SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
1. คอมพิวเตอร์ กราฟิ กกับการออกแบบ
                      คอมพิวเตอร์ กราฟิ กได้ถูกนํามาใช้ในการออกแบบมาเป็ นเวลานาน เราคงจะเคยได้ยนคําว่า
                                                                                                    ิ
CAD (Computer - Aided Design) ซึ่ งเป็ นโปรแกรมสําหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรม
เหล่านี้จะช่วยให้ผออกแบบหรื อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผูออกแบบสามารถเขียน
                       ู้                                                              ้
เป็ นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริ งได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อผูออกแบบกําหนดขนาด
                                                                                     ้
ของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผูออกแบบยังสามารถย่อหรื อขยายภาพนั้น หรื อต้องการหมุนภาพไปในมุม
                                           ้
ต่างๆ ได้ดวย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบนกระดาษ
           ้                             ํ
                      ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กถูกนํามาใช้ในการออกแบบ
วงจรต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรี ยมไว้ให้แล้วมา
               ้
ประกอบกันเป็ นวงจรที่ตองการ ผูออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิมเติมวงจรได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยงมี
                                 ้           ้                     ่                                     ั
โปรแกรมสําหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่ งมีความสามารถจัดการให้แผ่นปริ นต์มีขนาดที่
จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด
                      การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่ องบิน หรื อเครื่ องจักรต่างๆ ในปั จจุบนก็ใช้
                                                                                                  ั
ระบบ CAD นกออกแบบสามารถจะออกแบบส่วนยอยๆ แต่ละส่วนก่อน แลวนามาประกอบกนเป็นส่วน
                    ั                                   ่                     ้ ํ              ั
ใหญ่ข้ ึนจนเป็ นเครื่ องจักรเครื่ องยนต์ที่ตองการได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบ
                                               ้
แบบจําลองที่ออกแบบไว้ได้ดวย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนําโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้นมา
                                     ้
จําลองการวิง โดยให้วงที่ความเร็ วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ซึ่ งการทดลองแบบนี้สามารถทําได้ในระบบ
             ่                ิ่
คอมพิวเตอร์ และจะประหยัดกว่าการสร้างรถจริ งๆ แล้วนําออกมาศึกษาทดสอบการวิง                ่
                      การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรื อโครงสร้างใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ
สถาปั ตยกรรม ก็สามารถทําได้โดยใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างใน
แบบ 2 มิติเสร็จแลว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็ นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองต่างๆ
                            ้
กันได้ตามที่ผออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้ปรากฏต่อผูออกแบบราวกับว่า
                 ู้                                                                        ้
ผูออกแบบสามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่ออกแบบได้ดวย
  ้                                                          ้
2. กราฟและแผนภาพ
                      คอมพิวเตอร์ กราฟิ กถูกนํามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูลได้เป็ นอย่าง
ดี โปรแกรมทางกราฟิ กทัวไปในท้องตลาดจะเป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ
                                   ่
โปรแกรมเหล่านี้ยงสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม นอกจากนี้
                          ั
ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ท้ งในรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทําให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและน่าสนใจ กราฟและ
                                       ั
แผนภาพทางธุ รกิจ เช่น กราฟหรื อแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็ นประโยชน์ต่อ
ผูบริ หารหรื อผูจดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทําความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ วกว่าเดิม ใน
  ้              ้ั
งานวิจยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิ สิ กส์ กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้นกวิจยทําความเข้าใจกับข้อมูลได้
        ั                                                                ั ั
ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ตองวิเคราะห์มีจานวนมาก
                       ้             ํ
                    ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรื อ GIS (Geographical Information System) ก็เป็นรูปแบบ
หนึ่งของการแสดงข้อมูลในทํานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ จะถูกเก็บลงในระบบ
คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรู ปของแผน
ที่ทางภูมิศาสตร์
3. ภาพศิลป์ โดยคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
                    การวาดภาพในปัจจุบนน้ ี ใครๆ ก็สามารถวาดไดแลวโดยไม่ตองใชพกนกบจานสี แต่จะใช้
                                       ั                       ้ ้          ้ ้ ู่ ั ั
คอมพิวเตอร์ กราฟิ กแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กนี้ เราสามารถกําหนดสี แสงเงา รู ปแบบ
ลายเส้นที่ตองการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็ นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
             ้
ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์ วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่ วนที่ตองการได้ง่าย นอกจากนี้เรายัง
                                                                          ้
สามารถนําภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ ได้โดยใช้เครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) แลวนาภาพเหล่าน้ น
                                                                                      ้ ํ            ั
มาแก้ไข

