SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
Modern Presentation
Multimedia Techniques
เทคนิคการนาเสนอสื่อประสมสมัยใหม่
5.1 ประเภทของภาพ
5.2 การใช้สีในการออกแบบภาพ
5.3 หลักการออกแบบภาพ
5.4 คุณสมบัติของสื่อประเภทภาพ
5.5 รูปแบบไฟล์ภาพ
บทที่ 5
เทคนิคการตกแต่งสื่อประเภทภาพ
3
ภาพเวคเตอร์ (Vector) ภาพบิตแมป (Bitmap)
หรือ ภาพราสเตอร์ (Raster)
ประเภทของภาพ
4
ภาพเวคเตอร์ (Vector)
ประเภทของภาพ
ประมวลผลโดยอาศัยหลักการคานวณ
ทางคณิตศาสตร์
ขนาดของภาพ จะไม่ขึ้นกับความ
ละเอียด
นั่นคือ เมื่อขยายภาพ คุณภาพจะไม่ลดลง
ยังคงความละเอียดและความคมชัด
5
ภาพบิตแมป หรือราสเตอร์
ประเภทของภาพ
เกิดจากการเรียงตัวของจุดสี่เหลี่ยม
เล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel)
เมื่อขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น จะทาให้
ความละเอียดของภาพลดลง
และถ้าเพิ่มค่าความละเอียดมากขึ้น
ก็จะทาให้ไฟล์มีขนาดใหญ่ และเปลืองเนื้อที่
หน่วยความจามากขึ้นตามไปด้วย
การผสมสีแบบบวก
(Additive Color Mixing)
6
“แม่สี”
การใช้สีในการออกแบบภาพ
เทคนิคการเลือกใช้สี
ในการออกแบบ
7
“วงล้อสี”
(Color Wheel)
การใช้สีในการออกแบบภาพ
เทคนิคการเลือกใช้สี
ในการออกแบบ
8
เลือกใช้สี
“ตามทฤษฎีสี”
การใช้สีในการออกแบบภาพ
9
ตัวอย่าง : สีที่มีเฉดแตกต่างกัน
10
ตัวอย่าง : สีคู่ตรงข้ามกัน
11
ตัวอย่าง : สีโทนเดียวกัน
เทคนิคการเลือกใช้สี
ในการออกแบบ
12
ใช้สีเพียงแค่
“3-4 สี”
ก็พอ
การใช้สีในการออกแบบภาพ
https://color.adobe.com
(สืบค้นชุดสี หรือดูตัวอย่างการผสมสี)
เทคนิคการเลือกใช้สี
ในการออกแบบ
13
สร้างความ
“แตกต่าง”
ของสี
การใช้สีในการออกแบบภาพ
เทคนิคการเลือกใช้สี
ในการออกแบบ
14
ใช้ทฤษฎี
“60-30-10”
การใช้สีในการออกแบบภาพ
15
ตัวอย่าง : ใช้เทคนิค 60-30-10
ใช้สัดส่วน 60% เป็นสีที่โดดเด่น 30% เป็นสีรอง 10% เป็นสีที่ถูกเน้น
เทคนิคการเลือกใช้สี
ในการออกแบบ
16
ใช้ทฤษฎี
“วรรณะของสี”
การใช้สีในการออกแบบภาพ
โทนร้อน โทนเย็น
1. การจัดองค์ประกอบที่ดี
17
“ใช้กฏสามส่วน”
หลักการออกแบบภาพ
จุดตัด 9 ช่อง
1. การจัดองค์ประกอบที่ดี
18
“องค์ประกอบ
กึ่งกลาง
และสมมาตร”
หลักการออกแบบภาพ
ให้จุดสนใจอยู่ที่กลางภาพ
ระหว่างความพอดี
1. การจัดองค์ประกอบที่ดี
19
“สร้างความน่าสนใจ
ด้วยคู่สี”
หลักการออกแบบภาพ
1. การจัดองค์ประกอบที่ดี
20
“ใช้ความเรียบง่าย
เล่าเรื่อง
และสร้างจุดสนใจ”
หลักการออกแบบภาพ
1. การจัดองค์ประกอบที่ดี
21
“ไม่มีการเน้น
จุดสนใจ”
หลักการออกแบบภาพ
1. การจัดองค์ประกอบที่ดี
22
“มีการเน้น
จุดสนใจ”
หลักการออกแบบภาพ
2. สื่อความหมายได้ชัดเจน
23
“ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง”
หลักการออกแบบภาพ
มองดูอดีต แล้วสุดขีดกับปัจจุบัน
2. สื่อความหมายได้ชัดเจน
24
“ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง”
