 
ด้านเหนือซึ่งทำาให้อยุธยาต้องเผชิญกับพม่าการแย่งชิงอำานาจในมอญ 
ระหว่างอยุธยากับพม่าก่อให้เกิดสงครามเมืองเชียงกรานตรงกับสมัย 
สมเด็จพระไชยราชาธิราช
ทางสังคม หลังการปฏิรูปการปกครองมีการเปลี่ยนแปลงทาง 
สังคมที่สำาคัญ 2 ประการ คือ การขึ้นมามีอำานาจของชนชั้นขุนนาง และ 
การรับวิทยาการจากชาติตะวันตก การขึ้นมามีอำานาจของชนชั้นขุนนาง 
เป็นปัญหาของอยุธยาตลอดมา การถ่วงดุลอำานาจชนชั้นเจ้านายและ 
ชนชั้นขุนนางให้อยู่ในดุลที่เหมาะสมให้เจ้านายและขุนนางคานอำานาจ 
กันเองเพื่อจะได้ไม่เป็นภัยต่อราชบัลลังภ์ การรับวิทยาการจากชาติ 
ตะวันตก พระรามาธิบดีที่ 2 โปรตุเกสเข้ามาทำาการค้ากับอยุธยา อยุธยา 
ได้วิทยาการการทำาสงครามจากโปรตุเกสเป็นอันมาก เช่น การทำาปืน 
ใหญ่ การหล่อปืนกระสุนดินดำา ทำาให้อำานาจด้านการทหารเข้มแข็งมาก 
2.สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 
ทางเศรษฐกิจ คือสภาพทางเศรษฐกิจที่ทรุดลงอย่างหนักทั้งใน 
ประเทศและทั้งโลกทำาให้รัฐบาลได้แก้ปัญหาเศรษฐกิจค่อนข้างรุนแรง
เช่น 1.วิธีแก้ปัญหาการขาดดุลของรายได้และรายจ่ายของประเทศโดย 
การตัดตอนรายจ่ายของประเทศที่ฟุ่มเฟือยขณะที่รายจ่ายในการสำานัก 
ยังฟุ้งเฟ้อเกินความจำาเป็นทำาให้ความเจริญในสังคมต่างๆหยุดชะงักลง 
ประชาชนไม่ได้รับผลดีจากการประหยัดดังกล่าวรัฐบาลไม่ได้ใส่ใจกับ 
ประชาชนแต่ให้ความสนใจกับชนชั้นสูงเป็นการเล่นพรรคเล่นพรรค 
ประกอบกับการดุลข้าราชการออกจากตำาแหน่งและการลดเงินเดือน 
ข้าราชการเป็นส่วนสำาคัญ 2.วิธีแก้ปัญหาทางการเงิน โดยการเก็บภาษี 
เพิ่มเพื่อเพิ่มรายได้และจัดทำางบประมาณของประเทศ ขณะที่ผู้เสียภาษี 
ต้องเดือดร้อนทำาให้ประชาชนมีความคิดในแง่ลบต่อรัฐบาล 3.วิธีการ 
ประกาศเพิ่มชนิดของภาษีลักษณะต่างๆเริ่มขึ้นเมื่อทางกระทรวงพระคลัง 
มหาสมบัติไม่สามารถเก็บภาษีรายได้เพิ่มขึ้นและตัดตอนรายจ่ายจนไม่ 
อาจจะตัดตอนได้อีกแล้ว วิธีแก้ปัญหาการขาดดุลไม่บรรลุผลมากนัก แต่ 
ผลตกอยู่ในกลุ่มผู้เสียประโยชน์ การเพิ่มภาษีสร้างความเดือดร้อนต่อ 
กลุ่มคนจนกลุ่มคนรวยไม่กระทบมากนัก 
ทางสังคม ได้แก่ 1.ได้รับอิทธิพลของการศึกษาจากชาติตะวันตก 
แนวคิดของนักศึกษาต้องการนำาเอาระบอบประชาธิปไตยมาใช้แทนการ 
ปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กระแสแนวคิดดังกล่าวได้เพิ่ม 
ความรุนแรงขึ้นเริ่มตั้งแต่ ร.4-ร.7 และพระมหากษัตริย์ก็ต้องการ 
เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองใหม่ 2.ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น 
สังคมประกอบด้วยชนหลายกลุ่มแบ่งเป็นชนชั้น เช่น ไพร่หรือสามัญชน 
และเจ้า เป็นต้น และสังคมยอมรับความเป็นชนชั้นชาติกำาเนิด บรรดา 
เชื้อพระวงศ์ได้รับราชการกันทั่วหน้า ในทางกลับกันสำาหรับคนที่มีความ 
รู้มีการศึกษากลับไม่มีโอกาสได้รับราชการ การปกครองระบอบ 
สมบูรณาญาสิทธิราชย์จึงตกอยู่ในอำานาจของกลุ่มคน 3.บทบาทของ 
หนังสือพิมพ์ มีส่วนสำาคัญที่ประชาชนได้รับข่าวสารข้อมูล หนังสือพิมพิ์ 
ที่เป็นของสามัญชนที่ไม่ใช่เชื้อพระวงศ์ เช่น หนังสือพิมพ์ตุลยวิภาค 
พจนกิจ ของเทียนวรรณ ซึ่งต้องการให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการ 
บริหารงานของรัฐบาล ข้อคิดทำาให้ประชาชนลดความศรัทธาต่อรัฐบาล 
ทางการเมืองการปกครองเกิดจากความไม่พอใจในการ 
ปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จ 
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่อยมาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า 
เจ้าอยู่หัวความไม่พอใจดังนี้ ทหารมีความรู้สึกว่าถูกเหยียดหยามไม่ได้ 
รับความสนใจจากผู้นำา สิ้นเปลืองงบประมาณแผ่นดินโดยไม่มีเหตุผล 
การแบ่งชนชั้นระหว่างพวกที่เรียกตนเองว่า เจ้ากับไพร่ฯลฯ 2.ความไม่ 
พอใจระบบอภิรัฐมนตรี เมื่อพระเจ้าอยู่หัว ร.7 ขึ้นครองราชย์ พระองค์ 
เคยรับราชการมาแต่ทหารจึงต้องการผูมีความรู้ความชำานาญด้าน
ราชการพลเรือนจึงทรงตั้งอภิมนตรีสภาเพื่อช่วยงานด้านนี้มีสมาชิดเป็น 
สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ ทำาให้มีบุคคลหลายระดับไม่พอใจในการแต่งตั้ง 
และดำาเนินงานของคณะอภิรัฐมนตรีสภาเพราะสมาชิกล้วนแล้วแต่เป็น 
พระราชวงศ์ทุกคราว สามัญชนที่มีความรู้ความชำานาญความสามารถไม่ 
ได้รับการแต่งตั้งเป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงมากขึ้น 
ระหว่างเจ้ากับขุนนางและผู้ได้รับการศึกษา 3. ความแตกแยกในกองทัพ 
ไทย ได้เกิดขึ้นจากการดุลข้าราชการออกจากราชการจนถึงกับเสนาบดี 
กระทรวงกลาโหมลาออกจากตำาแหน่งพร้อมทั้งกลุ่มนักเรียนทหารจาก 
ฝรั่งเศสต้องการระบบทหารแบบฝรั่งเศส 4.ความขัดแย้งเรืองส่วนตัว 
ระหว่างนักศึกษากับพระราชวงศ์ชั้นสูงบางพระองค์นักศึกษาไทยใน 
ฝรั่งเศสได้ฟ้องมายังสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าเอกอัครราชทูตไทย 
ทำาความเสื่อมเสียต่อประเทศเรื่องโกงเงินหลวงที่เป็นค่าเล่าเรียนของ 
นักศึกษา 
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง รุ่งของ 24 มิ.ย.2475 ทหารบก ทหาร 
เรือได้รวมตัวกันที่พระที่นั่งอนันตสมาคมทั้งหมดเป็นกำาลังจากพระนคร 
บุคคลเหล่านี้มีทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัวตามคำาสั่งปลอมของทหารบกและทหาร 
เรือส่วนนายทหารคนอื่นที่คุมกำาลังได้ตามเสด็จไปเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวที่วัง 
ไกลกังวล หัวหินผู้นำาก่อการเปลี่ยนแปลงได้ประกาศคำาสั่งปฏิวัติ โดย 
พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ฝ่ายพลเรือนนำาโดยนายควง อภัยวงศ์ 
ได้ปฏิบัติการในวันเดียวกันโดยออกตัดสายโทรศัพท์สายโทรเลขเพื่อปิด 
กั้นการสื่อสาร 26 มิ.ย 2475 ยอมรับการสิ้นพระราชอำานาจรับการตั้ง 
รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยในแบบพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแนว 
นโยบายของคณะราช คือการปกครองประเทศต้องเป็นระบอบ 
ประชาธิปไตยแทนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยมีรัฐธรรมนูญเป็น 
กฎหมายสูงสุดและกษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ 
หลัการของคณะราชคือความเป็นเอกราชความปลอดภัยของประเทศ 
บำารุงความสุขของราษฎร ให้ราษฎรทุกคนมีงานทำา ให้ราษฎรมีสิทธิ 
เสมอกันให้ราษฎร มีเสรีภาพ ให้ราษฎรมีการศึกษาอย่างเต็มที่ 
ผลต่อการเมืองการปกครอง การเปลี่ยนแปลงการ 
ปกครอง 2475 ได้เปลี่ยนโครงสร้างของอำานาจคือจากอำานาจอยู่ในมือ 
คนๆเดียวกลายเป็นอำานาจเป็นของประชาชนโครงสร้างอำานาจจึงเป็น 
โครงสร้างใหม่ขึ้นมาที่จะต้องเป็นสถาบันต่างๆเข้ามารับรองการใช้ 
อำานาจอธิปไตยของปวงชนเหล่านีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ประชาชนมี 
อำานาจของตนโดยผ่านรัฐสภา ในพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง 
แผ่นดินชั่วคราวพ.ศ.2475 มาตรา 1 อำานาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็น 
ของปวงชนทั้งหลาย 2.ให้บุคคลและคณะบุคคลต่อไปนี้เป็นผู้มีอำานาจ
