SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน วางแผนการสอบมหาวิทยาลัยด้วยแพลนเนอร์ Timeline planer
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวธันย์ชนก ศรีวงค์ เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 8
2. นางสาวปรียานุช เปรมสมาน เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวธันย์ชนก ศรีวงค์ เลขที่ 21 2. นางสาวปรียานุช เปรมสมาน เลขที่ 24
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
วางแผนการสอบมหาวิทยาลัยด้วยแพลนเนอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Timeline planer
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวธันย์ชนก ศรีวงค์ 2. นางสาวปรียานุช เปรมสมาน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย หรือ ทปอ. ได้มีการ
แถลงข่าวการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาแบบใหม่ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 ระบบการคัดเลือก
บุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาแบบใหม่นี้ ไม่ใช่เอ็นทรานซ์ แต่เป็นระบบแอดมิชชั่นเดิมที่มีการปรับปรุงรูปแบบ
โดยชื่อ TCAS โดยย่อมาจาก Thai University Central Admission System โดยจะมีการคัดเลือกทั้งหมด 5 รอบ
ของ TCAS ส่วนบรรดาการสอบของข้อสอบส่วนกลางทั้งหมด จะเลื่อนไปสอบในเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน 2561 ซึ่ง
ในการยื่นคะแนนสอบเข้ามหาวิทยาลัยในระบบ TCAS นี้ ต้องใช้คะแนนส่วนกลางนี้ซึ่งจะสอบเพียงครั้งเดียว สาหรับ
การวางแผนเตรียมตัวในการ สอบเข้ามหาวิทยาลัย วางแผนการอ่านหนังสือ และทาโจทย์ต่างๆ เพื่อให้บรรลุถึง
เป้าหมาย เราจาเป็นต้องมีแพลนเนอร์ไว้ช่วยในการวางแผน ทางคณะผู้จัดทาจึงได้นาเสนอวิธีการใช้แพลนเนอร์
วางแผนอนาคตเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย อีกทั้งแพลนเนอร์ยังช่วยเตือนวันสาคัญต่างๆ เช่น วันสมัครสอบได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. ใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนสอบเข้ามหาลัย
2. ใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนการอ่านหนังสือ
3. ใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนตะลุยโจทย์
4. ใช้แพลนเนอร์ในการเตือนวันสาคัญ เช่นวันสมัครสอบ
5. ใช้แพลนเนอร์เพื่อเตือนให้เรามีวินัยในการอ่านหนังสือ
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนสอบเข้ามหาวิทยาลัย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
แพลนเนอร์ คือตัวช่วยวางแผนการเรียนและการสอบของเรา แพลนเนอร์จะช่วยจัดระเบียบความยุ่งยากใน
ชีวิตเราได้เป็นอย่างดีและช่วยให้ทะลุเป้าหมาย ซึ่งก็คือการสอบติดไวขึ้นนั่นเอง
8 Tips จดแพลนเนอร์ให้สอบติด
1. เลือกสมุดแพลนเนอร์ในแบบที่ใช่!
แผนที่ดีย่อมขึ้นอยู่กับการเริ่มต้นที่ดีด้วยค่ะ สมุดแพลนเนอร์สาคัญมาก หลายคนละทิ้งการจดแพลน
เนอร์ไว้กลางทาง เพราะเขียนไปเขียนมาเละ ไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร ทาให้เบื่อจนเทในที่สุด แนะนาให้ตกลงกับตัวเองไว้
ก่อนเลยว่า เราจะเลือกใช้สมุดแพลนเนอร์แบบไหน
มีฟอร์มปฏิทินแบบเดือนไว้ในหน้าแรกให้จดงานสาคัญลงไป