หลักการออกแบบภาพ
คุณมองเห็นอะไรในภาพ ?
“กีฬา” “หัวใจ”
3. มีความตัดกันและคมชัด
25
“เพื่อเน้นจุดสนใจ”
หลักการออกแบบภาพ
3. มีความตัดกันและคมชัด
26
“เพื่อเน้นจุดสนใจ”
หลักการออกแบบภาพ
3. มีความตัดกันและคมชัด
27
“เพื่อเน้นจุดสนใจ”
หลักการออกแบบภาพ
4. ใช้วัสดุ หรือองค์ประกอบ
ให้เหมาะสมและมีคุณค่า
กับภาพ
28
“วางโครงร่าง
ให้ตรงกับวัตถุประสงค์”
หลักการออกแบบภาพ ยกตัวอย่าง : เขียนบท ฉาก องค์ประกอบฉาก
ต้องสัมพันธ์กัน
1. ฉาก-เวลา
- สถานที่ เหตุการณ์ กลางวัน กลางคืน ภายนอก ภายใน
ใช้สถานที่จริง / สตูดิโอ / สถานที่จาลอง
- อุปกรณ์ประกอบ
ต้องสอดคล้องกับเรื่องราว / สื่อความหมาย / สะท้อนวัฒนธรรม
/ เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา
2. ตัวละคร
ตาแหน่งการแสดง / แอ็คชั่น / เสื้อผ้า หน้า ผม
3. แสง-เงา-สี
โทนสีมืด / สว่าง / เข้ม / จาง
การนาไปใช้งาน
29 คุณสมบัติของสื่อประเภทภาพ
ขนาดความละเอียด
ระบบสี รูปแบบไฟล์
ต้องคานึงถึง
อะไรบ้าง
คานึงถึง ..
30 คุณสมบัติของสื่อประเภทภาพ
ความละเอียด
300 pixel/inch สาหรับงานสื่อสิ่งพิมพ์
72-100 pixel/inch สาหรับงานนาเสนอบนหน้าจอ
คานึงถึง ..
31 คุณสมบัติของสื่อประเภทภาพ
ขนาด
กว้างเท่าไหร่?
สูงเท่าไหร่?
หน่วยวัดเป็นอะไร?
▪ พิกเซล
▪ เซนติเมตร
▪ นิ้ว
▪ เมตร
คานึงถึง ..
32 คุณสมบัติของสื่อประเภทภาพ
เหมาะกับการแสดงผล
ออกทางจอภาพ
เหมาะกับการแสดงผล
ออกทางเครื่องพิมพ์
ระบบสี
คานึงถึง ..
33 คุณสมบัติของสื่อประเภทภาพ
รูปแบบไฟล์
รูปแบบไฟล์ภาพ หรือ File Format จะต้องเลือกเพื่อให้เหมาะสม
กับการใช้งาน
ไฟล์นามสกุล ..
34 รูปแบบไฟล์ภาพ
BMP (.bmp)
ไฟล์ชนิดไฟล์นี้แสดงผลได้ถึง 16.7 ล้านสี บันทึกได้ทั้งโหมด RGB,
Index Color, Grayscale และ Bitmap เป็นมาตรฐานของ Microsoft
windows สามารถเปิดใช้งานได้หลายโปรแกรม แต่คุณภาพจะสู้รูปแบบ
JPEG ไม่ได้ จึงเหมาะสาหรับงานกราฟิกในแบบที่ต้องการให้แสงเงาใน
รายละเอียด เป็นไฟล์ที่เหมาะกับการทางานกับภาพเหมือนจริงประเภท
ภาพถ่าย เพราะ Bitmap มี Channel พิเศษ เรียกว่า Alpha Channel
ซึ่งเป็น 32 bit หรือ true color คือสีสมจริง
35
TIFF (.tif)
นามสกุลที่มีความยืดหยุ่นและคุณภาพสูงสุดขีด บันทึกแบบ Cross-
platform จัดเก็บภาพได้ทั้งโหมด Grayscale Index Color, RGB และ
CMYK เปิดได้ทั้งบนเครื่อง Mac และ PC เหมาะสมเป็นอย่างยิ่งใน
วงการสื่อสิ่งพิมพ์
ไฟล์นามสกุล ..
รูปแบบไฟล์ภาพ
36
EPS (.eps)
นามสกุลที่ใช้เปิดในโปรแกรม Illustrator สนับสนุนการสร้าง Path
หรือ Clipping Path บันทึกได้ทั้ง Vector และ Raster สนับสนุนโหมด
Lab, CMYK, RGB, Index Color, Duotone และ Bitmap เหมาะ
สาหรับงานกราฟิกที่ต้องการความละเอียดสูง
ไฟล์นามสกุล ..
รูปแบบไฟล์ภาพ
37
*.psd หรือ Photoshop file คือ คือนามสกุลไฟล์ของโปรแกรม photoshop
