SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการแปลงขอมูลภาพดิจิทล
                                              ั
       (Introduction to images digitization)
                                        ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ
                       http://www.slideshare.net/rachabodin/
เนื้อหาการบรรยาย
• การแปลงขอมูลคืออะไร?
• ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับขอมูลภาพ
• คําศัพทพื้นฐานเกี่ยวกับขอมูลภาพดิจิทัล




                                             2
การแปลงขอมูลคืออะไร?

การแปลงขอมูล (Digitization) คือ กระบวนการที่
เกียวของกับการเปลียนรูปแบบของขอมูลจริง หรือ
   ่                   ่
ขอมูลที่ไมไดอยูในรูปแบบดิจิทัล ใหเปนขอมูลที่อยูใน
                                                      
รูปแบบดิจิทัล (ขอมูลที่ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1)



                                                           3
แปลงขอมูลเพื่ออะไร?
 • เก็บบันทึกสภาพปจจุบันใหอยูในรูปแบบดิจิทัล
 • เพื่อลดการใชงานตนฉบับ
 • รักษาความปลอดภัยใหกับขอมูลตนฉบับ
 • เพื่อใหเกิดความสะดวกตอการใชงาน การดูแลรักษา
   สามารถเขาถึง หรือเผยแพรไดงาย
 • เพื่อใหสามารถทําซ้าไดโดยไมกระทบกับคุณภาพ
                      ํ
   ของตนฉบับ
                                                    4
วิธีการที่ใชในการแปลงขอมูล
วิธีการที่ใชในการแปลงขอมูลมีหลายวิธี ขึนอยูกับ
                                         ้
ชนิดของขอมูลตนฉบับ เชน
     • การสแกนโดยใชเครืองสแกนเนอร
                          ่
     • การถายภาพดวยกลองถายภาพดิจิทัล
     • การบันทึกภาพและเสียงดวยกลองวิดีโอดิจิทัล
     • การบันทึกเสียงดวยอุปกรณบันทึกเสียงดิจิทล ั
     • การแปลงขอมูลดวยซอฟตแวร
                                                      5
รูปแบบของขอมูลตนฉบับ
 • ขอมูลที่อยูในรูปของกระดาษ ไดแก ตัวอักษร
               
   ภาพวาด ภาพถาย และแผนที่
 • ขอมูลเสียง
 • ขอมูลวิดีโอ ภาพเคลือนไหว
                       ่
 • ฟลม
 • ขอมูลจริงในลักษณะสามมิติ

                                                6
ประเภทของขอมูลภาพตนฉบับ
• Reflective
  • Prints
• Transparent
  • Negative Film
  • Positive Film
• อื่นๆ

                            7
Digital Imaging System




    INPUT         PROCESSOR   OUTPUT

                                       8
Analog to Digital Conversion




                   SAMPLING



                               9
Analog to Digital Conversion




                               10
ประเภทของภาพดิจทัล
               ิ

               VECTOR IMAGE


               BITMAP IMAGE


                              11
ภาพแบบบิตแมปและภาพแบบเวคเตอร

     Bitmap
     Image



     Vector
     Image
                                12
ภาพดิจิทลแบบเวคเตอร (Vector Image)
        ั
   ภาพแบบเวคเตอร เปนภาพที่เกิดจากการคํานวณทางคณิตศาสตร
   ในการกําหนดโครงรางของภาพ ที่ประกอบขึ้นจากเสนตรง และเสน
   โคง โดยจัดเก็บไฟลภาพในลักษณะของตัวแปรทางคณิตศาสตร
   เปนผลใหไฟลมีขนาดเล็ก คุณสมบัติที่สําคัญของภาพแบบเวคเตอร
   คือ การเปลี่ยนสี การเปลี่ยนขนาด หรือการยอ/ขยายภาพจะไมมี
   ผลตอคุณภาพของภาพ