มีฟอร์มปฏิทินแบบสัปดาห์ให้จดสิ่งที่ต้องทาแต่ละวัน และจะเห็นว่ามีพื้นที่ว่างอื่นๆ ไว้สาหรับเขียน
โน้ตจุกจิกเพิ่มเติม
2. ใช้แพลนเนอร์ย้าอุดมการณ์
เพราะเราจะใช้แพลนเนอร์นี้ช่วยเรื่องสอบติด ดังนั้น อย่าลืมย้าเตือนเป้าหมายของตัวเองให้รู้ว่า "เรา
สู้เพื่ออะไร" ถ้าเริ่มทาแพลนเนอร์เร็ว เช่น ฟิตตั้งแต่ ม.4 อาจจะเริ่มจากเป้าหมายเล็กๆ เช่น คว้าเกรด...ใน
เทอมนี้! ไว้ก่อนก็ได้ แต่ถ้า เข้าสู่ ม.5 - ม.6 แล้ว แนะนาให้แปะภาพมหาวิทยาลัย คณะในฝัน หรือตัดต่อหน้า
4
ตัวเองใส่อาชีพที่อยากทาในอนาคตไว้ในหน้าแรกของแพลนเนอร์เลย เราจะได้มีพลังในการเตรียมสอบมาก
ขึ้น อย่าลืมเขียนรางวัลให้ตัวเองด้วยนะคะ เวลาท้อๆ เปิดมาหน้าแรกจะได้มีแรงสู้ต่อและไม่เสียโฟกัส
3. สร้างแลนด์มาร์กลงแพลนเนอร์
นี่คือหัวใจของการทาแพลนเนอร์ เราใช้เจ้าสิ่งนี้ในการย้าเตือนไม่ให้พลาดวันสาคัญ อย่างที่รู้กันว่า
ชีวิตเด็กมัธยมฯ มีอะไรให้ทาเยอะ เราอาจจะพลาดอะไรไปเยอะ พี่เมก้าแนะนาให้น้องๆ ลิสต์ออกมาก่อนว่า
เราจะจดอะไรลงปฏิทินบ้าง เช่น
๐ วันสอบในโรงเรียน (เปิดตารางสอบขึ้นมาดูเลยว่าโรงเรียนสอบกลางภาควันที่เท่าไหร่ สอบปลายภาควันที่
เท่าไหร่ ส่วนสอบเก็บคะแนนรอขึ้นทะเบียนลงปฏิทินทีหลัง)
๐ วันสอบนอกโรงเรียน (สาหรับลิสต์นี้คือวันสอบใหญ่สาหรับเตรียมเข้ามหาวิทยาลัย เช่น สอบ GAT PAT O-
NET 9 วิชาสามัญ สอบวิชาเฉพาะ คะแนนสอบอื่นๆ)
๐ วันสมัครสอบ (อันนี้สาคัญมาก! เพราะเป็นวันสมัครสอบในสนามนอกโรงเรียน พลาดไปอาจเกิดการสูญเสีย
ได้ เพราะปีนี้แต่ละการสอบใหญ่จะเกิดขึ้นได้เพียงครั้งเดียว ทั้ง GAT PAT O-NET และ 9 วิชาสามัญ เพิ่มเติมสาหรับ
ม.6 คือจะมีช่วงวันเปิดรับสมัคร TCAS ในแต่ละรอบ วันคัดเลือก วันประกาศผล และวันยืนยันสิทธิ์)
๐ การบ้าน (เพิ่มเติมสาหรับงานเยอะ แล้วอยากจะจดการบ้านสาคัญลงแพลนเนอร์ไว้เตือนความจา)
จะเห็นว่ามีรายละเอียดที่ต้องใส่ลงแพลนเนอร์เยอะมาก จากที่พี่ลิสต์มาก็คงทาให้พื้นที่ในปฏิทินทั้งปี
แน่นไปด้วยรอยปากกา แนะนาอีกอย่าง เราอาจจะใช้ปากกาสีเข้ามาช่วยในการจดแพลนเนอร์เพื่อแยกความ
ต่างและป้องกันความสับสนได้ เช่น วันสอบในโรงเรียน-สีฟ้า วันสอบนอกโรงเรียน-สีชมพู วันสมัครสอบ-สี
เขียว การบ้าน-สีม่วง แล้ววันไหนสาคัญมากก็สามารถสร้างแลนด์มาร์กเป็นสัญลักษณ์เด่น เช่น ดาวสีแดง
เพื่อช่วยโฟกัสไปอีกก็ได้ สาคัญถึงชีวิตก็ดาวแดง 3 ดวงโลดดด!
4. ใช้แพลนเนอร์บอกหน้าที่ที่ควรทา
จาที่บอกไว้ในหัวข้อเลือกสมุดแพลนเนอร์ที่ใช่ได้ไหม จะเห็นว่านอกจากเราจะใช้แพลนเนอร์ในการ
บอกพิกัดวันสาคัญลงปฏิทินได้แล้ว ยังมีพื้นที่อื่นๆ ไว้เขียนรายละเอียดสาหรับหน้าที่ที่ควรทารายวัน ราย
สัปดาห์ หรือรายเดือนได้ด้วย! เช่น วันที่ 29 เดือน 7 ทาการบ้านวิชา... เดดไลน์... อ่านหนังสือวิชา... วันที่
30 เดือน 7 สมัครสอบวิชา... อ่านหนังสือวิชา... ทาข้อสอบเก่าวิชา... เป็นต้น หน้าที่เหล่านี้สามารถกาหนด
เป็นหลักไว้คร่าวๆ ก่อนได้ เช่น อ่านหนังสือเตรียมสอบวิชาสาคัญ เป็นวิชาที่ต้องทาเกรดให้ดี เป็นวิชาที่ใช้
สาหรับสอบเข้ามหาวิทยาลัยเลยต้องอ่านทุกวันประมาณนี้ ที่ให้ลงไว้คร่าวๆ เพราะเดี๋ยวเรียนไปเรียนมา เชื่อ