โดยฉพาะ ประโยชน์ของไฟล์ psd คือมันจะทาการบันทึกแบบแยกเลเยอร์ และประวัติ
การทางาน อย่างเช่นรายละเอียดการตกแต่งภาพของเรา ว่าได้ทาการเปลี่ยนแปลง
และตกแต่งอะไรบ้าง เก็บเอาไว้ให้ แต่มีข้อจากัดคือไฟล์มีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับไฟล์
รูปภาพประเภทอื่น เช่น JPEG และ PNG เป็นต้น ส่วนการเปิดไฟล์นั้นนอกจากใช้
โปรแกรม photoshop เปิดแล้ว ยังสามารถใช้โปรแกรมอื่น เช่น ACDsee, Adobe
ImageReady, Adobe Illustrator เป็นต้น
ขีดจากัดของไฟล์ psd คือ ปัจจุบันไฟล์ PSD มีขนาดความสูงและ ความ
กว้างไม่เกิน 30,000 pixels, และขนาดไฟล์ไม่เกิน 2 GB
ไฟล์นามสกุล ..
รูปแบบไฟล์ภาพ
38
การบีบอัดไฟล์ ..
(Compression)
รูปแบบไฟล์ภาพ
ไฟล์ขนาดใหญ่ ไฟล์ขนาดเล็กลง
และคุณภาพลดลง
39
ไฟล์ภาพ
ที่ถูกบีบอัดแล้ว
รูปแบบไฟล์ภาพ
GIF (อ่านว่า จิฟ) ย่อมาจาก Graphic Interchange Format เป็นไฟล์
ภาพที่เว็บสามารถแสดงผลได้เช่นเดียวกับ JPEG แต่ที่แตกต่างคือ GIF
เป็นไฟล์ภาพแบบ Lossless Compression หรือ ไม่มีการสูญเสีย
ข้อมูลเมื่อเกิดการบันทึกหรือบีบอัดไฟล์ภาพ
ข้อดีของ GIF : ไม่มีการสูญเสียข้อมูลเวลาบันทึก, สามารถทา
ภาพเคลื่อนไหว (Animation) และสามารถทาให้รูป Transparent หรือ
ทาพื้นหลังโปร่งใสได้
ข้อเสียของ GIF : แสดงสีสูงสุดได้เพียง 256 สี
40
ไฟล์ภาพ
ที่ถูกบีบอัดแล้ว
รูปแบบไฟล์ภาพ
PNG (อ่านว่า ปิง) ย่อมาจาก Portable Network Graphics เป็น
รูปแบบไฟล์ภาพที่ถูกคิดค้นเพื่อมาแทนที่ GIF ที่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ ซึ่ง
คุณสมบัติของ PNG นั้นจะคล้ายกับ GIF
ความแตกต่างระหว่าง PNG และ GIF
- PNG ไม่สามารถทา Animation แต่ GIF ทาได้
- PNG มีการบีบอัดไฟล์ที่ดีและเล็กมากขึ้น 5%-25% เมื่อเทียบกับ GIF ในภาพเดียวกัน
- PNG สามารถเลือกบันทึกภาพเป็น 8 Bit (256 สี) หรือ 24 Bit (16 ล้านสี) ได้
ในขณะที่ GIF บันทึกได้สูงสุด 256 สี
- PNG ทาพื้นหลังให้เป็น Transparent ได้ดีกว่า GIF
41
ไฟล์ภาพ
ที่ถูกบีบอัดแล้ว
รูปแบบไฟล์ภาพ
jpg หรือ jpeg นั้นย่อมาจาก Joint Photographic Experts Group ซึ่งเป็นหนึ่งใน
นามสกุลไฟล์ภาพที่นิยมมากที่สุดที่เว็บบราวเซอร์สามารถแสดงผลได้ โดยที่ JPG นั้น
เป็นภาพแบบ Lossy Compression หรือให้เข้าใจกันง่าย ๆ ก็คือ มีการบีบอัดข้อมูล
ต่าง ๆ ของภาพอย่างเช่น สี ความคมชัดของภาพ
ข้อดีของ JPEG : สามารถแสดงผลได้ถึง 16 ล้านสี จึงเหมาะกับภาพที่เป็นภาพถ่ายที่
มีการเก็บข้อมูลสีหลายสี หรือภาพกราฟิกที่มีความซับซ้อน
ข้อเสียของ JPEG : ขนาดไฟล์ภาพค่อนข้างใหญ่ ซึ่งถ้าคุณต้องการขนาดไฟล์ภาพที่
เล็กลงนั้นต้องแลกด้วยการเสียความละเอียดของภาพไป JPEG จึงไม่เหมาะกับภาพ
ประเภทที่มีตัวหนังสือ หรือภาพกราฟิกธรรมดา ๆ ไม่มีความละเอียดของสีมาก
จบบทที่ 5
เทคนิคการตกแต่ง
สื่อประเภทภาพ
42