                                                           13
ตัวอยางภาพดิจิทัลแบบเวคเตอร




                                                                                                               14
ข ้อมูลจากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/DigitalImaging_L/01Vector.html
ภาพดิจิทลแบบบิตแมป (Bitmap Image)
         ั
            ภาพแบบบิตแมป ในทางเทคนิคเรียกวา “Raster Image” ประกอบ
            ขึ้นจากจุดเล็กๆ มีลักษณะเปนตะแกรงเรียงประกอบขึ้นเปนภาพ
            ลักษณะคลายๆ กับการปูกระเบื้อง เรียกวา พิกเซล (Pixels) ซึ่งในแตละ
            Pixels ถูกบรรจุดวยขอมูลสีขึ้นอยูกับภาพนั้นๆ วาใชโหมดสีแบบใด
            ยกตัวอยางเชน โหมดสีที่ใชในกลองถายภาพดิจิตอลเปนโหมดสี RGB
            หมายถึงในแตละพิกเซลถูกบรรจุขอมูลของแมสีแดง เขียว และน้ําเงิน R
            (Red) G (Green) B (Blue) เปนตน
                                                                                                               15
ข ้อมูลจากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/DigitalImaging_L/02Bitmap.html
ตัวอยางภาพดิจิทัลแบบบิตแมป




                                                                                                               16
ข ้อมูลจากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/DigitalImaging_L/02Bitmap.html
พิกเซล (PIXEL)
                 พิกเซล คือ หนวยที่เล็กที่สุดของภาพ
                 บิตแมป ในหนึ่งภาพจะประกอบดวยหลายๆ
                 พิกเซลทีมีขนาดเทากัน มาประกอบกันใน
                         ่
                 ลักษณะของแมทริกซ หนึ่งพิกเซลจะบรรจุ
                 คาสีของภาพ




                                                        17
Bit Depth




            18
ความละเอียดในการแสดงผล
   ความละเอียดในการแสดงผล (Resolution) คือ
   จํานวนหนวยของพิกเซลตอพื้นที่ ความละเอียดในการ
   แสดงที่แตกตางกัน จะมีผลใหคุณภาพของภาพที่แสดง
   ออกมาแตกตางกัน




                                                     19
ความละเอียดของภาพดิจิทัล
   ความละเอียดของภาพ (Image Resolution) คือ
   จํานวนหนวยของพิกเซลตอพื้นที่ในรูปภาพ เชน PPI
   (Pixels Per Inch) เปนหนวยที่ระบุจํานวนพิกเซลตอนิ้ว
   ความละเอียดในการแสดงที่แตกตางกัน จะมีผลให
   คุณภาพของภาพที่แสดงออกมาแตกตางกัน
     หมายเหตุ
     ความละเอียดของการแสดงผล นอกจากขึ้นอยูกับความละเอียดของภาพแลว
     ยังขึ้นอยูกับความละเอียดของอุปกรณแสดงผลขอมูล
                                                                      20
ความละเอียดของจอภาพ
   ความละเอียดของจอภาพ (Screen Resolution) คือ คา
   ของจํานวนจุดที่มากที่สุดที่จอคอมพิวเตอรสามารถแสดง
   ผลได เชน แสดงผลที่ความละเอียด 1024 x 768 พิกเซล
   หมายถึง จํานวนพิกเซลในแนวนอน เทากับ 1024 พิกเซล
   และจํานวนพิกเซลในแนวตั้ง เทากับ 768 พิกเซล
    หมายเหตุ
    ความละเอียดที่แสดงบนขอภาพ นอกจากขึ้นอยูกับความละเอียดของจอภาพแลว
    ยังขึ้นอยูกับความสามารถในการแสดงผลของการดแสดงผลในคอมพิวเตอร
                                                                     21
ความละเอียดของเครื่องพิมพ
   ความละเอียดของเครื่องพิมพ (Printer Resolution)
   แสดงถึง จํานวนจุดที่เครื่องพิมพสามารถพิมพไดตอนิ้ว
   (Dots Per Inch, DPI) เชน ถาเครื่องพิมพแบบเลเซอรมี
   ความละเอียด 300 จุดตอนิ้ว นันคือ เครื่องพิมพสามารถ
                                  ่
   พิมพได 300 จุดทุกๆ 1 นิ้ว เปนตน


