SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยากรเพืองานกราฟิ ก
                                                       ่
                    ใบความรู้ ที่ 4 เรื่อง โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก

โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก

                                                                               ่
       ทุกวันนี้ เราเป็ นผูบริ โภคงานกราฟิ ก ซึ่ งเป็ นผลิตผลจากคอมพิวเตอร์ อยูตลอดเวลา วีดิโอเกม ผล
                           ้
การแข่งขันกีฬาบนกระดานอิเล็กทรอนิกส์ การ์ตูนในโทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ภาพโฆษณา แผ่นพิมพ์
เขียว ตารางขายสิ นค้า แผนที่ แผ่นภาพโปร่ งใส และภาพกราฟิ กอื่น ๆ อีกมากมาย ผลผลิตเหล่านี้มาจาก
ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ งมีซอฟต์แวร์ หรื อโปรแกรมสาหรับงานกราฟิ กเป็ นส่ วนสาคัญ ในบทนี้จะกล่าวถึง
โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก เทคนิคการสร้างภาพกราฟิ ก และการจัดเก็บแฟ้ มภาพกราฟิ ก

โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก

         โปรแกรม สาหรับงานกราฟิ กเป็ นส่ วนที่สาคัญยิงในการใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์
                                                     ่
ผลิตผลงานกราฟิ ก ในปัจจุบนมีโปรแกรมสาหรับใช้ทางานกราฟิ กเป็ นจานวนมาก สามารถจัดแบ่ง
                         ั
โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ กออกเป็ นสองประเภทใหญ่ ๆ ตามแผนภาพ ดังนี้




                            รู ปที่ 1 การจัดประเภทของโปรแกรมกราฟิ ก
1) กราฟิ กวาดภาพ (drawing graphics)
           โปรแกรมประเภทนี้ใช้สร้างสรรค์งานศิลปะหรื อผลิตผลงานคุณภาพสู ง ภาพที่ซบซ้อนทาง
                                                                                       ั
วิศวกรรม ทางสถาปัตยกรรม และภาพกราฟิ กอื่น ๆ แต่ละโปรแกรมจะมีลกษณะใช้เฉพาะงาน ซึ่ งแบ่งได้
                                                                           ั
เป็ น 2 กลุ่ม คือ โปรแกรมสร้างและตกแต่งภาพ และโปรแกรมช่วยออกแบบ
        โปรแกรมสร้ างและตกแต่ งภาพ ส่ วนใหญ่มีลกษณะการใช้งานที่มีเครื่ องมือในการอานวยความ
                                                    ั
สะดวกในการสร้าง หรื อวาดภาพหรื อตกแต่งภาพที่คล้ายกัน เช่น การแบ่งหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็ นส่ วน
ๆ สาหรับเป็ นพื้นที่วาดภาพซึ่ งสามารถเลื่อนดูภาพในส่ วนที่ไม่ได้ปรากฏบนจอ รายการเลือก กล่อง
เครื่ องมือที่ประกอบด้วยสัญรู ปเครื่ องมือสาหรับใช้วาดรู ป เช่น รู ปทรงพื้นฐานสาหรับวาดรู ปสี่ เหลี่ยม รู ป
                                                          ่
วงกลม ดินสอให้วาดรู ปโดยอิสระ แว่นขยายสาหรับใช้ยอหรื อขยายรู ปออกมาตกแต่ง ตัวอักษรสาหรับ
พิมพ์ขอความลงในภาพซึ่ งสามารถกาหนดรู ปแบบอักษรหรื อเทคนิค พิเศษต่าง ๆ ผลลัพธ์ของโปรแกรม
         ้
ประเภทนี้ จะเป็ นแฟ้ มภาพที่นาไปใช้งาน ตัวอย่างเช่น เพนต์บรัช (Paint brush) โฟโตชอพ
(Photoshop) คอเรลดรอว์ (Corel Draw) เพนต์ (Paint) เป็ นต้น