ได้เลยว่ามันจะเพิ่มหน้าที่ใหม่ขึ้นมาแทรกหน้าที่สาคัญของเรา จนแทบปรับตารางไม่ทันกันเลยทีเดียว
5. ใช้แพลนเนอร์ย้าความเสี่ยง
5
พอลงปฏิทินเสร็จ ระบุหน้าที่เสร็จ เราจะรู้เลยว่าตัวเองเหลือเวลาเตรียมสอบอีกเท่าไหร่ถ้าเตรียมตัว
ชิลล์ๆ แบบนี้ต่อไปจะเริ่มอ่านหนังสือไม่ทัน ควรต้องปรับเปลี่ยนแผนด้วยการเพิ่มชั่วโมงอ่าน ฝึกทาข้อสอบ
เก่าให้หนักมากขึ้น เพื่อเตรียมเก็บเนื้อหาให้ครบและเซฟตัวเองให้ได้มากที่สุด เรียกได้ว่าแพลนเนอร์สร้าง
ความท้าทาย รวมถึงช่วยปลุกไฟในตัวเองได้มากเลยว่า "ทาตามเป้าหมาย" ได้รึเปล่า
6. เรียนรู้ข้อดีและข้อผิดพลาดในตัวเอง
ข้อดีของการจดแพลนเนอร์คือสิ่งที่ระบุลงปฏิทินไม่ว่าจะเป็นวันสมัครสอบ วันที่สอบ หน้าที่ที่ต้องทา
ในแต่ละวัน ฯลฯ ทั้งหมดนี้จะช่วยสอนให้เรียนรู้ว่า ถ้าเราไม่เปิดปฏิทินมาอ่านข้อความสาคัญที่เคยลงไว้ หรือ
ลืมนาลิสต์วันสาคัญลงสมุดแพลนเนอร์ เราอาจจะปล่อยคณะในฝันให้หลุดมือไปเลยก็ได้ หรือแผนอ่าน
หนังสือที่เคยลงตารางไว้ ทาตามนี้แล้วไม่เวิร์คเลย ปรับมาเป็นแบบนี้น่าจะดีกว่า การสารวจตัวเองผ่านแพลน
เนอร์จะทาให้น้องๆ เห็นเป้าหมายของตัวเองชัดเจนขึ้นทีละขั้นๆ
7. ใช้แพลนเนอร์ช่วยบอกพัฒนาการ
นอกจากจะเรียนรู้ข้อดีและวิเคราะห์ข้อผิดพลาดของตัวเองจากแพลนเนอร์แล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่เป็น
ประโยชน์มากก็คือ สามารถติดตามความก้าวหน้าของตัวเองได้ เช่น ลองจับเวลาฝึกทาข้อสอบเก่าทุกวัน
อาทิตย์ของสัปดาห์ มีการบันทึกคะแนนแต่ละวิชาไว้เรียบร้อย สัปดาห์ถัดๆ มา คะแนนแต่ละวิชาเรา
พัฒนาขึ้นหรือแย่ลง บทเรียนไหนที่เราทาคะแนนได้น้อยเป็นพิเศษ บทเรียนไหนที่ทาได้ดีอยู่แล้ว บทเรียน
ไหนทาได้ดีมากขึ้น การประเมินตัวเองแบบนี้ช่วยให้การเตรียมตัวของเราเข้าใกล้ความสาเร็จมากขึ้นนะคะ
เพราะถ้าคะแนนวิชาไหนยังไม่ดี นั่นก็หมายความว่าเราต้องพยายามให้มากขึ้น อันไหนทาดีอยู่แล้วก็ไม่ได้
แปลว่าเราจะทิ้งได้ เพราะนั่นคือคะแนนที่ควรกอบโกย
8. สรุปแพลนเนอร์ไดอารี่
สุดท้ายนี้อยากให้ กาหนดพื้นที่ว่างไว้สรุปแพลนเนอร์ไดอารี่ของตัวเองกันสักนิดหนึ่ง อาจจะไม่ต้อง
สรุปทุกวัน ขยันหน่อยก็รายสัปดาห์ ขี้เกียจมากเป็นรายเดือนก็ได้ อยากให้ ทาเช็กลิสต์ในแต่ละสัปดาห์/เดือน
ว่าเราทาตามแพลนที่วางไว้ได้รึเปล่า ทาเสร็จภายในวันเดียว หรือเลื่อนเวลาออกไปเป็น 2-3 วัน ถ้าเลื่อนมี
การทาชดเชยไหม? การจดแบบนี้จะทาให้เราเห็นว่า การตั้งเป้าหมายสาคัญ แต่การทาตามเป้าหมายสาคัญ
กว่า
นอกจากนี้อยากให้จดความรู้สึกของตัวเองไว้ด้วยทุกครั้งว่า ตอนนี้เป็นยังไง เหนื่อยไหม เจออะไรมาบ้าง ท้อ
กับเป้าหมายหรือยังสู้ไหว เขียนระบายและให้กาลังใจตัวเอง เราจะได้ไม่ต้องนอยด์อยู่คนเดียว อย่างน้อยตัวเราใน
อนาคตก็จะได้กลับมาอ่านสิ่งที่น้องๆ เขียนในวันนี้ แล้วก็ได้ยิ้มกว้างๆ ว่าความอดทน ตั้งใจ และความมีวินัยทาให้เรา
ประสบความสาเร็จได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
6
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
พี่เมก้า. 2560. How To : จดแพลนเนอร์ให้สอบติด! 8 ทิปส์ (ไม่) ลับที่อยากบอกต่อ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
https://www.dek-d.com/tcas/46501/. 7 มกราคม 2560