แทนราษฎรคือ 1.สถาบันกษัตริย์สถาบันทางการเมืองที่เกิดขึ้นนี้มี 
โครงสร้างใหม่คือ สถาบันกษัตริย์เดิมมีอำานาจสูงสุดเพียงผู้เดียวเป็น 
อำานาจสูงสุดต้องเป็นของราษฎร 2.สภาผู้แทนราษฎรเป็นสถาบันใหม่ที่มี 
ผลมาจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ช่วยให้ประชาชนมีส่วน 
ร่วมทางการเมืองโดยผ่านผู้แทนราษฎร สถาบันนี้ทำาให้ได้เห็นถึงความ 
ต้องการของประชาชนโดยแท้จริง 3.คณะกรรมการราษฎร สภาผู้แทน 
ราษฎรได้เลือกพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นประธานกรรมการ 4.ศาล 
สถาบันนี้คงไว้ซึ่งความยุติธรรมของประชาชน 
ผลกระทบต่อสังคม 1.การศึกษา หลังการเปลี่ยนแปลงการ 
ปกครองได้ทำานุบำารุงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด มีการประกาศใช้แผนการ 
ศึกษา 2475 มีสาระสำาคัญเช่นให้พลเรือนไม่จำากัดเพศ ชาติ ศาสนา ได้ 
รับการศึกษาพอเหมาะแกอัตภาพ รัฐบาลต้องการให้พลเรือนมีความรู้ 
ทางด้านวิชาการและด้านการเมืองจึงจัดตั้ง ม.ธรรมศาสตร์และการเมือง 
ขึ้นมาเพื่ออบรมให้ประชาชนมีความรู้ด้านการเมืองมากขึ้น 2.ด้านความ 
เสมอภาคในสังคม ความมีชนชั้นในสังคมที่เคยมีในอดีตถูกขจัดออกไป 
อย่างช้าๆการแบ่งชั้นวรรณะยังคงมีอยู่บ้างทางพฤตินัยแต่ไม่รุนแรง 
3.ด้านวัฒนธรรมได้มีการแนะนำาให้ประชาชนแต่งตัวเสียใหม่หันมานั่ง 
กางเกงแบบตะวันตก โดยคณะรัฐบาลได้แต่งตัวเป็นแบบอย่างต่อสังคม 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ได้มีการริเริ่มวางแผนเศรษฐกิจแห่ง 
ชาติ มีการศึกษาแบบสังคมนิยมมากขึ้นมีผลกระทบอย่างมากต่อแนวคิด 
ในแง่ที่เป็นนามธรรม มีการแก้ไขเศรษฐกิจให้ดีขึ้น เช่นการปรับปรุงการ 
เก็บภาษีอากรให้เป็นธรรมและออกกฎหมายห้ามนายทุนหรือเจ้าของ 
ที่ดินยึดที่นาจากประชาชนชาวนา มีการลดค่าไปรษณียากร มีการ 
ปรับปรุงเงินเดือนข้าราชการอย่างเป็นธรรม 
3.การเมืองการปกครองสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร 
เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ถึงแกอสัญกรรมแล้มจอมพลถนอม 
กิตติขจรได้รับอำานาจทางการเมืองในฐานะทายาททางการเมืองสืบแทน 
การเมืองในสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร แบ่งเป็น 2 ช่วงคือ ช่วง 
พ.ศ.2506-2511 เป็นแบบเผด็จการแบบเมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ช่วง 
พ.ศ.2511-2514 การปกครองเป็นรูปแบบรัฐสภาภายใต้รัฐธรรมนูญ 2511 
การที่บุคลิกแตกต่างกันมากระหว่างเมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ที่มีความ 
เข้มแข็งเด็ดขาดและจอมพลถนอม กิตติขจรมีบุคลิก อ่อนโยนสุภาพและ 
ชอบประณีประนอมดังนี้มีผู้วิจารณ์ว่ารัฐบาลของจอมพลถนอม กิตติขจร 
อยู่ได้ไม่ยืนยาวแต่กลับตรงกันข้ามจอมพลถนอม กิตติขจรกลับอยู่เป็น
ผู้นำำได้นำนถึง 10 ปีและได้รับกำรสนับสนุนจำกสหรัฐอเมริกำทั้งด้ำน 
กำรทหำรและเศรษฐกิจ 
ลักษณะเศรษฐกิจ 
-- กำรปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยภำยใต้แผนกำรพัฒนำเศรษฐกิจ 
ฉบับแรก (พ.ศ.2504 – 2509) สมัย จอมพลสฤษดิ์ นับว่ำเป็นกำรเริ่ม 
ต้นทำงเลือกแนวใหม่กำรพัฒนำเศรษฐกิจไทย ระบบเศรษฐกิจไทย 
จึงขยำยตัวอยู่ภำยใต้ระบบทุนนิยม 
ลักษณะสังคม 
-- ผลกำรพัฒนำเศรษฐกิจของประเทศ ได้นำำไปสู่กำรขยำยตัว 
ทำงเศรษฐกิจในภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร เกิดกำรเปลี่ยนแปลง 
แรงงำนภำคเกษตรกรรมเข้ำมำสู่ภำคอุตสำหกรรมและบริกำรมำกขึ้น 
ทำงตรงกันข้ำมทำำให้เกิดปัญหำมำกมำย ได้แก่ ปัญหำกำรว่ำงงำน 
ปัญหำกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัย ปัญหำอำชญำกรรม 
ลักษณะทำงกำรเมือง 
-- กำรพัฒนำประเทศภำยใต้แผนพัฒนำของจอมพลสฤษดิ์ มีผล 
ให้ไทยมีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงไทยกับสหรัฐอเมริกำ มีควำมใกล้ชิดมำก 
ขึ้น ในทำงตรงกันข้ำม ไทยกับประเทศอินโดจีนกลับเสื่อมทรำมลง 
กำรพัฒนำประ เทศภำยใต้รัฐธร รมนูญฉบับ พ.ศ. 2511-- 
กำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคมด้ำนต่ำง ๆ ด้ำนกำรศึกษำมีกำรขยำยกำร 
ศึกษำภำคบังคับมีกำรจัดตั้งโรงเรียนระดับประถม มัธยม ระดับมหำวิยำ 
ลัย พ.ศ. 2507 จัดตั้งมหำวิยำลัยเชียงใหม่และมหำวิทยำลัยขอนแก่น 
จอมพลถนอม ได้ดำำเนินกำรที่สำำคัญ 2 ประกำร คือ 
1. กำรประกำศใช้แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ 
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510-2514) นับว่ำเป็นกำรสำนต่อแนวทำงแผนพัฒนำ 
เศรษฐกิจ ฯ ฉบับที่ 1 
2. กำ รปร ะกำศใช้รัฐ ธ ร รมนูญแห่ง ร ำชอ ำณำ จักร ไทย 
พ.ศ. 2511 เป็นรัฐธรรมนูญที่ร่ำงโดยสภำร่ำงรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่วันที่ 3 
กุมภำพันธ์ 2502 จึงเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้เวลำร่ำงนำนที่สุดถึง 
10 ปี สำระสำำคัญของรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2511 
2.1 กำำหนดให้ฝ่ำยบริหำรมีอำำนำจอยู่เหนือฝ่ำยนิติบัญญัติ 
ฝ่ำยบริหำรไม่จำำเป็นต้องมำจำกสภำผู้แทนรำษฎร 
2.2 ให้รัฐสภำประกอบด้วย 2 รัฐสภำ คือ สภำผู้แทนรำษฎร 
และวุฒิสภำ วุฒิสภำมีอำำนำจเท่ำเทียมรัฐสภำผู้แทนรำษฎร 
-- ในกำรนี้เลือกตั้ง พ.ศ. 2512 จอมพลถนอม ได้ก่อตั้งพรรคสห 
ประชำไทย 
กำรเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ
-- ผลจำกกำรขยำยตัวภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร (กำรเงิน 
กำรธนำคำร) ซึ่งไม่ได้ดุลยภำพ กับภำคเกษตรกรรม จึงมีลักษณะ 
กำรจำำเริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ 
กำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคม 
1. กำรเพิ่มจำำนวนของประชำกรของประเทศ โดยเฉลี่ยปีละ 
1 ล้ำนคน 
2. กำรขยำยตัวทำงกำรศึกษำในระดับต่ำง ๆ พ.ศ. 2503 มีผู้ 
อ่ำนออกเขียนได้ร้อนละ 70.8 พ.ศ.2513 81.8 
3. กำรลดจำำนวนแรงงำนภำคเกษตรกรรม จำำนวนแรงงำน 
ภำคเกษตรกรรมลดลงจำำนวนมำก แต่ภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร 
เพิ่มสูงขึ้น ทำำให้เกิดกำรอพยพโยกย้ำยแรงงำนภำคเกษตรสู่ภำค 
อุตสำหกรรมและกำรบริกำร 
กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำรเมือง 
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2511 มีกำรปกครองแบบรัฐสภำก็ตำม แต่ทำง 
ปฏิบัติไม่ได้เป็นลักษณะประชำธิปไตย กำำหนดกฎเกณฑ์ต่ำง ๆ เอื้อ 
อำำนวยต่อกำรอยู่ในอำำนำจเหนือกว่ำฝ่ำยสภำ กำรกำำหนดให้วุฒิสภำมี 
อำำนำจเสมอรัฐสภำ กำรเมืองแบบครึ่ง ๆ กลำงไม่ได้สร้ำงควำม 
แข็งแกร่งให้กับรัฐบำลจอมพลถนอมมำกนัก 
รัฐประหำร 17 พฤศจิกำยน 2514 
-- เป็นกำรทำำรัฐประหำร ยึดอำำนำจตัวเอง โดยอ้ำงว่ำ 
1. มีกำรแตกแยกเป็นกลุ่มเป็นฝ่ำยต่ำง ๆ ภำยในพรรคสหประชำ 
ไทยอันเป็นพรรครัฐบำล สำเหตุที่สำำคัญอีกประกำรหนึ่ง กำรที่สภำผู้ 
แทนรำษฎรอนุมัติพระรำชบัญญัติงบประมำณ ประจำำปี 2513 และ 
พ.ศ.2514 ล่ำช้ำกว่ำกำำหนด เนื่องจำกควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐบำลกับ 
สส. สังกัดพรรครัฐบำล 