4. ภาพเคลือนไหวโดยใช้ คอมพิวเตอร์
            ่
                 ภาพยนตร์ การ์ ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์ หรื อภาพยนตร์ ที่ใช้เทคนิคพิเศษ
ต่างๆ ในปั จจุบนมีการนําคอมพิวเตอร์ กราฟิ กเข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว
               ั
(Computer Animation) มากข้ ึน เนื่องจากเป็นวธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกวาวธีอื่นๆ นอกจากน้ ีภาพที่ได้
                                                ิ                          ่ ิ
ยังดูสมจริ งมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น การใช้
                                    ่
คอมพิวเตอร์ กราฟิ กช่วยให้ภาพที่อยูในจินตนาการของมนุษย์สามารถนําออกมาทําให้ปรากฏเป็ นจริ งได้
ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจย และการจําลองการทํางาน เช่น
                                                                       ั
จําลองการขับรถ การขับเครื่ องบิน เป็ นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์ หรื อวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลักการทําภาพเคลื่อน
ไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิกเช่นกน      ั
 5. อเิ มจโปรเซสซิงก์
                 คําว่าอิเมจโปรเซสซิ งก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรู ป
หรื อจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิ งก์จะต่างกับวิธีการของ
คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ตัวคอมพิวเตอร์ เองจะเป็ นตัวที่สร้างภาพ แต่เทค
                            ั                 ํ                                         ่
นิกทางอิเมจโปรเซสซิ งก์น้ นใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการจัดรู ปแบบของสี และแสงเงาที่มีอยูแล้วในภาพให้
เป็ นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวธีการทําให้ภาพที่รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็
                                      ิ
จัดการกับข้อมูลดิจิตอลนี้ให้เป็ นภาพส่ งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์ อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการ
แสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวสแกนของหุ่นยนต์
                                                                                      ี
อุตสาหกรรม เป็นตน      ้
                  เมื่อภาพถ่ายถูกทําให้เป็ นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพ
นั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพนันเอง ซึ่ งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์ กราฟิ กมาใช้กบ
                                               ่                                                  ั
ข้อมูลเหล่านี้ได้ เช่น ในภาพสําหรับการโฆษณา เราสามารถทําให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไป
จากเดิมได้โดยมีภาพบางอย่างเพิ่มเข้าไปหรื อบางส่ วนของภาพนั้นหายไป ทําให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็ นจริ ง
แต่ดูเหมือนกบเกิดข้ ึนจริงได้ เป็นตน
              ั                      ้
                                                                    ั
                  เทคนิคของอิเมจโปเซสซิ งก์สามารถประยุกต์ใช้กบการแพทย์ได้ เช่น เครื่ องเอกซเรย์ โท
โมกราฟี (X-ray Tomography) ซึ่ งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบร่ างกายมนุษย์ เป็ นต้น
                                        ํ
                                                    ่
                  จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้วาคอมพิวเตอร์ กราฟิ กนั้นนับวันยิงมีความสําคัญใน
                                                                                 ่
สาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็ นการดีที่เราควรจะมีความรู ้ความเข้าใจในหลักการและทคนิคเบื้องต้น
ต่างๆ ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก


โครงงานประยกต์ใช้งาน (Application)
           ุ

ระบบบริ หารจัดการข้อมูลผูเ้ รี ยนของโรงเรี ยน

ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่ วนบุคคล

ระบบจองตัวรถไฟบนอินเทอร์ เน็ต
         ๋

ระบบแนะนําเส้นทางเดินรถประจําทาง

โปรแกรมสังเคราะห์เสี ยงสําหรับคนตาบอดบนรถประจําทาง

โปรแกรมออกและตรวจขอสอบ
                  ้

โฮมเพจส่ วนบุคคล

โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น

โปรแกรมพจนานุกรมไทย-องกฤษ
                     ั
ตัวอย่างโครงงาน

ชื่อโครงงาน การพัฒนาเว็บเพ็จ เรื่ องอาหารญี่ปุ่น

ผู้จัดทําโครงงาน
1.เด็กชาย มงคล     ร่มเยน
                        ็          เลขที่ 14 ประธาน
3.เด็กหญิง นภาภรณ์ นิยม             เลขที่ 29 รองประธาน
4.เด็กหญิง สุทศน์ สุ ทธิ
               ั                    เลขที่ 34 เหรัญญิก

ชื่ ออาจารย์ ทปรึกษาโครงงาน
              ี่
อาจารย ์ อภิญญา นาคใหญ่

ทีมาและความสํ าคัญของโครงงาน
  ่
       ปั จจุบนอาหารญี่ปุ่นมีแพร่ หลายในประเทศไทยเป็ นจํานวนมากและคนไทยนิยมรับประทานกัน
              ั
มาก ร้านอาหารญี่ปุ่นในเมืองไทยมีหลายแห่ง เช่น ร้านอาหารญี่ป่ ุนโอเอชิ เป็นตน อาหาร ญี่ป่ ุนมีคนไป
                                                                              ้
รับประทานกันมากเช่นเดียวกับชาวต่างชาติที่นิยมรับประทานอาหาร ญี่ป่ ุนเช่นเดียวกนในเวบอาหารญี่ป่ ุนมี
                                                                                ั      ็
วิธีการทําอาหารที่แตกต่างกันออกไป จึง จัดทําโครงงานเรื่ องอาหารญี่ปุ่นขึ้นรวบรวมวิธีการทําอาหารญี่ปุ่น
ไว้สาหรับคน ที่ทาอาหารญี่ปุ่นไม่เป็ นก็ยงสามารถค้นหาข้อมูลในเว็บไซด์และยังสามารถช่วย ประหยัด
     ํ             ํ                    ั
ค่าใช้จ่ายของผูที่ชื่นชอบทานอาหารญี่ปุ่นด้วย
                ้

จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้ นคว้ า
1.เพื่อเสนอประวัติความเป็ นมาของอาหารญี่ปุ่น
2.วิธีการทําอาหารญี่ปุ่น
3.ประโยชน์ของอาหารญี่ปุ่น
สมมติฐานการศึกษาค้ นคว้ า
1. อาหารญี่ปุ่นในเง้มุมของคนไทยเป็ นอย่างไร
2.อาหารญี่ปุ่นมีความสําคัญต่อคนไทยอย่างไร
3.งานชิ้นนี้มีผลอย่างไรต่อคนที่นิยมทานอาหารญี่ปุ่นกัน
วธีการดําเนินงาน
 ิ
1.วัสดุอุปกรณ์
1.1 ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และเครื่ องมืออื่นๆที่ใช้ในการศึกษา
1.2 จดกลุ่ม
       ั
1.3 เขียนเค้าโครงร่ าง
1.4 วางแผน



แนวทางการศึกษาค้ นคว้ า
1.นําไปใช้ในชีวตประจําวัน โดยการไปเปิ ดร้านทําอาหารญี่ปุ่นขาย
                    ิ
2.เมื่อเรารู ้วธีการทําแล้วก็สามารถทําเอาไปขายได้
               ิ
3.นําไปเผยแพร่ ให้ผอื่นได้รู้ในการทําอาหารญี่ปุ่น
                        ู้