More Related Content

What's hot

Project computer
Project computerProject computer
Project computerChittiwa MC
 
โครงร่างโครงงานของแขก
โครงร่างโครงงานของแขกโครงร่างโครงงานของแขก
โครงร่างโครงงานของแขกManop Amphonyothin
 
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnnjeerasak1210
 
สวยใสจากภายในสู่ภายนอก
สวยใสจากภายในสู่ภายนอก สวยใสจากภายในสู่ภายนอก
สวยใสจากภายในสู่ภายนอก Pinchanok Muangping
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5sirawitaoonok
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานFah Phatcharida
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1NichareeRD
 
2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์ployprapim
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Nattika Pangjang
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรนotakublack1
 

What's hot (17)

Project computer
Project computerProject computer
Project computer
 
โครงร่างโครงงานของแขก
โครงร่างโครงงานของแขกโครงร่างโครงงานของแขก
โครงร่างโครงงานของแขก
 
หยก
หยกหยก
หยก
 
456789
456789456789
456789
 
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
2561 project-ketsarinnnnnnnnnnnnnn
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
สวยใสจากภายในสู่ภายนอก
สวยใสจากภายในสู่ภายนอก สวยใสจากภายในสู่ภายนอก
สวยใสจากภายในสู่ภายนอก
 
Cumkeaw
CumkeawCumkeaw
Cumkeaw
 
Fat
FatFat
Fat
 
2562 final-fair
2562 final-fair2562 final-fair
2562 final-fair
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
Work1 (1)
Work1 (1)Work1 (1)
Work1 (1)
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
กิจกรรม 1
กิจกรรม 1กิจกรรม 1
กิจกรรม 1
 
2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์2557 โครงงานดาราศาสตร์
2557 โครงงานดาราศาสตร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 