2. กำรเมืองแบบรัฐสภำใต้รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2511 ก่อให้ 
เกิดควำมล่ำช้ำในกำรพัฒนำเศรษฐกิจของประเทศในกำรสร้ำงควำม 
มั่นคงของประเทศ 
3. ก่อนกำรปฏิวัติ 17 พฤศจิกำยน 2514 ทำงด้ำนกำรเมือง 
ระหว่ำงประเทศได้มีกำรยอมให้สำธำรณประชำชนจีนเข้ำเป็นสมำชิก 
องค์กำรสหประชำชำติแทนไต้หวัน 
กำรเมืองกำรปกครองไทยในระยะ พ.ศ.2500 – 2516 มีลักษณะ 
กำรปกครองภำยใต้ระบอบกำรทหำรเป็นส่วนใหญ่เกือบทั้งหมด
4.จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 
สำเหตุของกำรรัฐประหำร 20 คุลำคม 2501 
1. ควำมไม่พอใจต่อระบบกำรเมืองแบบประชำธิปไตย โดยอ้ำง 
ว่ำไม่เหมำะสมกับประเทศไทย 2. ฐำนะกำรคลังรัฐบำล วิกฤติกำรณ์ 
ทำงกำรคลัง งบประมำณประจำำปี พ.ศ. 2500 ขำดดุลถึง 2,000 กว่ำ 
ล้ำนบำท 3. ภัยคอมมิวนิสต์ รัฐบำลชุดก่อน ๆ ยกมำเป็นข้ออ้ำงดำำเนิน 
กำรปรำบปรำมเรื่อยมำ 4. สภำพกำรณ์ของสังคมไทยทั่วไป เกิด 
ภำวะแห้งแล้งในภำคอีสำน เกษตรกรได้อพยพเข้ำมำในเขตเมืองเป็น 
จำำนวนมำก เกิดปัญหำทำงสังคมยำกที่จะแก้ไขได้ 
ผลของกำรรัฐประหำร กำรรัฐประหำรภำยใต้กำรนำำของ จอมพล 
สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ไม่ใช่เป็นกำรล้มล้ำงระบอบรัฐธรรมนูญและ 
กระบวนกำรทำงกำรเมืองแบบรัฐสภำเท่ำนั้น แต่เป็นกำรเริ่มต้นระบอบ 
กำรปกครองอันยำวนำนภำยใต้กฎอัยกำรศึก และประกำศคณะปฏิวัติ 
อีกด้วย 
กำรเมืองกำรปกครองตำมทรรศนะของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัช 
ต์ 
1. กำรเมืองไทยจะต้องอำศัยหลักกำรและอุดมกำรณ์ของไทย โดยละทิ้ง 
อุดมกำรณ์ต่ำงประเทศ 2. ควำมเป็นระเบียบของประเทศชำติต้องให้ 
รัฐบำลเป็นตัวแทนของประชำชน ทำำหน้ำที่กำำหนดแนวทำงของชำติ 
ให้รัฐบำลมีอำำนำจสูงสุด และยกเลิกระบบพรรคกำรเมือง 3. กำร 
ปกครองประเทศจะต้องเป็นไปแบบพ่อปกครองลูก (พ่อขุนเผด็จกำร) 
กำรสร้ำงเสถียรภำพทำงกำรเมือง 
1. อำำนำจประชำธิปไตยมำจำกปวงชนนั้น ไม่ใช่ให้ประชำชนเข้ำไปใช้ 
อำำ นำจนี้ แต่หมำยถึง เป็นอำำ นำจที่แสดงบทบำทเป็น ตัวแทน 
เจตนำรมณ์ของปวงชนชำวไทย 2. คณะปฏิวัติเป็นตัวแทนของปวงชน 
ชำวไทย 3. รัฐบำลต้องขึ้นกับควำมประสงค์ของพระมหำกษัตริย์ 4. มี 
กำรแบ่งอำำนำจนิติบัญญัติกับอำำนำจบริหำรอย่ำงเด่นชัด ข้อที่ 4 ถือว่ำ 
เป็นหลักกำรที่เด่นชัดตำมรัฐธรรมนูญกำรปกครองรำชอำณำจักร พ.ศ. 
2502 และเป็นผลงำนที่สำำคัญที่เกิดขึ้นในสมัยรัฐบำลนี้ รัฐธรรมนูญ 
ไทยฉบับต่อ ๆ มำก็ยอมรับหลักกำรนี้ 
ผลงำนด้ำนต่ำง ๆ สมัยรัฐบำล จอมพล สฤษดิ์ ธนนะรัชต์ 
1. ด้ำนกำรครองชีพของประชำชน ได้ลดค่ำไฟฟ้ำ ค่ำโทรศัพท์ 
ค่ำโดยสำรรถไฟ ค่ำเล่ำเรียน ค่ำเครื่องอุปโภคบริโภค ธรรมเนียมภำษี 
บำงชนิด 2. ด้ำนควำมเป็นระเบียบเรียบร้อยของประชำชน ขจัด 
อันธพำล ห้ำมค้ำประเวณี 3. ด้ำนเกี่ยวกับอัคคีภัย ห้ำมสูบฝิ่น 4. 
ด้ำนกำ ร กร ะทำำ เ กี่ย ว กับ คอ ม มิวนิสต์ 5. ด้ำนนโ ยบ ำ ย ต่ำ ง
ประเทศ โดยเข้ำข้ำงสหรัฐอเมริกำอย่ำงเต็มที่ดุจมหำมิตร 6. ด้ำนกำร 
พัฒนำเศรษฐกิจของไทย ได้มีกำรจัดทำำแผนพัฒนำขึ้นเป็นครั้งแรก 
กำรดำำ เนินนโยบำยในประเทศเพื่อกำรพัฒนำประเทศ 1. กำร 
ใช้แผนพัฒนำ เ ศ รษฐ กิจ แห่งชำติ นโย บำ ย เ ศ รษฐ กิจ แ บบ 
ชำตินิยม -- นโยบำยเศรษฐกิจชำตินิยมใช้มำตั้งแต่ พ.ศ. 2490 – 
2500 โดยเฉพำะสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครำม ได้เกิดรัฐวิสำหกิจขึ้น 
มำกกว่ำ 100 แห่ง ในยุคนั้นถือว่ำเป็นยุคทองของรัฐวิสำหกิจ 
กำรก่อตั้งรัฐวิสำหกิจให้ผลประโยชน์ต่อรำชกำรพลเรือนทหำรมำกกว่ำ 
ประชำชน ทั้งนี้เพรำะบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์เพื่อใช้เป็นฐำนอำำนำจ 
ทำงกำรเมือง-- กำรดำำเนินกำรเศรษฐกิจแบบชำตินิยมเป็นกำรสกัดกั้น 
กำรลงทุนต่ำงประเทศ 
2. กำรสร้ำงกลไกทำงกำรเมืองและกำรบริกำรเพื่อกำรพัฒนำ 
ประเทศ -- กลไกกำรเมือง อำศัยรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2502 ประกำศกฎ 
อัยกำรศึกเป็นกลไกกำรเมืองที่สำำคัญ ทำำให้จอมพลสฤษดิ์ มีอำำนำจ 
ทำงกำรเมืองทั้งหมดเพียงผู้เดียว -- กลไกกำรบริหำร ระยะแรก 
แต่งตั้งรัฐมนตรีให้น้อยลง ไม่มีตำำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่ำกำร และ 
รัฐมนตรีประจำำสำำนักรัฐมนตรี ระยะที่ 2 ใช้นโยบำยกำรรวมศูนย์ 
อำำนำจ 
กำรดำำ เนินนโยบำยต่ำงประ เทศเพื่อกำรพัฒนำประ เทศ หลัง 
สงครำมโลก ไทยมีควำมใกล้ชิดกับสหรัฐอเมริกำมำก จึงได้ดำำเนิน 
นโยบำยสอดคล้องกับสหรัฐอเมริกำ คือ กำรต่อต้ำนอิทธิพลของฝ่ำย 
โลกคอมมิวนิสต์ -- วันที่ 8 ธันวำคม 2506 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็ 
ถึงอสัญกรรม หลังจำกนั้นมีกำรยื่นฟ้องมรดกในฐำนะทำยำท มีมูลค่ำ 
กว่ำ 2,874 ล้ำนบำท และมีกำรยึดทรัพย์ถึง 574 ล้ำนบำท
5.วิวัฒนาการทางการปกครองของไทย 
การปกครองในระบอบปิตุราชาธิปไตย ได้เริ่มขึ้นตอนต้นของสมัย 
สุโขทัย ปรากฏเด่นชัดในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และพ่อขุน 
รามคำาแหงมหาราช กรุงสุโขทัยในระยะการสร้างบ้านเมืองให้เป็นปึก 
แผ่น 
สังคมสุโขทัย ยังเป็นสังคมขนาดไม่ใหญ่โต ประชาชนมีความสัมพันธ์ 
ใกล้ชิดในทางครอบครัวและเครือญาติ ผู้นำาทางสังคมมีฐานนะเช่นเดียว 
กับประชาชน แต่มีลักษณะพิเศษ คือ เข้มแข็งและกล้าหาญ ผู้ปกครอง 
สมัยสุโขทัยมีความใกล้ชิดกับประชาชนด้วยเหตุผล 2 ประการ (1) 
ลักษณะทางสังคมยังเรียบง่ายจำานวนประชากรไม่มากนัก (2) ฐานะผู้ 
ปกครองมีฐานะไม่แตกต่างจากประชาชนนัก เอื้ออำานวยให้เกิดการ 
ปกครองแบบพ่อกับลูก “พระเจ้าแผ่นดินเป็นบิดาประชาชน ลักษณะการ 
ปกครองยึดสกุลเป็นคติ” และยังได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนาอีก 
ด้วย 
ลักษณะการปกครองแบบปิตุราชาธิปไตย มีลักษณะที่สำาคัญ ดังนี้ 
1. เป็นการปกครองแบบราชาธิปไตย คือ กษัตริย์มีฐานะเป็นผู้ปกครอง 
สูงสุด ทรงเป็นผู้ใช้อำานาจอธิปไตย (ปิตุ แปลว่า พ่อ ราชา แปลว่า พระ 
มหากษัตริย์ ธิปไตย แปลว่า ความเป็นใหญ่) 
2. ผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราษฎร ดุจบิดากับบุตร 
3. กษัตริย์ทรงยึดหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการ 
ปกครองประเทศ 
การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ การปกครองสมัย
อยุธยาได้รับอิทธิพลจากขอม ขอมได้รับอิทธิพลจากอินเดียลัทธิ 
พราหมณ์ แนวความคิดกษัตริย์แบบเทวราชา กษัตริย์ คือ สมมติเทพ 
การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ผสมกับแนวความคิดเทว 
ราชา เกิดขึ้นสมัยสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ฐานะของ 
กษัตริย์แบบอยุธยาจึงเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยสมบูรณ์และ 
วิวัฒนาการสืบเนื่องมาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ 
การปกครองระบอบปรมิตตาญาสิทธิราชย์ เกิดขึ้นในสมัย 
รัตนโกสินทร์ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยคณะราษฎร 24 
มิถุนายน 2475 สมัยรัชกาลที่ 7 เป็นผลให้การใช้พระราชอำานาจของ 
พระมหากษัตริย์ถูกจำากัดลงโดยรัฐธรรมนูญ