แผนการปฏิบัติงาน
   ระยะเวลา(1มิ.ย.-31ส.ค.51)
ลาดบ
  ํ ั               รายการ                  ว/ด/ป        เหตุผล
1       จับกลุ่มการทํางาน             1/มิ.ย./51
2       เลือกเรื่องที่จะทา
                         ํ            8/มิ.ย./51
3       ปรึ กษาและแบ่งงาน             15/มิ.ย./51
4       หาขอมูลและรวบรวม
             ้                        22/มิ.ย./51
5.      ปฏิบติงาน
               ั                      10/ส.ค./51
6       ส่ งงาน                       17/ส.ค./51
7       ปรับปรุ งแก้ไข                24/ส.ค./51
8       ส่ งโครงร่ างโครงงาน          31/ส.ค./51

งบประมาณทีใช้  ่
 1.หนังสื อที่ใช้ 95 บาท
 2.ค่าใช้อินเตอร์ เน็ตที่อื่น 100 บาท
 3.ค่ารถในการเดินทางไปใช้อินเตอร์ เน็ต 82 บาท
 ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
      ่

1.อาหารญี่ปุ่นนั้นเป็ นอาหารที่มีค่าใช้จ่ายมากอร่ อย มีท้งประโยชน์และโทษ หารับประทานได้ง่าย
                                                         ั
2.ได้ทราบถึงวิธีการทําอาหารญี่ปุ่น
3.ทา ให้ผที่ชอบรับประทานอาหารญี่ปุ่นสามารถศึกษาวิธีการทําเองได้ที่เว็บไซต์ ประหยดค่าใชจ่าย และ
    ํ       ู้                                                                      ั      ้
ข้อคิดที่เราควรจะระวังอันตรายที่มากับอาหารญี่ปุ่น เช่นปลาดิบ อาหารทะเลดิบ ขาวป้ ั น เป็นตน
                                                                              ้          ้

More Related Content

What's hot

ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22tangmottmm
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphicpisandesign
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3Inam Chatsanova
 

What's hot (14)

ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
Mapping
MappingMapping
Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22
 
01 intro computergraphic
01 intro computergraphic01 intro computergraphic
01 intro computergraphic
 
08
0808
08
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
 

Viewers also liked

ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4Winwin Nim
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Winwin Nim
 

Viewers also liked (6)

ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
Social50
Social50Social50
Social50
 
Mathematics50
Mathematics50Mathematics50
Mathematics50
 
06
0606
06
 
123
123123
123
 

Similar to ใบงานท 7

ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Patpeps
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5JoyCe Zii Zii
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์วาสนา ใจสุยะ
 

Similar to ใบงานท 7 (20)

ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.2ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
 

More from Winwin Nim

ใบงานท 14
ใบงานท   14ใบงานท   14
ใบงานท 14Winwin Nim
 
ใบงานท 11
ใบงานท   11ใบงานท   11
ใบงานท 11Winwin Nim
 
ใบงานท 10
ใบงานท   10ใบงานท   10
ใบงานท 10Winwin Nim
 
ใบงานท 9
ใบงานท   9ใบงานท   9
ใบงานท 9Winwin Nim
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4Winwin Nim
 

More from Winwin Nim (8)

Thai50
Thai50Thai50
Thai50
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat7.4
Pat7.4Pat7.4
Pat7.4
 
ใบงานท 14
ใบงานท   14ใบงานท   14
ใบงานท 14
 
ใบงานท 11
ใบงานท   11ใบงานท   11
ใบงานท 11
 
ใบงานท 10
ใบงานท   10ใบงานท   10
ใบงานท 10
 
ใบงานท 9
ใบงานท   9ใบงานท   9
ใบงานท 9
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 