Similar to 2560 project

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Warunee Kantapanom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Aom Nachanok
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 projectmidfill69
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานTippatai
 
แบดมินตัน
แบดมินตันแบดมินตัน
แบดมินตันNuttida Meepo
 
ตอง
ตองตอง
ตองxQler
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดApiwitKaewko
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดApiwitKaewko
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมminddy Supicha
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 Kingky Kung
 
โครงร่างโครงานคอม
โครงร่างโครงานคอมโครงร่างโครงานคอม
โครงร่างโครงานคอมKanin Thejasa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์kooker
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์THEPHIM
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิchompunutuknow
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2793233922
 
2562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-082562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-08ssuser8f71e9
 

Similar to 2560 project (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1 pariyet 04
Work1 pariyet 04Work1 pariyet 04
Work1 pariyet 04
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบดมินตัน
แบดมินตันแบดมินตัน
แบดมินตัน
 
AT22
AT22AT22
AT22
 
ตอง
ตองตอง
ตอง
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
โครงร่างโครงานคอม
โครงร่างโครงานคอมโครงร่างโครงานคอม
โครงร่างโครงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิ
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-082562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-08
 
เพลี้ย
เพลี้ยเพลี้ย
เพลี้ย
 
2561 project 606.09
2561 project  606.092561 project  606.09
2561 project 606.09
 

More from ธันย์ชนก ศรีวงค์

More from ธันย์ชนก ศรีวงค์ (6)

กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
 
โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3
โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3
โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม ใบงานที่ 5
คอม ใบงานที่ 5คอม ใบงานที่ 5
คอม ใบงานที่ 5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เครื่องเก็บลำใย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เครื่องเก็บลำใยโครงงานวิทยาศาสตร์ เครื่องเก็บลำใย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เครื่องเก็บลำใย
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน วางแผนการสอบมหาวิทยาลัยด้วยแพลนเนอร์ Timeline planer ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวธันย์ชนก ศรีวงค์ เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 8 2. นางสาวปรียานุช เปรมสมาน เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวธันย์ชนก ศรีวงค์ เลขที่ 21 2. นางสาวปรียานุช เปรมสมาน เลขที่ 24 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วางแผนการสอบมหาวิทยาลัยด้วยแพลนเนอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Timeline planer ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวธันย์ชนก ศรีวงค์ 2. นางสาวปรียานุช เปรมสมาน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย หรือ ทปอ. ได้มีการ แถลงข่าวการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาแบบใหม่ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 ระบบการคัดเลือก บุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาแบบใหม่นี้ ไม่ใช่เอ็นทรานซ์ แต่เป็นระบบแอดมิชชั่นเดิมที่มีการปรับปรุงรูปแบบ โดยชื่อ TCAS โดยย่อมาจาก Thai University Central Admission System โดยจะมีการคัดเลือกทั้งหมด 5 รอบ ของ TCAS ส่วนบรรดาการสอบของข้อสอบส่วนกลางทั้งหมด จะเลื่อนไปสอบในเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน 2561 ซึ่ง ในการยื่นคะแนนสอบเข้ามหาวิทยาลัยในระบบ TCAS นี้ ต้องใช้คะแนนส่วนกลางนี้ซึ่งจะสอบเพียงครั้งเดียว สาหรับ การวางแผนเตรียมตัวในการ สอบเข้ามหาวิทยาลัย วางแผนการอ่านหนังสือ และทาโจทย์ต่างๆ เพื่อให้บรรลุถึง เป้าหมาย เราจาเป็นต้องมีแพลนเนอร์ไว้ช่วยในการวางแผน ทางคณะผู้จัดทาจึงได้นาเสนอวิธีการใช้แพลนเนอร์ วางแผนอนาคตเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย อีกทั้งแพลนเนอร์ยังช่วยเตือนวันสาคัญต่างๆ เช่น วันสมัครสอบได้อีกด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. ใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนสอบเข้ามหาลัย 2. ใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนการอ่านหนังสือ 3. ใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนตะลุยโจทย์ 4. ใช้แพลนเนอร์ในการเตือนวันสาคัญ เช่นวันสมัครสอบ 5. ใช้แพลนเนอร์เพื่อเตือนให้เรามีวินัยในการอ่านหนังสือ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การใช้แพลนเนอร์ในการวางแผนสอบเข้ามหาวิทยาลัย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) แพลนเนอร์ คือตัวช่วยวางแผนการเรียนและการสอบของเรา แพลนเนอร์จะช่วยจัดระเบียบความยุ่งยากใน ชีวิตเราได้เป็นอย่างดีและช่วยให้ทะลุเป้าหมาย ซึ่งก็คือการสอบติดไวขึ้นนั่นเอง 8 Tips