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Pracha Wongsrida
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาtinnaphop jampafaed
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์krunrita
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

What's hot (17)

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัตนโกสินทร์
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

Viewers also liked

Shareable link in Ebrary
Shareable link in EbraryShareable link in Ebrary
Shareable link in Ebrarymkinneyccclib
 
Federal Reserve - Consumer Outreach
Federal Reserve - Consumer OutreachFederal Reserve - Consumer Outreach
Federal Reserve - Consumer Outreachbmanosh
 
Seminario biologia 2
Seminario biologia 2Seminario biologia 2
Seminario biologia 2andres940725
 
NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016
NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016
NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016mkinneyccclib
 
гімнастика 10 самоконтроль
гімнастика 10 самоконтрольгімнастика 10 самоконтроль
гімнастика 10 самоконтрольviktoriya2013
 
MBT Presentation
MBT PresentationMBT Presentation
MBT Presentationbmanosh
 
козацький р
козацький ркозацький р
козацький рviktoriya2013
 
Цехмістер Володимир
Цехмістер ВолодимирЦехмістер Володимир
Цехмістер Володимирviktoriya2013
 
козацький р
козацький ркозацький р
козацький рviktoriya2013
 
11 adab berdzikir tarekat
11 adab berdzikir tarekat11 adab berdzikir tarekat
11 adab berdzikir tarekathaqqaniq
 
ZuMu Presentation
ZuMu PresentationZuMu Presentation
ZuMu Presentationbmanosh
 
Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...
Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...
Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...Sungjae Hwang
 
цехмістер володимир
цехмістер володимирцехмістер володимир
цехмістер володимирviktoriya2013
 
Mid market collaboration architecture presentation
Mid market collaboration architecture presentationMid market collaboration architecture presentation
Mid market collaboration architecture presentationTrinny Chacko
 
Patagonia pack raft expedition 2011
Patagonia pack raft expedition 2011Patagonia pack raft expedition 2011
Patagonia pack raft expedition 2011Walter Seguel
 
I don't want to be poor
I don't want to be poorI don't want to be poor
I don't want to be poorLin Yaohua
 

Viewers also liked (20)

ร้านค้าในเซ็นทรัลเชียงราย
ร้านค้าในเซ็นทรัลเชียงรายร้านค้าในเซ็นทรัลเชียงราย
ร้านค้าในเซ็นทรัลเชียงราย
 
Noodletools citing
Noodletools citingNoodletools citing
Noodletools citing
 
Shareable link in Ebrary
Shareable link in EbraryShareable link in Ebrary
Shareable link in Ebrary
 
Federal Reserve - Consumer Outreach
Federal Reserve - Consumer OutreachFederal Reserve - Consumer Outreach
Federal Reserve - Consumer Outreach
 
Seminario biologia 2
Seminario biologia 2Seminario biologia 2
Seminario biologia 2
 
NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016
NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016
NoodleTools for Students - Works Cited List - Fall 2016
 
гімнастика 10 самоконтроль
гімнастика 10 самоконтрольгімнастика 10 самоконтроль
гімнастика 10 самоконтроль
 
MBT Presentation
MBT PresentationMBT Presentation
MBT Presentation
 
козацький р
козацький ркозацький р
козацький р
 
Цехмістер Володимир
Цехмістер ВолодимирЦехмістер Володимир
Цехмістер Володимир
 
козацький р
козацький ркозацький р
козацький р
 
11 adab berdzikir tarekat
11 adab berdzikir tarekat11 adab berdzikir tarekat
11 adab berdzikir tarekat
 
ZuMu Presentation
ZuMu PresentationZuMu Presentation
ZuMu Presentation
 
Trueorfalse
TrueorfalseTrueorfalse
Trueorfalse
 
Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...
Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...
Pseudo sensor: Emulation of Input Modality by Repurposing Sensors on Mobile D...
 
цехмістер володимир
цехмістер володимирцехмістер володимир
цехмістер володимир
 
Mid market collaboration architecture presentation
Mid market collaboration architecture presentationMid market collaboration architecture presentation
Mid market collaboration architecture presentation
 
Patagonia pack raft expedition 2011
Patagonia pack raft expedition 2011Patagonia pack raft expedition 2011
Patagonia pack raft expedition 2011
 
I don't want to be poor
I don't want to be poorI don't want to be poor
I don't want to be poor
 
Rural ppt
Rural pptRural ppt
Rural ppt
 

Similar to 81311

สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 

Similar to 81311 (13)

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
Tonburi
TonburiTonburi
Tonburi
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3
 