ใบงานท 7

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” 1. คอมพิวเตอร์ กราฟิ กกับการออกแบบ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กได้ถูกนํามาใช้ในการออกแบบมาเป็ นเวลานาน เราคงจะเคยได้ยนคําว่า ิ CAD (Computer - Aided Design) ซึ่ งเป็ นโปรแกรมสําหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรม เหล่านี้จะช่วยให้ผออกแบบหรื อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผูออกแบบสามารถเขียน ู้ ้ เป็ นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริ งได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อผูออกแบบกําหนดขนาด ้ ของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผูออกแบบยังสามารถย่อหรื อขยายภาพนั้น หรื อต้องการหมุนภาพไปในมุม ้ ต่างๆ ได้ดวย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบนกระดาษ ้ ํ ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กถูกนํามาใช้ในการออกแบบ วงจรต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรี ยมไว้ให้แล้วมา ้ ประกอบกันเป็ นวงจรที่ตองการ ผูออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิมเติมวงจรได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยงมี ้ ้ ่ ั โปรแกรมสําหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่ งมีความสามารถจัดการให้แผ่นปริ นต์มีขนาดที่ จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่ องบิน หรื อเครื่ องจักรต่างๆ ในปั จจุบนก็ใช้ ั ระบบ CAD นกออกแบบสามารถจะออกแบบส่วนยอยๆ แต่ละส่วนก่อน แลวนามาประกอบกนเป็นส่วน ั ่ ้ ํ ั ใหญ่ข้ ึนจนเป็ นเครื่ องจักรเครื่ องยนต์ที่ตองการได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบ ้ แบบจําลองที่ออกแบบไว้ได้ดวย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนําโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้นมา ้ จําลองการวิง โดยให้วงที่ความเร็ วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ซึ่ งการทดลองแบบนี้สามารถทําได้ในระบบ ่ ิ่ คอมพิวเตอร์ และจะประหยัดกว่าการสร้างรถจริ งๆ แล้วนําออกมาศึกษาทดสอบการวิง ่ การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรื อโครงสร้างใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ สถาปั ตยกรรม ก็สามารถทําได้โดยใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างใน แบบ 2 มิติเสร็จแลว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็ นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองต่างๆ ้ กันได้ตามที่ผออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้ปรากฏต่อผูออกแบบราวกับว่า ู้ ้ ผูออกแบบสามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่ออกแบบได้ดวย ้ ้ 2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กถูกนํามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูลได้เป็ นอย่าง ดี โปรแกรมทางกราฟิ กทัวไปในท้องตลาดจะเป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ ่ โปรแกรมเหล่านี้ยงสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ ั ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ท้ งในรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทําให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและน่าสนใจ กราฟและ ั แผนภาพทางธุ รกิจ เช่น กราฟหรื อแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็ นประโยชน์ต่อ