จดแพลนเนอร์ให้สอบติด 1. เลือกสมุดแพลนเนอร์ในแบบที่ใช่! แผนที่ดีย่อมขึ้นอยู่กับการเริ่มต้นที่ดีด้วยค่ะ สมุดแพลนเนอร์สาคัญมาก หลายคนละทิ้งการจดแพลน เนอร์ไว้กลางทาง เพราะเขียนไปเขียนมาเละ ไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร ทาให้เบื่อจนเทในที่สุด แนะนาให้ตกลงกับตัวเองไว้ ก่อนเลยว่า เราจะเลือกใช้สมุดแพลนเนอร์แบบไหน มีฟอร์มปฏิทินแบบเดือนไว้ในหน้าแรกให้จดงานสาคัญลงไป มีฟอร์มปฏิทินแบบสัปดาห์ให้จดสิ่งที่ต้องทาแต่ละวัน และจะเห็นว่ามีพื้นที่ว่างอื่นๆ ไว้สาหรับเขียน โน้ตจุกจิกเพิ่มเติม 2. ใช้แพลนเนอร์ย้าอุดมการณ์ เพราะเราจะใช้แพลนเนอร์นี้ช่วยเรื่องสอบติด ดังนั้น อย่าลืมย้าเตือนเป้าหมายของตัวเองให้รู้ว่า "เรา สู้เพื่ออะไร" ถ้าเริ่มทาแพลนเนอร์เร็ว เช่น ฟิตตั้งแต่ ม.4 อาจจะเริ่มจากเป้าหมายเล็กๆ เช่น คว้าเกรด...ใน เทอมนี้! ไว้ก่อนก็ได้ แต่ถ้า เข้าสู่ ม.5 - ม.6 แล้ว แนะนาให้แปะภาพมหาวิทยาลัย คณะในฝัน หรือตัดต่อหน้า
  • 4. 4 ตัวเองใส่อาชีพที่อยากทาในอนาคตไว้ในหน้าแรกของแพลนเนอร์เลย เราจะได้มีพลังในการเตรียมสอบมาก ขึ้น อย่าลืมเขียนรางวัลให้ตัวเองด้วยนะคะ เวลาท้อๆ เปิดมาหน้าแรกจะได้มีแรงสู้ต่อและไม่เสียโฟกัส 3. สร้างแลนด์มาร์กลงแพลนเนอร์ นี่คือหัวใจของการทาแพลนเนอร์ เราใช้เจ้าสิ่งนี้ในการย้าเตือนไม่ให้พลาดวันสาคัญ อย่างที่รู้กันว่า ชีวิตเด็กมัธยมฯ มีอะไรให้ทาเยอะ เราอาจจะพลาดอะไรไปเยอะ พี่เมก้าแนะนาให้น้องๆ ลิสต์ออกมาก่อนว่า เราจะจดอะไรลงปฏิทินบ้าง เช่น ๐ วันสอบในโรงเรียน (เปิดตารางสอบขึ้นมาดูเลยว่าโรงเรียนสอบกลางภาควันที่เท่าไหร่ สอบปลายภาควันที่ เท่าไหร่ ส่วนสอบเก็บคะแนนรอขึ้นทะเบียนลงปฏิทินทีหลัง) ๐ วันสอบนอกโรงเรียน (สาหรับลิสต์นี้คือวันสอบใหญ่สาหรับเตรียมเข้ามหาวิทยาลัย เช่น สอบ GAT PAT O- NET 9 วิชาสามัญ สอบวิชาเฉพาะ คะแนนสอบอื่นๆ) ๐ วันสมัครสอบ (อันนี้สาคัญมาก! เพราะเป็นวันสมัครสอบในสนามนอกโรงเรียน พลาดไปอาจเกิดการสูญเสีย ได้ เพราะปีนี้แต่ละการสอบใหญ่จะเกิดขึ้นได้เพียงครั้งเดียว ทั้ง GAT PAT O-NET และ 9 วิชาสามัญ เพิ่มเติมสาหรับ ม.6 คือจะมีช่วงวันเปิดรับสมัคร TCAS ในแต่ละรอบ วันคัดเลือก วันประกาศผล และวันยืนยันสิทธิ์) ๐ การบ้าน (เพิ่มเติมสาหรับงานเยอะ แล้วอยากจะจดการบ้านสาคัญลงแพลนเนอร์ไว้เตือนความจา) จะเห็นว่ามีรายละเอียดที่ต้องใส่ลงแพลนเนอร์เยอะมาก จากที่พี่ลิสต์มาก็คงทาให้พื้นที่ในปฏิทินทั้งปี แน่นไปด้วยรอยปากกา แนะนาอีกอย่าง เราอาจจะใช้ปากกาสีเข้ามาช่วยในการจดแพลนเนอร์เพื่อแยกความ ต่างและป้องกันความสับสนได้ เช่น วันสอบในโรงเรียน-สีฟ้า วันสอบนอกโรงเรียน-สีชมพู วันสมัครสอบ-สี เขียว การบ้าน-สีม่วง แล้ววันไหนสาคัญมากก็สามารถสร้างแลนด์มาร์กเป็นสัญลักษณ์เด่น เช่น ดาวสีแดง เพื่อช่วยโฟกัสไปอีกก็ได้ สาคัญถึงชีวิตก็ดาวแดง 3 ดวงโลดดด! 4. ใช้แพลนเนอร์บอกหน้าที่ที่ควรทา จาที่บอกไว้ในหัวข้อเลือกสมุดแพลนเนอร์ที่ใช่ได้ไหม จะเห็นว่านอกจากเราจะใช้แพลนเนอร์ในการ บอกพิกัดวันสาคัญลงปฏิทินได้แล้ว ยังมีพื้นที่อื่นๆ ไว้เขียนรายละเอียดสาหรับหน้าที่ที่ควรทารายวัน ราย สัปดาห์ หรือรายเดือนได้ด้วย! เช่น วันที่ 29 เดือน 7 ทาการบ้านวิชา... เดดไลน์... อ่านหนังสือวิชา... วันที่ 30 เดือน 7 สมัครสอบวิชา... อ่านหนังสือวิชา... ทาข้อสอบเก่าวิชา... เป็นต้น หน้าที่เหล่านี้สามารถกาหนด เป็นหลักไว้คร่าวๆ ก่อนได้ เช่น อ่านหนังสือเตรียมสอบวิชาสาคัญ เป็นวิชาที่ต้องทาเกรดให้ดี เป็นวิชาที่ใช้ สาหรับสอบเข้ามหาวิทยาลัยเลยต้องอ่านทุกวันประมาณนี้ ที่ให้ลงไว้คร่าวๆ เพราะเดี๋ยวเรียนไปเรียนมา เชื่อ ได้เลยว่ามันจะเพิ่มหน้าที่ใหม่ขึ้นมาแทรกหน้าที่สาคัญของเรา จนแทบปรับตารางไม่ทันกันเลยทีเดียว 5. ใช้แพลนเนอร์ย้าความเสี่ยง