                                                           22
ขอบคุณครับ



             23

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
jumjim2012
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
Winwin Nim
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
คีตะบลู รักคำภีร์
 

What's hot (8)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
 

Viewers also liked

รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
Attaporn Ninsuwan
 
Tweet to diigo
Tweet to diigoTweet to diigo
Tweet to diigo
Dai Barnes
 
C:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disordersC:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disorders
Steve Kashdan
 
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Steve Kashdan
 

Viewers also liked (20)

General Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package ToolGeneral Digital Archive Package Tool
General Digital Archive Package Tool
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-24
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
Tweet to diigo
Tweet to diigoTweet to diigo
Tweet to diigo
 
C:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disordersC:\fakepath\psychological disorders
C:\fakepath\psychological disorders
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe PhotoshopCreating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
 
Beekman5 std ppt_05
Beekman5 std ppt_05Beekman5 std ppt_05
Beekman5 std ppt_05
 
Proyectosolidario.pptx
Proyectosolidario.pptxProyectosolidario.pptx
Proyectosolidario.pptx
 
Bittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Bittorrent Seminar Report by Shyam PrakashBittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Bittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
 
Accelerated Grid Theming
Accelerated Grid ThemingAccelerated Grid Theming
Accelerated Grid Theming
 
flashcards A1
flashcards A1flashcards A1
flashcards A1
 
Nectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive ConceptNectec Digital Archive Concept
Nectec Digital Archive Concept
 
Marifet İltifata Tabidir
Marifet İltifata TabidirMarifet İltifata Tabidir
Marifet İltifata Tabidir
 
Erasmus+ uppgift
Erasmus+ uppgiftErasmus+ uppgift
Erasmus+ uppgift
 
Budding Culture Work Samples
Budding Culture Work SamplesBudding Culture Work Samples
Budding Culture Work Samples
 
Perl basics for Pentesters
Perl basics for PentestersPerl basics for Pentesters
Perl basics for Pentesters
 
Social Business Conference 2013 - Social Media: Become a large platform or ju...
Social Business Conference 2013 - Social Media: Become a large platform or ju...Social Business Conference 2013 - Social Media: Become a large platform or ju...
Social Business Conference 2013 - Social Media: Become a large platform or ju...
 
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
Kayla ppt whatmakes psych a science psych 1
 
Gagliardi
GagliardiGagliardi
Gagliardi
 
Civil Disobedience
Civil DisobedienceCivil Disobedience
Civil Disobedience
 

Similar to Introduction to Images Digitization

Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesign
krujew
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
wattikorn_080
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...
chanita
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
Nimanong Nim
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
jibbie23
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
วาสนา ใจสุยะ
 
ระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอลระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอล
Titima
 

Similar to Introduction to Images Digitization (20)

Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesign
 
Introduction to Digital Imaging
Introduction to Digital ImagingIntroduction to Digital Imaging
Introduction to Digital Imaging
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่งบทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
 
EbookPictureFormat
EbookPictureFormatEbookPictureFormat
EbookPictureFormat
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...
 
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกหน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
Digital Media
Digital MediaDigital Media
Digital Media
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 5
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 5Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 5
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 5
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
ระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอลระบบภาพดิจิตอล
ระบบภาพดิจิตอล
 

More from Rachabodin Suwannakanthi

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
Rachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 

More from Rachabodin Suwannakanthi (20)

ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กรระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing filesUsing copy.com website for uploading and sharing files
Using copy.com website for uploading and sharing files
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing filesUsing copy.com app for uploading and sharing files
Using copy.com app for uploading and sharing files
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
 
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
 
Archives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital AgeArchives and Museum in Digital Age
Archives and Museum in Digital Age
 
Camera RAW Workflow
Camera RAW WorkflowCamera RAW Workflow
Camera RAW Workflow
 
Archives and Digital Archives
Archives and Digital ArchivesArchives and Digital Archives
Archives and Digital Archives
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and LightroomCreating HDR images with Photomatix and Lightroom
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop LightroomHDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
 
How to Create an Educational Media
How to Create an Educational MediaHow to Create an Educational Media
How to Create an Educational Media
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
Introduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual TourIntroduction to Virtual Tour
Introduction to Virtual Tour
 