81311

  • 1. 1.อยุธยา สมเด็จพระรามาธิบดี ที่1 ทรงก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาตั้งแต่ พ.ศ.1893 สภาพการเมืองการปกครองสมัยอยุธยาแบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วง พ.ศ.1893-1991 และช่วงหลังการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถช่วง พ.ศ.1991-2031 อยุธยาปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ทรงเป็น ผู้นำาสูงสุดของอาณาจักรและทรงไว้ซึ่งพระราชอำานาจเด็ดขาดแต่ พระองค์เดียวในการปกครองทั้งในช่วงยามสงบและช่วงสงคราม พระ มหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาทรงได้รับแนวคิดเรื่องเทวราชา ซึ่งมาจาก เขมรและเขมรเองก็รับมาจากอินเดียซึ่งคติเรื่องเทวราชามีพื้นฐานจาก ลัทธิพราหมณ์ซึ่งมีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ทรงมิใช่มนุษย์ธรรมดา พระมหากษัตริย์มีความศักดิ์สิทธิ์สูงส่งและมีอำานาจน่าเกรงขาม ด้วยเหตุ นี้ ได้มีส่วนช่วยสนับสนุนให้อาณาจักรอยุธยาที่มีอาณาจักรกว้างใหญ่ ไพศาลสามารถดำารงอยู่ได้นานหลายร้อยปีแม้ต้องเผชิญกับความ ผันผวนทางการเมืองหลายอย่าง เช่น พระมหากษัตริย์ที่มีความอ่อนแอ หลายพระองค์ การแย่งชิงราชสมบัติเกิดขึ้นหลายครั้ง รูปแบบการปกครองอยุธยา พ.ศ.1893-1991 ปกครองโดยแบ่งการ ปกครองออกเป็นการปกครองส่วนกลางและการปกครองหัวเมือง การ ปกครองส่วนกลางมีราชธานีเป็นศูนย์กลางพระมหากษัตริย์ทรงปกครอง ด้วยพระองค์เองโดยมีขุนนาง 4 กรมช่วยดูแล คือ กรมเวียง เป็น พนักงานปกครองท้องที่ รักษาความสงบเรียบร้อยในเขตเมืองและ บริเวณใกล้เคียง กรมวัง เป็นหัวหน้าในพระราชสำานัก และดูแลเรื่อง ความยุติธรรม กรมคลัง เป็นพนักงานรับจ่ายและเก็บรักษาพระราช สมบัติที่ได้มาจากการเก็บภาษีอากร กรมนา เป็นพนักงานตรวจตราการ ทำาไร่นา ออกหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์แก่ชาวนารวมทั้งเก็บหางข้าวขึ้น ฉางหลวงเก็บไว้ในราชการ ส่วนการปกครองหัวเมืองนั้นเมืองอยู่ห่าง จากราชธานีแต่มีความสำาคัญต่อเมืองหลวงทั้งด้านเศรษฐกิจและการ ทหารอยุธยาจะส่งเจ้านายไปปกครองหัวเมืองเหล่านี้จะมีอิสระในการ ปกครองค่อนข้างมาก เศรฐกิจ อยุธยามีที่ตั้งอยู่ในเขตที่ราบลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยาตอนล่าง ดินจึงมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกการเกษตรจึงได้ผลดี เป็นอย่างมากพืชสำาคัญคือ ข้าว พริกไทย ฝ้าย หมาก มะพร้าว และผล ไม้ต่างๆ และการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ เช่นจีน ญี่ปุ่น อินเดียว อาหรับ ด้วยเพราะอยุธยาตั้งอยู่ริมฝั่งแม่นำ้าไม่ไกลจากทะเลเหมาะแก่ การค้าขายกับต่างประเทศอันเป็นแหล่งรายได้ของรัฐทำาให้อยุธยามี ความมั่งคั่ง
  • 2. สังคม อยุธยาประกอบด้วยกลุ่มคนแบ่งออกเป็น 6 ชนชั้น คือ พระ มหากษัตริย์ทรงมีอำานาจสูงสุดในการบริหารทุกด้าน เจ้านายประกอบ ด้วย พระราชโอรถ ธิดาและเชื้อพระวงศ์มีหน้าที่ช่วยราชการแผ่นดิน ตามคำาสั่งของพระมหากษัตริย์ ขุนนาง คือชนชั้นสูงรับราชการกับ พระเจ้าแผ่นดิน พระสงฆ์ คือ บุคคลที่บวช ไพร่ เป็นเสรีชนที่ต้องใช้ แรงงานรัฐบาล และควบคุมโดยขุนนางและเจ้านายซึ่งเรียกรวมกันว่า มูลนาย ทาศ คือชนกลุ่มน้อยของสังคมที่ได้จากการกวาดต้อนผู้คนจาก เมืองที่แพ้สงครามหรือที่มาจากการขายตัวเองเมื่อยากจน ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ.1991-2031 ได้มีการปรับปรุงรูป แบบการปกครองที่ใช้อยู่ในสมัยอยุธยาตอนต้นให้มีประสิทธิภาพยิ่งกว่า เดิมการปฏิรูปการปกครอง พ.ศ.1998 ครั้งนี้มีความสำาคัญต่อการ การเมืองการปกครองของไทยเป็นอย่างมาก เพราะรูปแบบการปรับปรุง การปกครองใหม่ครั้งนี้ใช้เป็นหลักการปกครองอาณาจักร มาจนถึงรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สาเหตุที่ทรงปฏิรูปการปกครองมี 2 ประการ คือ การปกครองหัวเมืองที่ ใช้ระบบเมืองลูกหลวงเมืองหลานหลวงนั้นมีจุดอ่อนค่อนข้างนอกเพราะ ผู้ปกครองเมืองเหล่านั้นเป็นเจ้านายชั้นสูงมีอำานาจในการปกครองค่อน ข้างอิสระ ทางส่วนกลางแทบไม่ได้เข้าไปควบคุมการบริหารเลย เพราะ ความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับพระมหากษัตริย์จึงทรงวางพระทัยจึงเปิด โอกาสให้เมืองเหล่านี้ซ่องสุมกำาลังคนสร้างอำานาจทางการเมืองได้อย่าง มากมายจนสามารถคุกคามความปลอดภัยของราชบัลลังก์ ดังเช่น เหตุการณ์ ขุนหลวงพระงั่วเจ้าเมืองสุพรรณบุรีแย่งชิงราชบัลลังก์จาก สมเด็จพระราเมศวรในปีพ.ศ.1913 และในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลก นาถอยุธยามีอาณาเขตขยายออกไปอย่างกว้างขวางมากกว่าช่วงก่อตั้ง แรกมาก เนื่องจากการที่รวมอาณาจักรสุโขทัยเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ อยุธยาในสมัยเจ้าสามพระยาจึงจำาเป็นต้องเปลี่ยนการปกครองให้ดีมี ประสิทธิภาพมากกว่าเดิมให้สามารถควบคุมสุโขทัยซึงเพิ่งจะรวมกับ อยุธยาไว้ได้อย่างปลอดภัยไม่ให้สุโขทัยก่อปัญหาแยกตัวออกจาก อยุธยาซึ่งอาจจะทำาให้สุโขทัยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้าน นาซึ่งเป็นคู่แข่งสำาคัญของอยุธยานขณะนั้น ลักษณะการปฏิรูป สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถยึดหลัก 3 ประการ คือ 1.การดึงอำานาจเข้าสู่ส่วนกลางและจัดระเบียบการปกครองส่วนกลาง ใหม่ ด้วยการตั้งกรม 2 กรม คือ กรมกลาโหมมีอัครมหาเสนาบดีตำาแหน่ง สมุหพระกลาโหมเป็นผู้ควบคุมกิจการด้านทหารทั่วราชอาณาจักร กรม มหาดไทยอัครมหาเสนาบดีตำาแหน่งสมุหนายกดูแลควบคุมงานฝ่าย พลเรือนทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งกรม จัตุสดมภ์ เวียง เปลี่ยนชื่อเป็น
  • 3. กรมนครบาล มีหน้าที่ในการปกครองท้องที่ ปราบปรามโจรผู้ร้ายรักษา ความสงบภายในดูแลกรมเล็กๆในรับผิดชอบของนครบาล เช่น กรมกรม กองตระเวณขวา-ซ้ายเสนาบดีผู้บังคับบัญชา ได้รับพระราทานยศและ ราชทินนามว่า พระยายมราชอินทราธิบดีศรีวิชัยบริรักษ์โลกากร เรียก สั้น ๆ ว่า พระยายมราช มีศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำาตำาแหน่ง ตรา พระยมราชขี่สิงห์ กรมวังเปลี่ยนชื่อเป็น ธรรมมาธิกรณ์หน้าที่รับผิดชอบ งานราชสำานักทั้งหมดทั้งด้านธุระการละพิธีการต่างๆรวมตั้งดูแลด้าน ความยุติธรรมและมีหน้าที่แต่งตั้งขุนนางตำาแหน่งยุกระบัตรซึ่งมีหน้าที สอดส่องดูแลการทำางานของเจ้าเมืองคอยรายงานให้ส่วนกลางทราบ เป็นเสมือนสายลับของพระเจ้าแผ่นดิน เสนาบดีผู้บังคับ บัญชาได้รับ พระราชทานยศและทินนามว่าพระยาธรรมาธิบดีศรีวิริยพงษวงษภักดี บดินทรเดโชชัยมไหสุริยาธิบดีศรีรัตนมนเทียรบาลเรียกสั้นว่าพระยาธร รมาธิบดี ศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำาตำาแหน่ง ตราเทพยดาทรงพระ โค กรมคลังเปลี่ยนชื่อเป็นโกษาธิบดี หน้าที่จ่ายและรักษาพระราชทรัพย์ ที่ได้มาจากการเก็บภาษีอากรดูแลการค้าสำาเภาต่อมามีหน้าที่เพื่อคือเป็น ผู้ดูแลรับรองคณะทูตจากต่างประเทศควบคุมชาวต่างชาติเข้าอยุธยา เสนาบดีผู้บังคับบัญชาได้รับพระราชทานยศและราชทินนามว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชเดชชาติอำามาตยานุชิตพิพธรัตนราชโกษาธิบดี เรียกสั้นว่า ๆ ว่า พระยาศรีธรรมราช มีศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำา ตำาแหน่ง ตราบัวแก้ว กรมนาเปลี่ยนเป็นเกษตราธิการหน้าที่ตรวจตราและส่งเสริมการทำานา ของประชาชนเก็บหางข้าวออกโฉนดที่นาจัดซื้อข้าวขึ้นฉางหลวง ตัดสินข้อพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่นา เสนาบดีผู้บังคับบัญชา ได้รับ พระราชทานยศและราชทินนามว่า เจ้าพระยาพล-เทพราชเสนาบดีศรี ไชยนพรัตน์เกษตราธิบดี เรียกสั้น ๆ ว่า พระยาพลเทพราชเสนา ศักดินา 10,000 ไร่ ตราประจำาตำาแหน่ง 9 ดวง ใช้ในโอกาสต่าง ๆ 2.หลักการแบ่งแยกหน้าที่ มีการแบ่งหน่วยงานราชการเป็น 2 ฝ่าย คือ กรมฝ่ายทหารและกรมฝ่ายพลเรือน รวมทั้งแบ่งพลเมืองหรือไพร่ออก เป็น 2 ฝ่าย คือ ไพร่ฝ่ายทหารและไพร่ฝ่ายพลเรือน 3.หลักการถ่วง ดุลอำานาจ คือ การแบ่งอำานาจของขุนนางออกเป็น 2 ฝ่ายแล้วให้ถ่วงดุล ซึ่งกันและกันเพื่อป้องกันไม่ให้ขุนนางชั้นผู้ใหญ่สมคบกันคิดการโค่น ราชบัลลังภ์ และการออกกฎหมายควบคุมพฤติกรรมของเจ้าเมือง เช่น ห้ามเจ้าเมืองต่างๆติดต่อกันหากละเมิดโทษถึงตาย กล่าวโดยสรุปแล้วการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถนั้นได้สร้างความเป็นปึกแผ่นและความเป็นระเบียบอย่าง มากในการปกครองในสมัยอยุธยายังผลให้อาณาจักรอยุธยาสามารถ