  • 5. 5 พอลงปฏิทินเสร็จ ระบุหน้าที่เสร็จ เราจะรู้เลยว่าตัวเองเหลือเวลาเตรียมสอบอีกเท่าไหร่ถ้าเตรียมตัว ชิลล์ๆ แบบนี้ต่อไปจะเริ่มอ่านหนังสือไม่ทัน ควรต้องปรับเปลี่ยนแผนด้วยการเพิ่มชั่วโมงอ่าน ฝึกทาข้อสอบ เก่าให้หนักมากขึ้น เพื่อเตรียมเก็บเนื้อหาให้ครบและเซฟตัวเองให้ได้มากที่สุด เรียกได้ว่าแพลนเนอร์สร้าง ความท้าทาย รวมถึงช่วยปลุกไฟในตัวเองได้มากเลยว่า "ทาตามเป้าหมาย" ได้รึเปล่า 6. เรียนรู้ข้อดีและข้อผิดพลาดในตัวเอง ข้อดีของการจดแพลนเนอร์คือสิ่งที่ระบุลงปฏิทินไม่ว่าจะเป็นวันสมัครสอบ วันที่สอบ หน้าที่ที่ต้องทา ในแต่ละวัน ฯลฯ ทั้งหมดนี้จะช่วยสอนให้เรียนรู้ว่า ถ้าเราไม่เปิดปฏิทินมาอ่านข้อความสาคัญที่เคยลงไว้ หรือ ลืมนาลิสต์วันสาคัญลงสมุดแพลนเนอร์ เราอาจจะปล่อยคณะในฝันให้หลุดมือไปเลยก็ได้ หรือแผนอ่าน หนังสือที่เคยลงตารางไว้ ทาตามนี้แล้วไม่เวิร์คเลย ปรับมาเป็นแบบนี้น่าจะดีกว่า การสารวจตัวเองผ่านแพลน เนอร์จะทาให้น้องๆ เห็นเป้าหมายของตัวเองชัดเจนขึ้นทีละขั้นๆ 7. ใช้แพลนเนอร์ช่วยบอกพัฒนาการ นอกจากจะเรียนรู้ข้อดีและวิเคราะห์ข้อผิดพลาดของตัวเองจากแพลนเนอร์แล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่เป็น ประโยชน์มากก็คือ สามารถติดตามความก้าวหน้าของตัวเองได้ เช่น ลองจับเวลาฝึกทาข้อสอบเก่าทุกวัน อาทิตย์ของสัปดาห์ มีการบันทึกคะแนนแต่ละวิชาไว้เรียบร้อย สัปดาห์ถัดๆ มา คะแนนแต่ละวิชาเรา พัฒนาขึ้นหรือแย่ลง บทเรียนไหนที่เราทาคะแนนได้น้อยเป็นพิเศษ บทเรียนไหนที่ทาได้ดีอยู่แล้ว บทเรียน ไหนทาได้ดีมากขึ้น การประเมินตัวเองแบบนี้ช่วยให้การเตรียมตัวของเราเข้าใกล้ความสาเร็จมากขึ้นนะคะ เพราะถ้าคะแนนวิชาไหนยังไม่ดี นั่นก็หมายความว่าเราต้องพยายามให้มากขึ้น อันไหนทาดีอยู่แล้วก็ไม่ได้ แปลว่าเราจะทิ้งได้ เพราะนั่นคือคะแนนที่ควรกอบโกย 8. สรุปแพลนเนอร์ไดอารี่ สุดท้ายนี้อยากให้ กาหนดพื้นที่ว่างไว้สรุปแพลนเนอร์ไดอารี่ของตัวเองกันสักนิดหนึ่ง อาจจะไม่ต้อง สรุปทุกวัน ขยันหน่อยก็รายสัปดาห์ ขี้เกียจมากเป็นรายเดือนก็ได้ อยากให้ ทาเช็กลิสต์ในแต่ละสัปดาห์/เดือน ว่าเราทาตามแพลนที่วางไว้ได้รึเปล่า ทาเสร็จภายในวันเดียว หรือเลื่อนเวลาออกไปเป็น 2-3 วัน ถ้าเลื่อนมี การทาชดเชยไหม? การจดแบบนี้จะทาให้เราเห็นว่า การตั้งเป้าหมายสาคัญ แต่การทาตามเป้าหมายสาคัญ กว่า นอกจากนี้อยากให้จดความรู้สึกของตัวเองไว้ด้วยทุกครั้งว่า ตอนนี้เป็นยังไง เหนื่อยไหม เจออะไรมาบ้าง ท้อ กับเป้าหมายหรือยังสู้ไหว เขียนระบายและให้กาลังใจตัวเอง เราจะได้ไม่ต้องนอยด์อยู่คนเดียว อย่างน้อยตัวเราใน อนาคตก็จะได้กลับมาอ่านสิ่งที่น้องๆ เขียนในวันนี้ แล้วก็ได้ยิ้มกว้างๆ ว่าความอดทน ตั้งใจ และความมีวินัยทาให้เรา ประสบความสาเร็จได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________
  • 6. 6 ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) พี่เมก้า. 2560. How To : จดแพลนเนอร์ให้สอบติด! 8 ทิปส์ (ไม่) ลับที่อยากบอกต่อ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.dek-d.com/tcas/46501/. 7 มกราคม 2560