Basic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic PhotographyBasic HDR Panoramic Photography
Basic HDR Panoramic Photography
 
Multi-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic PhotographyMulti-rows HDR Panoramic Photography
Multi-rows HDR Panoramic Photography
 
Introduction to Image Digitization
Introduction to Image DigitizationIntroduction to Image Digitization
Introduction to Image Digitization
 
Introduction to Digital Imaging
Introduction to Digital ImagingIntroduction to Digital Imaging
Introduction to Digital Imaging
 
Digital Museum
Digital MuseumDigital Museum
Digital Museum
 

Introduction to Images Digitization

  • 1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการแปลงขอมูลภาพดิจิทล ั (Introduction to images digitization) ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ http://www.slideshare.net/rachabodin/
  • 3. การแปลงขอมูลคืออะไร? การแปลงขอมูล (Digitization) คือ กระบวนการที่ เกียวของกับการเปลียนรูปแบบของขอมูลจริง หรือ ่ ่ ขอมูลที่ไมไดอยูในรูปแบบดิจิทัล ใหเปนขอมูลที่อยูใน  รูปแบบดิจิทัล (ขอมูลที่ประกอบดวยตัวเลข 0 และ 1) 3
  • 4. แปลงขอมูลเพื่ออะไร? • เก็บบันทึกสภาพปจจุบันใหอยูในรูปแบบดิจิทัล • เพื่อลดการใชงานตนฉบับ • รักษาความปลอดภัยใหกับขอมูลตนฉบับ • เพื่อใหเกิดความสะดวกตอการใชงาน การดูแลรักษา สามารถเขาถึง หรือเผยแพรไดงาย • เพื่อใหสามารถทําซ้าไดโดยไมกระทบกับคุณภาพ ํ ของตนฉบับ 4
  • 5. วิธีการที่ใชในการแปลงขอมูล วิธีการที่ใชในการแปลงขอมูลมีหลายวิธี ขึนอยูกับ ้ ชนิดของขอมูลตนฉบับ เชน • การสแกนโดยใชเครืองสแกนเนอร ่ • การถายภาพดวยกลองถายภาพดิจิทัล • การบันทึกภาพและเสียงดวยกลองวิดีโอดิจิทัล • การบันทึกเสียงดวยอุปกรณบันทึกเสียงดิจิทล ั • การแปลงขอมูลดวยซอฟตแวร 5
  • 6. รูปแบบของขอมูลตนฉบับ • ขอมูลที่อยูในรูปของกระดาษ ไดแก ตัวอักษร  ภาพวาด ภาพถาย และแผนที่ • ขอมูลเสียง • ขอมูลวิดีโอ ภาพเคลือนไหว ่ • ฟลม • ขอมูลจริงในลักษณะสามมิติ 6
  • 7. ประเภทของขอมูลภาพตนฉบับ • Reflective • Prints • Transparent • Negative Film • Positive Film • อื่นๆ 7
  • 8. Digital Imaging System INPUT PROCESSOR OUTPUT 8
  • 9. Analog to Digital Conversion SAMPLING 9
  • 10. Analog to Digital Conversion 10
  • 11. ประเภทของภาพดิจทัล ิ VECTOR IMAGE BITMAP IMAGE 11
  • 13. ภาพดิจิทลแบบเวคเตอร (Vector Image) ั ภาพแบบเวคเตอร เปนภาพที่เกิดจากการคํานวณทางคณิตศาสตร ในการกําหนดโครงรางของภาพ ที่ประกอบขึ้นจากเสนตรง และเสน โคง โดยจัดเก็บไฟลภาพในลักษณะของตัวแปรทางคณิตศาสตร เปนผลใหไฟลมีขนาดเล็ก คุณสมบัติที่สําคัญของภาพแบบเวคเตอร คือ การเปลี่ยนสี การเปลี่ยนขนาด หรือการยอ/ขยายภาพจะไมมี ผลตอคุณภาพของภาพ 13