  • 4. ยั่งยืนยาวนานหลายร้อยปี แม้ต้องพบกับความผันผวนทางการเมืองหาย ครั้งเช่นการทำาสงครามกับอาณาจักรเพื่อนบ้าน การออกกฎหมาย ควบคุมพฤติกรรมของเจ้าเมือง เช่น ห้ามเจ้าเมืองต่างๆติดต่อกันหาก ละเมิดโทษถึงตายและการกำาหนดศักดินาในสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถทำาให้กรุงศรีอยุธยาเป็นปึกแผ่นมีระเบียบแบบแผนในการ ปกครอง อำานาจถูกรวมไว้ที่พระมหากษัตริย์ เป็นรูปแบบที่เรียกว่า สมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่สมบูรณ์ที่สุดในระบบการปกครองที่มีพระมหา กษัตริย์เป็นประมุข เศรษฐกิจ หลังการปฏิรูปการปกครอง เศรษฐกิจของอยุธยายังคง อยู่กับการเกษตรและการค้ากับต่างประเทศโดยอยุธยาหันไปค้าขายกับ ต่างประเทศมากขึ้นเนื่องจากสามารถควบคุมหัวเมืองให้ส่งส่วยสิ่งของ ตามต้องการของตลาด เช่น ดีบุก งาช้าง พริกไทย เครื่องเทศ การค้ากับ ต่างประเทศรุ่งเรืองเป็นอันมากในสมัยพระมหาจักรพรรดิและหันมา ผูกขาดการค้า มีการออกกฎหมายสินค้าต้องห้าม จัดระเบียบการค้าและ การเก็บภาษีที่รัดกุมทำาให้รัฐบาลมีฐานะรำ่ารวยและหันมาพึ่งกับการ ค้าขายต่างประเทศมากขึ้น แต่ก็มีผลกระทบ คือ หากเมื่อการค้าตกตำ่า เศรษฐกิจของอยุธยาก็ต้องตกตำ่าไปด้วย ทางการเมือง หลังการปฏิรูปการปกครองมีการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองที่สำาคัญคือ การปรับปรุงระเบียบไพร่ และการทำาสงคราม กับพม่า การปรับปรุงระเบียบไพร่มีในสมัยพระรามาธิบดีที่2 ทรงสำารวจ สำามะโนครัวนับว่าเป็นครั้งแรกของอยุธยาเนื่องจากเพราะในสมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถอยุธยาได้ทำาสงครามกับล้านนากันนานไพร่พล ของอยุธยาจึงตายมาก ต้องมีการจัดระเบียบไพร่ใหม่เพื่อสะดวกในการ ดูแล แบ่งประเภทของไพร่ออกเป็น ไพร่หลวง คือ ไพร่ของพระมหา กษัตริย์ จะใช้แรงงานให้แก่รัฐ เช่น ขุดคลอง สร้างกำาแพง สร้างถนน ไพร่สม เป็นไพร่ส่วนตัวของพวกมูลนายคือเจ้านายและขุนนางพระ มหากษัตริย์จะพระราชทานไพร่สมให้แก่พวกมูลนายตามศักดินาเพื่อใช้ ทำางานส่วนตัวของพวกมูลนายนั้นๆและเพื่อเป็นเกียติยศแสดงถึงฐานะ ทางสังคมด้วย เมื่อมูลนายเสียชีวิตก็เป็นมรดกของลูกหลานมูลนายต่อ ไป การที่อาณาจักรอยุธยามีความมั่นคงสภาพกำาลังทหารที่เข้มแข็ง ทำาให้อยุธยาแผ่ขยายอำานาจออกไปเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจเช่นการเข้าครอบครองเมืองท่าการค้ามะริด ตะนาวศรี อยุธยา ยังขยายอำานาจเข้าไปในดินแดนมอญทางด้านตะวันตก และล้านนาทาง ด้านเหนือซึ่งทำาให้อยุธยาต้องเผชิญกับพม่าการแย่งชิงอำานาจในมอญ ระหว่างอยุธยากับพม่าก่อให้เกิดสงครามเมืองเชียงกรานตรงกับสมัย สมเด็จพระไชยราชาธิราช
  • 5. ทางสังคม หลังการปฏิรูปการปกครองมีการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมที่สำาคัญ 2 ประการ คือ การขึ้นมามีอำานาจของชนชั้นขุนนาง และ การรับวิทยาการจากชาติตะวันตก การขึ้นมามีอำานาจของชนชั้นขุนนาง เป็นปัญหาของอยุธยาตลอดมา การถ่วงดุลอำานาจชนชั้นเจ้านายและ ชนชั้นขุนนางให้อยู่ในดุลที่เหมาะสมให้เจ้านายและขุนนางคานอำานาจ กันเองเพื่อจะได้ไม่เป็นภัยต่อราชบัลลังภ์ การรับวิทยาการจากชาติ ตะวันตก พระรามาธิบดีที่ 2 โปรตุเกสเข้ามาทำาการค้ากับอยุธยา อยุธยา ได้วิทยาการการทำาสงครามจากโปรตุเกสเป็นอันมาก เช่น การทำาปืน ใหญ่ การหล่อปืนกระสุนดินดำา ทำาให้อำานาจด้านการทหารเข้มแข็งมาก 2.สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ทางเศรษฐกิจ คือสภาพทางเศรษฐกิจที่ทรุดลงอย่างหนักทั้งใน ประเทศและทั้งโลกทำาให้รัฐบาลได้แก้ปัญหาเศรษฐกิจค่อนข้างรุนแรง
  • 6. เช่น 1.วิธีแก้ปัญหาการขาดดุลของรายได้และรายจ่ายของประเทศโดย การตัดตอนรายจ่ายของประเทศที่ฟุ่มเฟือยขณะที่รายจ่ายในการสำานัก ยังฟุ้งเฟ้อเกินความจำาเป็นทำาให้ความเจริญในสังคมต่างๆหยุดชะงักลง ประชาชนไม่ได้รับผลดีจากการประหยัดดังกล่าวรัฐบาลไม่ได้ใส่ใจกับ ประชาชนแต่ให้ความสนใจกับชนชั้นสูงเป็นการเล่นพรรคเล่นพรรค ประกอบกับการดุลข้าราชการออกจากตำาแหน่งและการลดเงินเดือน ข้าราชการเป็นส่วนสำาคัญ 2.วิธีแก้ปัญหาทางการเงิน โดยการเก็บภาษี เพิ่มเพื่อเพิ่มรายได้และจัดทำางบประมาณของประเทศ ขณะที่ผู้เสียภาษี ต้องเดือดร้อนทำาให้ประชาชนมีความคิดในแง่ลบต่อรัฐบาล 3.วิธีการ ประกาศเพิ่มชนิดของภาษีลักษณะต่างๆเริ่มขึ้นเมื่อทางกระทรวงพระคลัง มหาสมบัติไม่สามารถเก็บภาษีรายได้เพิ่มขึ้นและตัดตอนรายจ่ายจนไม่ อาจจะตัดตอนได้อีกแล้ว วิธีแก้ปัญหาการขาดดุลไม่บรรลุผลมากนัก แต่ ผลตกอยู่ในกลุ่มผู้เสียประโยชน์ การเพิ่มภาษีสร้างความเดือดร้อนต่อ กลุ่มคนจนกลุ่มคนรวยไม่กระทบมากนัก ทางสังคม ได้แก่ 1.ได้รับอิทธิพลของการศึกษาจากชาติตะวันตก แนวคิดของนักศึกษาต้องการนำาเอาระบอบประชาธิปไตยมาใช้แทนการ ปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กระแสแนวคิดดังกล่าวได้เพิ่ม ความรุนแรงขึ้นเริ่มตั้งแต่ ร.4-ร.7 และพระมหากษัตริย์ก็ต้องการ เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองใหม่ 2.ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น สังคมประกอบด้วยชนหลายกลุ่มแบ่งเป็นชนชั้น เช่น ไพร่หรือสามัญชน และเจ้า เป็นต้น และสังคมยอมรับความเป็นชนชั้นชาติกำาเนิด บรรดา เชื้อพระวงศ์ได้รับราชการกันทั่วหน้า ในทางกลับกันสำาหรับคนที่มีความ รู้มีการศึกษากลับไม่มีโอกาสได้รับราชการ การปกครองระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์จึงตกอยู่ในอำานาจของกลุ่มคน 3.บทบาทของ หนังสือพิมพ์ มีส่วนสำาคัญที่ประชาชนได้รับข่าวสารข้อมูล หนังสือพิมพิ์ ที่เป็นของสามัญชนที่ไม่ใช่เชื้อพระวงศ์ เช่น หนังสือพิมพ์ตุลยวิภาค พจนกิจ ของเทียนวรรณ ซึ่งต้องการให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการ บริหารงานของรัฐบาล ข้อคิดทำาให้ประชาชนลดความศรัทธาต่อรัฐบาล ทางการเมืองการปกครองเกิดจากความไม่พอใจในการ ปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่อยมาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวความไม่พอใจดังนี้ ทหารมีความรู้สึกว่าถูกเหยียดหยามไม่ได้ รับความสนใจจากผู้นำา สิ้นเปลืองงบประมาณแผ่นดินโดยไม่มีเหตุผล การแบ่งชนชั้นระหว่างพวกที่เรียกตนเองว่า เจ้ากับไพร่ฯลฯ 2.ความไม่ พอใจระบบอภิรัฐมนตรี เมื่อพระเจ้าอยู่หัว ร.7 ขึ้นครองราชย์ พระองค์ เคยรับราชการมาแต่ทหารจึงต้องการผูมีความรู้ความชำานาญด้าน