More Related Content

Similar to Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 5

Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesignkrujew
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดีwichuda hokaew
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกvorravan
 
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlashการสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlashOrapan Chamnan
 
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1Sodaam AC
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นBeerza Kub
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2suphinya44
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
Still image
Still imageStill image
Still imagejibbie23
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้  2ใบความรู้  2
ใบความรู้ 2Bee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2Bee Saruta
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกschool
 
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพKosamphee Wittaya School
 

Similar to Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 5 (20)

Adobe indesign
Adobe indesignAdobe indesign
Adobe indesign
 
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่งบทที่ 6 ภาพนิ่ง
บทที่ 6 ภาพนิ่ง
 
Media 23
Media   23Media   23
Media 23
 
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
%80ตอร์กราฟิกบุตรวดี
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlashการสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
การสร้างสื่อประสมด้วยโปรแกรมFlash
 
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
20080306 Web Graphics
20080306 Web Graphics20080306 Web Graphics
20080306 Web Graphics
 
Still image
Still imageStill image
Still image
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้  2ใบความรู้  2
ใบความรู้ 2
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2
 
1.7
1.71.7
1.7
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Media 23
Media   23Media   23
Media 23
 
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ
 

More from aj.mapling

Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7aj.mapling
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6aj.mapling
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4aj.mapling
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3aj.mapling
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2aj.mapling
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1aj.mapling
 
Week 7 unit3 (chapter 10-11)
Week 7   unit3 (chapter 10-11)Week 7   unit3 (chapter 10-11)
Week 7 unit3 (chapter 10-11)aj.mapling
 
Week 5 unit3 (chapter 6-7)
Week 5   unit3 (chapter 6-7)Week 5   unit3 (chapter 6-7)
Week 5 unit3 (chapter 6-7)aj.mapling
 
Week 4 unit3 (chapter 4-5) - function
Week 4   unit3 (chapter 4-5) - functionWeek 4   unit3 (chapter 4-5) - function
Week 4 unit3 (chapter 4-5) - functionaj.mapling
 
Workshop8 แบบประเมินออนไลน์
Workshop8 แบบประเมินออนไลน์Workshop8 แบบประเมินออนไลน์
Workshop8 แบบประเมินออนไลน์aj.mapling
 

More from aj.mapling (10)

Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 7
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 6
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 4
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 3
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 2
 
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1
Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 1
 
Week 7 unit3 (chapter 10-11)
Week 7   unit3 (chapter 10-11)Week 7   unit3 (chapter 10-11)
Week 7 unit3 (chapter 10-11)
 
Week 5 unit3 (chapter 6-7)
Week 5   unit3 (chapter 6-7)Week 5   unit3 (chapter 6-7)
Week 5 unit3 (chapter 6-7)
 
Week 4 unit3 (chapter 4-5) - function
Week 4   unit3 (chapter 4-5) - functionWeek 4   unit3 (chapter 4-5) - function
Week 4 unit3 (chapter 4-5) - function
 
Workshop8 แบบประเมินออนไลน์
Workshop8 แบบประเมินออนไลน์Workshop8 แบบประเมินออนไลน์
Workshop8 แบบประเมินออนไลน์
 

Modern Multimedia Presentation Techniques - Chapter 5