  • 14. ตัวอยางภาพดิจิทัลแบบเวคเตอร 14 ข ้อมูลจากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/DigitalImaging_L/01Vector.html
  • 15. ภาพดิจิทลแบบบิตแมป (Bitmap Image) ั ภาพแบบบิตแมป ในทางเทคนิคเรียกวา “Raster Image” ประกอบ ขึ้นจากจุดเล็กๆ มีลักษณะเปนตะแกรงเรียงประกอบขึ้นเปนภาพ ลักษณะคลายๆ กับการปูกระเบื้อง เรียกวา พิกเซล (Pixels) ซึ่งในแตละ Pixels ถูกบรรจุดวยขอมูลสีขึ้นอยูกับภาพนั้นๆ วาใชโหมดสีแบบใด ยกตัวอยางเชน โหมดสีที่ใชในกลองถายภาพดิจิตอลเปนโหมดสี RGB หมายถึงในแตละพิกเซลถูกบรรจุขอมูลของแมสีแดง เขียว และน้ําเงิน R (Red) G (Green) B (Blue) เปนตน 15 ข ้อมูลจากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/DigitalImaging_L/02Bitmap.html
  • 16. ตัวอยางภาพดิจิทัลแบบบิตแมป 16 ข ้อมูลจากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ http://www.bpsthai.org/BPS_Links/PhotoTechnic_L/DigitalImaging_L/02Bitmap.html
  • 17. พิกเซล (PIXEL) พิกเซล คือ หนวยที่เล็กที่สุดของภาพ บิตแมป ในหนึ่งภาพจะประกอบดวยหลายๆ พิกเซลทีมีขนาดเทากัน มาประกอบกันใน ่ ลักษณะของแมทริกซ หนึ่งพิกเซลจะบรรจุ คาสีของภาพ 17
  • 18. Bit Depth 18
  • 19. ความละเอียดในการแสดงผล ความละเอียดในการแสดงผล (Resolution) คือ จํานวนหนวยของพิกเซลตอพื้นที่ ความละเอียดในการ แสดงที่แตกตางกัน จะมีผลใหคุณภาพของภาพที่แสดง ออกมาแตกตางกัน 19
  • 20. ความละเอียดของภาพดิจิทัล ความละเอียดของภาพ (Image Resolution) คือ จํานวนหนวยของพิกเซลตอพื้นที่ในรูปภาพ เชน PPI (Pixels Per Inch) เปนหนวยที่ระบุจํานวนพิกเซลตอนิ้ว ความละเอียดในการแสดงที่แตกตางกัน จะมีผลให คุณภาพของภาพที่แสดงออกมาแตกตางกัน หมายเหตุ ความละเอียดของการแสดงผล นอกจากขึ้นอยูกับความละเอียดของภาพแลว ยังขึ้นอยูกับความละเอียดของอุปกรณแสดงผลขอมูล 20
  • 21. ความละเอียดของจอภาพ ความละเอียดของจอภาพ (Screen Resolution) คือ คา ของจํานวนจุดที่มากที่สุดที่จอคอมพิวเตอรสามารถแสดง ผลได เชน แสดงผลที่ความละเอียด 1024 x 768 พิกเซล หมายถึง จํานวนพิกเซลในแนวนอน เทากับ 1024 พิกเซล และจํานวนพิกเซลในแนวตั้ง เทากับ 768 พิกเซล หมายเหตุ ความละเอียดที่แสดงบนขอภาพ นอกจากขึ้นอยูกับความละเอียดของจอภาพแลว ยังขึ้นอยูกับความสามารถในการแสดงผลของการดแสดงผลในคอมพิวเตอร 21
  • 22. ความละเอียดของเครื่องพิมพ ความละเอียดของเครื่องพิมพ (Printer Resolution) แสดงถึง จํานวนจุดที่เครื่องพิมพสามารถพิมพไดตอนิ้ว (Dots Per Inch, DPI) เชน ถาเครื่องพิมพแบบเลเซอรมี ความละเอียด 300 จุดตอนิ้ว นันคือ เครื่องพิมพสามารถ ่ พิมพได 300 จุดทุกๆ 1 นิ้ว เปนตน 22