  • 7. ราชการพลเรือนจึงทรงตั้งอภิมนตรีสภาเพื่อช่วยงานด้านนี้มีสมาชิดเป็น สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ ทำาให้มีบุคคลหลายระดับไม่พอใจในการแต่งตั้ง และดำาเนินงานของคณะอภิรัฐมนตรีสภาเพราะสมาชิกล้วนแล้วแต่เป็น พระราชวงศ์ทุกคราว สามัญชนที่มีความรู้ความชำานาญความสามารถไม่ ได้รับการแต่งตั้งเป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงมากขึ้น ระหว่างเจ้ากับขุนนางและผู้ได้รับการศึกษา 3. ความแตกแยกในกองทัพ ไทย ได้เกิดขึ้นจากการดุลข้าราชการออกจากราชการจนถึงกับเสนาบดี กระทรวงกลาโหมลาออกจากตำาแหน่งพร้อมทั้งกลุ่มนักเรียนทหารจาก ฝรั่งเศสต้องการระบบทหารแบบฝรั่งเศส 4.ความขัดแย้งเรืองส่วนตัว ระหว่างนักศึกษากับพระราชวงศ์ชั้นสูงบางพระองค์นักศึกษาไทยใน ฝรั่งเศสได้ฟ้องมายังสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าเอกอัครราชทูตไทย ทำาความเสื่อมเสียต่อประเทศเรื่องโกงเงินหลวงที่เป็นค่าเล่าเรียนของ นักศึกษา ลักษณะการเปลี่ยนแปลง รุ่งของ 24 มิ.ย.2475 ทหารบก ทหาร เรือได้รวมตัวกันที่พระที่นั่งอนันตสมาคมทั้งหมดเป็นกำาลังจากพระนคร บุคคลเหล่านี้มีทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัวตามคำาสั่งปลอมของทหารบกและทหาร เรือส่วนนายทหารคนอื่นที่คุมกำาลังได้ตามเสด็จไปเฝ้าพระเจ้าอยู่หัวที่วัง ไกลกังวล หัวหินผู้นำาก่อการเปลี่ยนแปลงได้ประกาศคำาสั่งปฏิวัติ โดย พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ฝ่ายพลเรือนนำาโดยนายควง อภัยวงศ์ ได้ปฏิบัติการในวันเดียวกันโดยออกตัดสายโทรศัพท์สายโทรเลขเพื่อปิด กั้นการสื่อสาร 26 มิ.ย 2475 ยอมรับการสิ้นพระราชอำานาจรับการตั้ง รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยในแบบพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแนว นโยบายของคณะราช คือการปกครองประเทศต้องเป็นระบอบ ประชาธิปไตยแทนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยมีรัฐธรรมนูญเป็น กฎหมายสูงสุดและกษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ หลัการของคณะราชคือความเป็นเอกราชความปลอดภัยของประเทศ บำารุงความสุขของราษฎร ให้ราษฎรทุกคนมีงานทำา ให้ราษฎรมีสิทธิ เสมอกันให้ราษฎร มีเสรีภาพ ให้ราษฎรมีการศึกษาอย่างเต็มที่ ผลต่อการเมืองการปกครอง การเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง 2475 ได้เปลี่ยนโครงสร้างของอำานาจคือจากอำานาจอยู่ในมือ คนๆเดียวกลายเป็นอำานาจเป็นของประชาชนโครงสร้างอำานาจจึงเป็น โครงสร้างใหม่ขึ้นมาที่จะต้องเป็นสถาบันต่างๆเข้ามารับรองการใช้ อำานาจอธิปไตยของปวงชนเหล่านีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ประชาชนมี อำานาจของตนโดยผ่านรัฐสภา ในพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง แผ่นดินชั่วคราวพ.ศ.2475 มาตรา 1 อำานาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็น ของปวงชนทั้งหลาย 2.ให้บุคคลและคณะบุคคลต่อไปนี้เป็นผู้มีอำานาจ
  • 8. แทนราษฎรคือ 1.สถาบันกษัตริย์สถาบันทางการเมืองที่เกิดขึ้นนี้มี โครงสร้างใหม่คือ สถาบันกษัตริย์เดิมมีอำานาจสูงสุดเพียงผู้เดียวเป็น อำานาจสูงสุดต้องเป็นของราษฎร 2.สภาผู้แทนราษฎรเป็นสถาบันใหม่ที่มี ผลมาจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ช่วยให้ประชาชนมีส่วน ร่วมทางการเมืองโดยผ่านผู้แทนราษฎร สถาบันนี้ทำาให้ได้เห็นถึงความ ต้องการของประชาชนโดยแท้จริง 3.คณะกรรมการราษฎร สภาผู้แทน ราษฎรได้เลือกพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นประธานกรรมการ 4.ศาล สถาบันนี้คงไว้ซึ่งความยุติธรรมของประชาชน ผลกระทบต่อสังคม 1.การศึกษา หลังการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองได้ทำานุบำารุงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด มีการประกาศใช้แผนการ ศึกษา 2475 มีสาระสำาคัญเช่นให้พลเรือนไม่จำากัดเพศ ชาติ ศาสนา ได้ รับการศึกษาพอเหมาะแกอัตภาพ รัฐบาลต้องการให้พลเรือนมีความรู้ ทางด้านวิชาการและด้านการเมืองจึงจัดตั้ง ม.ธรรมศาสตร์และการเมือง ขึ้นมาเพื่ออบรมให้ประชาชนมีความรู้ด้านการเมืองมากขึ้น 2.ด้านความ เสมอภาคในสังคม ความมีชนชั้นในสังคมที่เคยมีในอดีตถูกขจัดออกไป อย่างช้าๆการแบ่งชั้นวรรณะยังคงมีอยู่บ้างทางพฤตินัยแต่ไม่รุนแรง 3.ด้านวัฒนธรรมได้มีการแนะนำาให้ประชาชนแต่งตัวเสียใหม่หันมานั่ง กางเกงแบบตะวันตก โดยคณะรัฐบาลได้แต่งตัวเป็นแบบอย่างต่อสังคม ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ได้มีการริเริ่มวางแผนเศรษฐกิจแห่ง ชาติ มีการศึกษาแบบสังคมนิยมมากขึ้นมีผลกระทบอย่างมากต่อแนวคิด ในแง่ที่เป็นนามธรรม มีการแก้ไขเศรษฐกิจให้ดีขึ้น เช่นการปรับปรุงการ เก็บภาษีอากรให้เป็นธรรมและออกกฎหมายห้ามนายทุนหรือเจ้าของ ที่ดินยึดที่นาจากประชาชนชาวนา มีการลดค่าไปรษณียากร มีการ ปรับปรุงเงินเดือนข้าราชการอย่างเป็นธรรม 3.การเมืองการปกครองสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ถึงแกอสัญกรรมแล้มจอมพลถนอม กิตติขจรได้รับอำานาจทางการเมืองในฐานะทายาททางการเมืองสืบแทน การเมืองในสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร แบ่งเป็น 2 ช่วงคือ ช่วง พ.ศ.2506-2511 เป็นแบบเผด็จการแบบเมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ช่วง พ.ศ.2511-2514 การปกครองเป็นรูปแบบรัฐสภาภายใต้รัฐธรรมนูญ 2511 การที่บุคลิกแตกต่างกันมากระหว่างเมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ที่มีความ เข้มแข็งเด็ดขาดและจอมพลถนอม กิตติขจรมีบุคลิก อ่อนโยนสุภาพและ ชอบประณีประนอมดังนี้มีผู้วิจารณ์ว่ารัฐบาลของจอมพลถนอม กิตติขจร อยู่ได้ไม่ยืนยาวแต่กลับตรงกันข้ามจอมพลถนอม กิตติขจรกลับอยู่เป็น
  • 9. ผู้นำำได้นำนถึง 10 ปีและได้รับกำรสนับสนุนจำกสหรัฐอเมริกำทั้งด้ำน กำรทหำรและเศรษฐกิจ ลักษณะเศรษฐกิจ -- กำรปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยภำยใต้แผนกำรพัฒนำเศรษฐกิจ ฉบับแรก (พ.ศ.2504 – 2509) สมัย จอมพลสฤษดิ์ นับว่ำเป็นกำรเริ่ม ต้นทำงเลือกแนวใหม่กำรพัฒนำเศรษฐกิจไทย ระบบเศรษฐกิจไทย จึงขยำยตัวอยู่ภำยใต้ระบบทุนนิยม ลักษณะสังคม -- ผลกำรพัฒนำเศรษฐกิจของประเทศ ได้นำำไปสู่กำรขยำยตัว ทำงเศรษฐกิจในภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร เกิดกำรเปลี่ยนแปลง แรงงำนภำคเกษตรกรรมเข้ำมำสู่ภำคอุตสำหกรรมและบริกำรมำกขึ้น ทำงตรงกันข้ำมทำำให้เกิดปัญหำมำกมำย ได้แก่ ปัญหำกำรว่ำงงำน ปัญหำกำรขำดแคลนที่อยู่อำศัย ปัญหำอำชญำกรรม ลักษณะทำงกำรเมือง -- กำรพัฒนำประเทศภำยใต้แผนพัฒนำของจอมพลสฤษดิ์ มีผล ให้ไทยมีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงไทยกับสหรัฐอเมริกำ มีควำมใกล้ชิดมำก ขึ้น ในทำงตรงกันข้ำม ไทยกับประเทศอินโดจีนกลับเสื่อมทรำมลง กำรพัฒนำประ เทศภำยใต้รัฐธร รมนูญฉบับ พ.ศ. 2511-- กำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคมด้ำนต่ำง ๆ ด้ำนกำรศึกษำมีกำรขยำยกำร ศึกษำภำคบังคับมีกำรจัดตั้งโรงเรียนระดับประถม มัธยม ระดับมหำวิยำ ลัย พ.ศ. 2507 จัดตั้งมหำวิยำลัยเชียงใหม่และมหำวิทยำลัยขอนแก่น จอมพลถนอม ได้ดำำเนินกำรที่สำำคัญ 2 ประกำร คือ 1. กำรประกำศใช้แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510-2514) นับว่ำเป็นกำรสำนต่อแนวทำงแผนพัฒนำ เศรษฐกิจ ฯ ฉบับที่ 1 2. กำ รปร ะกำศใช้รัฐ ธ ร รมนูญแห่ง ร ำชอ ำณำ จักร ไทย พ.ศ. 2511 เป็นรัฐธรรมนูญที่ร่ำงโดยสภำร่ำงรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่วันที่ 3 กุมภำพันธ์ 2502 จึงเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้เวลำร่ำงนำนที่สุดถึง 10 ปี สำระสำำคัญของรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2511 2.1 กำำหนดให้ฝ่ำยบริหำรมีอำำนำจอยู่เหนือฝ่ำยนิติบัญญัติ ฝ่ำยบริหำรไม่จำำเป็นต้องมำจำกสภำผู้แทนรำษฎร 2.2 ให้รัฐสภำประกอบด้วย 2 รัฐสภำ คือ สภำผู้แทนรำษฎร และวุฒิสภำ วุฒิสภำมีอำำนำจเท่ำเทียมรัฐสภำผู้แทนรำษฎร -- ในกำรนี้เลือกตั้ง พ.ศ. 2512 จอมพลถนอม ได้ก่อตั้งพรรคสห ประชำไทย กำรเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ
  • 10. -- ผลจำกกำรขยำยตัวภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร (กำรเงิน กำรธนำคำร) ซึ่งไม่ได้ดุลยภำพ กับภำคเกษตรกรรม จึงมีลักษณะ กำรจำำเริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ กำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคม 1. กำรเพิ่มจำำนวนของประชำกรของประเทศ โดยเฉลี่ยปีละ 1 ล้ำนคน 2. กำรขยำยตัวทำงกำรศึกษำในระดับต่ำง ๆ พ.ศ. 2503 มีผู้ อ่ำนออกเขียนได้ร้อนละ 70.8 พ.ศ.2513 81.8 3. กำรลดจำำนวนแรงงำนภำคเกษตรกรรม จำำนวนแรงงำน ภำคเกษตรกรรมลดลงจำำนวนมำก แต่ภำคอุตสำหกรรมและกำรบริกำร เพิ่มสูงขึ้น ทำำให้เกิดกำรอพยพโยกย้ำยแรงงำนภำคเกษตรสู่ภำค อุตสำหกรรมและกำรบริกำร กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำรเมือง รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2511 มีกำรปกครองแบบรัฐสภำก็ตำม แต่ทำง ปฏิบัติไม่ได้เป็นลักษณะประชำธิปไตย กำำหนดกฎเกณฑ์ต่ำง ๆ เอื้อ อำำนวยต่อกำรอยู่ในอำำนำจเหนือกว่ำฝ่ำยสภำ กำรกำำหนดให้วุฒิสภำมี อำำนำจเสมอรัฐสภำ กำรเมืองแบบครึ่ง ๆ กลำงไม่ได้สร้ำงควำม แข็งแกร่งให้กับรัฐบำลจอมพลถนอมมำกนัก รัฐประหำร 17 พฤศจิกำยน 2514 -- เป็นกำรทำำรัฐประหำร ยึดอำำนำจตัวเอง โดยอ้ำงว่ำ 1. มีกำรแตกแยกเป็นกลุ่มเป็นฝ่ำยต่ำง ๆ ภำยในพรรคสหประชำ ไทยอันเป็นพรรครัฐบำล สำเหตุที่สำำคัญอีกประกำรหนึ่ง กำรที่สภำผู้ แทนรำษฎรอนุมัติพระรำชบัญญัติงบประมำณ ประจำำปี 2513 และ พ.ศ.2514 ล่ำช้ำกว่ำกำำหนด เนื่องจำกควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐบำลกับ สส. สังกัดพรรครัฐบำล 2. กำรเมืองแบบรัฐสภำใต้รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2511 ก่อให้ เกิดควำมล่ำช้ำในกำรพัฒนำเศรษฐกิจของประเทศในกำรสร้ำงควำม มั่นคงของประเทศ 3. ก่อนกำรปฏิวัติ 17 พฤศจิกำยน 2514 ทำงด้ำนกำรเมือง ระหว่ำงประเทศได้มีกำรยอมให้สำธำรณประชำชนจีนเข้ำเป็นสมำชิก องค์กำรสหประชำชำติแทนไต้หวัน กำรเมืองกำรปกครองไทยในระยะ พ.ศ.2500 – 2516 มีลักษณะ กำรปกครองภำยใต้ระบอบกำรทหำรเป็นส่วนใหญ่เกือบทั้งหมด
  • 11. 4.จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ สำเหตุของกำรรัฐประหำร 20 คุลำคม 2501 1. ควำมไม่พอใจต่อระบบกำรเมืองแบบประชำธิปไตย โดยอ้ำง ว่ำไม่เหมำะสมกับประเทศไทย 2. ฐำนะกำรคลังรัฐบำล วิกฤติกำรณ์ ทำงกำรคลัง งบประมำณประจำำปี พ.ศ. 2500 ขำดดุลถึง 2,000 กว่ำ ล้ำนบำท 3. ภัยคอมมิวนิสต์ รัฐบำลชุดก่อน ๆ ยกมำเป็นข้ออ้ำงดำำเนิน กำรปรำบปรำมเรื่อยมำ 4. สภำพกำรณ์ของสังคมไทยทั่วไป เกิด ภำวะแห้งแล้งในภำคอีสำน เกษตรกรได้อพยพเข้ำมำในเขตเมืองเป็น จำำนวนมำก เกิดปัญหำทำงสังคมยำกที่จะแก้ไขได้ ผลของกำรรัฐประหำร กำรรัฐประหำรภำยใต้กำรนำำของ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ไม่ใช่เป็นกำรล้มล้ำงระบอบรัฐธรรมนูญและ กระบวนกำรทำงกำรเมืองแบบรัฐสภำเท่ำนั้น แต่เป็นกำรเริ่มต้นระบอบ กำรปกครองอันยำวนำนภำยใต้กฎอัยกำรศึก และประกำศคณะปฏิวัติ อีกด้วย กำรเมืองกำรปกครองตำมทรรศนะของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัช ต์ 1. กำรเมืองไทยจะต้องอำศัยหลักกำรและอุดมกำรณ์ของไทย โดยละทิ้ง อุดมกำรณ์ต่ำงประเทศ 2. ควำมเป็นระเบียบของประเทศชำติต้องให้ รัฐบำลเป็นตัวแทนของประชำชน ทำำหน้ำที่กำำหนดแนวทำงของชำติ ให้รัฐบำลมีอำำนำจสูงสุด และยกเลิกระบบพรรคกำรเมือง 3. กำร ปกครองประเทศจะต้องเป็นไปแบบพ่อปกครองลูก (พ่อขุนเผด็จกำร) กำรสร้ำงเสถียรภำพทำงกำรเมือง 1. อำำนำจประชำธิปไตยมำจำกปวงชนนั้น ไม่ใช่ให้ประชำชนเข้ำไปใช้ อำำ นำจนี้ แต่หมำยถึง เป็นอำำ นำจที่แสดงบทบำทเป็น ตัวแทน เจตนำรมณ์ของปวงชนชำวไทย 2. คณะปฏิวัติเป็นตัวแทนของปวงชน ชำวไทย 3. รัฐบำลต้องขึ้นกับควำมประสงค์ของพระมหำกษัตริย์ 4. มี กำรแบ่งอำำนำจนิติบัญญัติกับอำำนำจบริหำรอย่ำงเด่นชัด ข้อที่ 4 ถือว่ำ เป็นหลักกำรที่เด่นชัดตำมรัฐธรรมนูญกำรปกครองรำชอำณำจักร พ.ศ. 2502 และเป็นผลงำนที่สำำคัญที่เกิดขึ้นในสมัยรัฐบำลนี้ รัฐธรรมนูญ ไทยฉบับต่อ ๆ มำก็ยอมรับหลักกำรนี้ ผลงำนด้ำนต่ำง ๆ สมัยรัฐบำล จอมพล สฤษดิ์ ธนนะรัชต์ 1. ด้ำนกำรครองชีพของประชำชน ได้ลดค่ำไฟฟ้ำ ค่ำโทรศัพท์ ค่ำโดยสำรรถไฟ ค่ำเล่ำเรียน ค่ำเครื่องอุปโภคบริโภค ธรรมเนียมภำษี บำงชนิด 2. ด้ำนควำมเป็นระเบียบเรียบร้อยของประชำชน ขจัด อันธพำล ห้ำมค้ำประเวณี 3. ด้ำนเกี่ยวกับอัคคีภัย ห้ำมสูบฝิ่น 4. ด้ำนกำ ร กร ะทำำ เ กี่ย ว กับ คอ ม มิวนิสต์ 5. ด้ำนนโ ยบ ำ ย ต่ำ ง
  • 12. ประเทศ โดยเข้ำข้ำงสหรัฐอเมริกำอย่ำงเต็มที่ดุจมหำมิตร 6. ด้ำนกำร พัฒนำเศรษฐกิจของไทย ได้มีกำรจัดทำำแผนพัฒนำขึ้นเป็นครั้งแรก กำรดำำ เนินนโยบำยในประเทศเพื่อกำรพัฒนำประเทศ 1. กำร ใช้แผนพัฒนำ เ ศ รษฐ กิจ แห่งชำติ นโย บำ ย เ ศ รษฐ กิจ แ บบ ชำตินิยม -- นโยบำยเศรษฐกิจชำตินิยมใช้มำตั้งแต่ พ.ศ. 2490 – 2500 โดยเฉพำะสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครำม ได้เกิดรัฐวิสำหกิจขึ้น มำกกว่ำ 100 แห่ง ในยุคนั้นถือว่ำเป็นยุคทองของรัฐวิสำหกิจ กำรก่อตั้งรัฐวิสำหกิจให้ผลประโยชน์ต่อรำชกำรพลเรือนทหำรมำกกว่ำ ประชำชน ทั้งนี้เพรำะบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์เพื่อใช้เป็นฐำนอำำนำจ ทำงกำรเมือง-- กำรดำำเนินกำรเศรษฐกิจแบบชำตินิยมเป็นกำรสกัดกั้น กำรลงทุนต่ำงประเทศ 2. กำรสร้ำงกลไกทำงกำรเมืองและกำรบริกำรเพื่อกำรพัฒนำ ประเทศ -- กลไกกำรเมือง อำศัยรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2502 ประกำศกฎ อัยกำรศึกเป็นกลไกกำรเมืองที่สำำคัญ ทำำให้จอมพลสฤษดิ์ มีอำำนำจ ทำงกำรเมืองทั้งหมดเพียงผู้เดียว -- กลไกกำรบริหำร ระยะแรก แต่งตั้งรัฐมนตรีให้น้อยลง ไม่มีตำำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่ำกำร และ รัฐมนตรีประจำำสำำนักรัฐมนตรี ระยะที่ 2 ใช้นโยบำยกำรรวมศูนย์ อำำนำจ กำรดำำ เนินนโยบำยต่ำงประ เทศเพื่อกำรพัฒนำประ เทศ หลัง สงครำมโลก ไทยมีควำมใกล้ชิดกับสหรัฐอเมริกำมำก จึงได้ดำำเนิน นโยบำยสอดคล้องกับสหรัฐอเมริกำ คือ กำรต่อต้ำนอิทธิพลของฝ่ำย โลกคอมมิวนิสต์ -- วันที่ 8 ธันวำคม 2506 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็ ถึงอสัญกรรม หลังจำกนั้นมีกำรยื่นฟ้องมรดกในฐำนะทำยำท มีมูลค่ำ กว่ำ 2,874 ล้ำนบำท และมีกำรยึดทรัพย์ถึง 574 ล้ำนบำท
  • 13. 5.วิวัฒนาการทางการปกครองของไทย การปกครองในระบอบปิตุราชาธิปไตย ได้เริ่มขึ้นตอนต้นของสมัย สุโขทัย ปรากฏเด่นชัดในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และพ่อขุน รามคำาแหงมหาราช กรุงสุโขทัยในระยะการสร้างบ้านเมืองให้เป็นปึก แผ่น สังคมสุโขทัย ยังเป็นสังคมขนาดไม่ใหญ่โต ประชาชนมีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดในทางครอบครัวและเครือญาติ ผู้นำาทางสังคมมีฐานนะเช่นเดียว กับประชาชน แต่มีลักษณะพิเศษ คือ เข้มแข็งและกล้าหาญ ผู้ปกครอง สมัยสุโขทัยมีความใกล้ชิดกับประชาชนด้วยเหตุผล 2 ประการ (1) ลักษณะทางสังคมยังเรียบง่ายจำานวนประชากรไม่มากนัก (2) ฐานะผู้ ปกครองมีฐานะไม่แตกต่างจากประชาชนนัก เอื้ออำานวยให้เกิดการ ปกครองแบบพ่อกับลูก “พระเจ้าแผ่นดินเป็นบิดาประชาชน ลักษณะการ ปกครองยึดสกุลเป็นคติ” และยังได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนาอีก ด้วย ลักษณะการปกครองแบบปิตุราชาธิปไตย มีลักษณะที่สำาคัญ ดังนี้ 1. เป็นการปกครองแบบราชาธิปไตย คือ กษัตริย์มีฐานะเป็นผู้ปกครอง สูงสุด ทรงเป็นผู้ใช้อำานาจอธิปไตย (ปิตุ แปลว่า พ่อ ราชา แปลว่า พระ มหากษัตริย์ ธิปไตย แปลว่า ความเป็นใหญ่) 2. ผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราษฎร ดุจบิดากับบุตร 3. กษัตริย์ทรงยึดหลักธรรมของพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการ ปกครองประเทศ การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ การปกครองสมัย
  • 14. อยุธยาได้รับอิทธิพลจากขอม ขอมได้รับอิทธิพลจากอินเดียลัทธิ พราหมณ์ แนวความคิดกษัตริย์แบบเทวราชา กษัตริย์ คือ สมมติเทพ การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ผสมกับแนวความคิดเทว ราชา เกิดขึ้นสมัยสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ฐานะของ กษัตริย์แบบอยุธยาจึงเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยสมบูรณ์และ วิวัฒนาการสืบเนื่องมาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การปกครองระบอบปรมิตตาญาสิทธิราชย์ เกิดขึ้นในสมัย รัตนโกสินทร์ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยคณะราษฎร 24 มิถุนายน 2475 สมัยรัชกาลที่ 7 เป็นผลให้การใช้พระราชอำานาจของ พระมหากษัตริย์ถูกจำากัดลงโดยรัฐธรรมนูญ