  • 2. ผูบริ หารหรื อผูจดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทําความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ วกว่าเดิม ใน ้ ้ั งานวิจยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิ สิ กส์ กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้นกวิจยทําความเข้าใจกับข้อมูลได้ ั ั ั ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ตองวิเคราะห์มีจานวนมาก ้ ํ ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรื อ GIS (Geographical Information System) ก็เป็นรูปแบบ หนึ่งของการแสดงข้อมูลในทํานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ จะถูกเก็บลงในระบบ คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรู ปของแผน ที่ทางภูมิศาสตร์ 3. ภาพศิลป์ โดยคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก การวาดภาพในปัจจุบนน้ ี ใครๆ ก็สามารถวาดไดแลวโดยไม่ตองใชพกนกบจานสี แต่จะใช้ ั ้ ้ ้ ้ ู่ ั ั คอมพิวเตอร์ กราฟิ กแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กนี้ เราสามารถกําหนดสี แสงเงา รู ปแบบ ลายเส้นที่ตองการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็ นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ้ ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์ วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่ วนที่ตองการได้ง่าย นอกจากนี้เรายัง ้ สามารถนําภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ ได้โดยใช้เครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) แลวนาภาพเหล่าน้ น ้ ํ ั มาแก้ไข 4. ภาพเคลือนไหวโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ่ ภาพยนตร์ การ์ ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์ หรื อภาพยนตร์ ที่ใช้เทคนิคพิเศษ ต่างๆ ในปั จจุบนมีการนําคอมพิวเตอร์ กราฟิ กเข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว ั (Computer Animation) มากข้ ึน เนื่องจากเป็นวธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกวาวธีอื่นๆ นอกจากน้ ีภาพที่ได้ ิ ่ ิ ยังดูสมจริ งมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น การใช้ ่ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กช่วยให้ภาพที่อยูในจินตนาการของมนุษย์สามารถนําออกมาทําให้ปรากฏเป็ นจริ งได้ ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจย และการจําลองการทํางาน เช่น ั จําลองการขับรถ การขับเครื่ องบิน เป็ นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์ หรื อวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลักการทําภาพเคลื่อน ไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิกเช่นกน ั 5. อเิ มจโปรเซสซิงก์ คําว่าอิเมจโปรเซสซิ งก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรู ป หรื อจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิ งก์จะต่างกับวิธีการของ คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ตัวคอมพิวเตอร์ เองจะเป็ นตัวที่สร้างภาพ แต่เทค ั ํ ่ นิกทางอิเมจโปรเซสซิ งก์น้ นใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการจัดรู ปแบบของสี และแสงเงาที่มีอยูแล้วในภาพให้ เป็ นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวธีการทําให้ภาพที่รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็ ิ จัดการกับข้อมูลดิจิตอลนี้ให้เป็ นภาพส่ งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์ อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการ แสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวสแกนของหุ่นยนต์ ี
  • 3. อุตสาหกรรม เป็นตน ้ เมื่อภาพถ่ายถูกทําให้เป็ นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพ นั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพนันเอง ซึ่ งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์ กราฟิ กมาใช้กบ ่ ั ข้อมูลเหล่านี้ได้ เช่น ในภาพสําหรับการโฆษณา เราสามารถทําให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไป จากเดิมได้โดยมีภาพบางอย่างเพิ่มเข้าไปหรื อบางส่ วนของภาพนั้นหายไป ทําให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็ นจริ ง แต่ดูเหมือนกบเกิดข้ ึนจริงได้ เป็นตน ั ้ ั เทคนิคของอิเมจโปเซสซิ งก์สามารถประยุกต์ใช้กบการแพทย์ได้ เช่น เครื่ องเอกซเรย์ โท โมกราฟี (X-ray Tomography) ซึ่ งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบร่ างกายมนุษย์ เป็ นต้น ํ ่ จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้วาคอมพิวเตอร์ กราฟิ กนั้นนับวันยิงมีความสําคัญใน ่ สาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็ นการดีที่เราควรจะมีความรู ้ความเข้าใจในหลักการและทคนิคเบื้องต้น ต่างๆ ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก โครงงานประยกต์ใช้งาน (Application) ุ ระบบบริ หารจัดการข้อมูลผูเ้ รี ยนของโรงเรี ยน ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่ วนบุคคล ระบบจองตัวรถไฟบนอินเทอร์ เน็ต ๋ ระบบแนะนําเส้นทางเดินรถประจําทาง โปรแกรมสังเคราะห์เสี ยงสําหรับคนตาบอดบนรถประจําทาง โปรแกรมออกและตรวจขอสอบ ้ โฮมเพจส่ วนบุคคล โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น โปรแกรมพจนานุกรมไทย-องกฤษ ั
  • 4. ตัวอย่างโครงงาน ชื่อโครงงาน การพัฒนาเว็บเพ็จ เรื่ องอาหารญี่ปุ่น ผู้จัดทําโครงงาน 1.เด็กชาย มงคล ร่มเยน ็ เลขที่ 14 ประธาน 3.เด็กหญิง นภาภรณ์ นิยม เลขที่ 29 รองประธาน 4.เด็กหญิง สุทศน์ สุ ทธิ ั เลขที่ 34 เหรัญญิก ชื่ ออาจารย์ ทปรึกษาโครงงาน ี่ อาจารย ์ อภิญญา นาคใหญ่ ทีมาและความสํ าคัญของโครงงาน ่ ปั จจุบนอาหารญี่ปุ่นมีแพร่ หลายในประเทศไทยเป็ นจํานวนมากและคนไทยนิยมรับประทานกัน ั มาก ร้านอาหารญี่ปุ่นในเมืองไทยมีหลายแห่ง เช่น ร้านอาหารญี่ป่ ุนโอเอชิ เป็นตน อาหาร ญี่ป่ ุนมีคนไป ้ รับประทานกันมากเช่นเดียวกับชาวต่างชาติที่นิยมรับประทานอาหาร ญี่ป่ ุนเช่นเดียวกนในเวบอาหารญี่ป่ ุนมี ั ็ วิธีการทําอาหารที่แตกต่างกันออกไป จึง จัดทําโครงงานเรื่ องอาหารญี่ปุ่นขึ้นรวบรวมวิธีการทําอาหารญี่ปุ่น ไว้สาหรับคน ที่ทาอาหารญี่ปุ่นไม่เป็ นก็ยงสามารถค้นหาข้อมูลในเว็บไซด์และยังสามารถช่วย ประหยัด ํ ํ ั ค่าใช้จ่ายของผูที่ชื่นชอบทานอาหารญี่ปุ่นด้วย ้ จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้ นคว้ า 1.เพื่อเสนอประวัติความเป็ นมาของอาหารญี่ปุ่น 2.วิธีการทําอาหารญี่ปุ่น 3.ประโยชน์ของอาหารญี่ปุ่น สมมติฐานการศึกษาค้ นคว้ า 1. อาหารญี่ปุ่นในเง้มุมของคนไทยเป็ นอย่างไร 2.อาหารญี่ปุ่นมีความสําคัญต่อคนไทยอย่างไร 3.งานชิ้นนี้มีผลอย่างไรต่อคนที่นิยมทานอาหารญี่ปุ่นกัน วธีการดําเนินงาน ิ 1.วัสดุอุปกรณ์ 1.1 ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และเครื่ องมืออื่นๆที่ใช้ในการศึกษา 1.2 จดกลุ่ม ั
  • 5. 1.3 เขียนเค้าโครงร่ าง 1.4 วางแผน แนวทางการศึกษาค้ นคว้ า 1.นําไปใช้ในชีวตประจําวัน โดยการไปเปิ ดร้านทําอาหารญี่ปุ่นขาย ิ 2.เมื่อเรารู ้วธีการทําแล้วก็สามารถทําเอาไปขายได้ ิ 3.นําไปเผยแพร่ ให้ผอื่นได้รู้ในการทําอาหารญี่ปุ่น ู้ แผนการปฏิบัติงาน ระยะเวลา(1มิ.ย.-31ส.ค.51) ลาดบ ํ ั รายการ ว/ด/ป เหตุผล 1 จับกลุ่มการทํางาน 1/มิ.ย./51 2 เลือกเรื่องที่จะทา ํ 8/มิ.ย./51 3 ปรึ กษาและแบ่งงาน 15/มิ.ย./51 4 หาขอมูลและรวบรวม ้ 22/มิ.ย./51 5. ปฏิบติงาน ั 10/ส.ค./51 6 ส่ งงาน 17/ส.ค./51 7 ปรับปรุ งแก้ไข 24/ส.ค./51 8 ส่ งโครงร่ างโครงงาน 31/ส.ค./51 งบประมาณทีใช้ ่ 1.หนังสื อที่ใช้ 95 บาท 2.ค่าใช้อินเตอร์ เน็ตที่อื่น 100 บาท 3.ค่ารถในการเดินทางไปใช้อินเตอร์ เน็ต 82 บาท ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ 1.อาหารญี่ปุ่นนั้นเป็ นอาหารที่มีค่าใช้จ่ายมากอร่ อย มีท้งประโยชน์และโทษ หารับประทานได้ง่าย ั 2.ได้ทราบถึงวิธีการทําอาหารญี่ปุ่น 3.ทา ให้ผที่ชอบรับประทานอาหารญี่ปุ่นสามารถศึกษาวิธีการทําเองได้ที่เว็บไซต์ ประหยดค่าใชจ่าย และ ํ ู้ ั ้ ข้อคิดที่เราควรจะระวังอันตรายที่มากับอาหารญี่ปุ่น เช่นปลาดิบ อาหารทะเลดิบ ขาวป้ ั น เป็นตน ้ ้