                                    รู ปที่ 2 โปรแกรมตกแต่ งภาพเพนต์

     โปรแกรมช่ วยออกแบบ จะใช้ในงานกราฟิ กทางด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม เช่น แบบแปลน
ตึก แบบอุปกรณ์ แบบรถยนต์ แบบเครื่ องบิน สามารถใช้เขียนภาพ โดยมีมาตราส่ วนจริ งได้ โปรแกรม
ช่วยออกแบบทัวไปยังแบ่งได้เป็ นแบบ 2 มิติ ตัวอย่างเช่น ออโตแคด (Auto CAD) และ
            ่
แบบ 3 มิติ เช่น 3DMAX ซึ่งมักจะใช้ในงานสถาปัตยกรรม หรื องานโฆษณา
          เทคนิคอย่างหนึ่งในโปรแกรมช่วยออกแบบ คือ การสร้างภาพเคลื่อนไหว (animation) ซึ่งเป็ นภาพ
ที่เกิดจากการพลิกดูภาพเดี่ยวหลาย ๆ ภาพที่เรี ยงซ้อนกันอย่างต่อเนื่ อง ทาให้มองเห็นรู ปใน
ภาพเคลื่อนไหว โปรแกรมกราฟิ กวาดภาพเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการสร้างภาพเคลื่อนไหวบนฟิ ล์ม
ภาพยนตร์ หรื อภาพการ์ ตูน ในด้านธุ รกิจการสร้างภาพเคลื่อนไหวจะมีคาใช้จ่ายสู ง ซับซ้อน และ
                                                                       ่
  ่
ยุงยาก ในระยะแรก ๆ ของการผลิตภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว 1 วินาที จะต้องใช้ภาพวาดจานวน 36
ภาพ ปัจจุบนโทรทัศน์ในอเมริ กาใช้ระบบเอ็นทีเอสซี (NTSC) ใช้ 30 ภาพ ต่อวินาที ออกอากาศโดยมี
             ั
คอมพิวเตอร์ ช่วยในการวาดภาพและกาหนดการเคลื่อนไหว สาหรับประเทศไทยสัญญาณโทรทัศน์เป็ น
ระบบพาว (PAL) จึงใช้ 25 ภาพต่อวินาที สาหรับภาพเคลื่อนไหวในคอมพิวเตอร์ จะใช้ภาพไม่นอยกว่า 19
                                                                                         ้
                     ่ ั
ภาพต่อวินาที ขึ้นอยูกบรู ปแบบการจัดเก็บภาพเคลื่อนไหว
          คอมพิวเตอร์สาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหวจะมีโปรแกรมกราฟิ กที่มีประสิ ทธิภาพสู ง ช่วยให้ผสร้าง
                                                                                                ู้
ภาพเคลื่อนไหวสามารถกาหนดหรื อสร้างลักษณะการเคลื่อนไหวของ ตัวอักษรและตัวแสดงได้อย่างรวดเร็ ว
และสะดวก โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะอาศัยหลักการเดียวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหวบนฟิ ล์ม
ภาพยนตร์ เพียงแต่จะเก็บภาพที่วาดในรู ปข้อมูลดิจิทลไว้ในสื่ อพิเศษ แล้วนามาแสดงต่อเนื่องกันเป็ น
                                                   ั
ภาพเคลื่อนไหว

       2) กราฟิ กการนาเสนอ (presentation graphics)
โปรแกรมประเภทนี้ใช้นาเสนอข้อมูลหรื อผลงานในรู ปกราฟิ ก ส่ วนใหญ่โปรแกรมอนุญาตให้
ใส่ ตัวอักษร ภาพ รู ปกราฟต่าง ๆ และมีการเก็บข้อมูลเป็ นหน้า ๆ เพื่อนามาแสดงหรื อนาเสนอได้
ง่าย ตัวอย่างโปรแกรมประเภทนี้ได้แก่ โลตัส ฟรี เลนซ์ (lotus freelance) ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์
(Microsoft PowerPoint)
รู ปที่ 3 โปรแกรมนาเสนอ ไมโครซอฟต์ เพาเวอร์ พอยต์

       โปรแกรมแสดงข้อมูลทางกราฟิ กสามารถจัดอยูในกลุ่มโปรแกรมประเภทนี้ได้ เนื่องจากใช้ขอมูล
                                               ่                                      ้
จากการเก็บรวบรวม คานวณ หรื อทดลองมาแสดงผลเป็ นรู ปกราฟ 2 มิติ หรื อ กราฟ 3 มิติ ทาให้เข้าใจ
ความสัมพันธ์ของข้อมูลได้ดียงขึ้น
                           ิ่
       นอกจากนั้นยังมีโปรแกรมที่แสดงข้อมูลจากการคานวณจานวนมาก เช่น การสร้างแผนที่
อากาศ การทดสอบเครื่ องบินในอุโมงค์ลม การสร้างภาพนามธรรม

More Related Content

What's hot

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshopใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshopNoofang DarkAnegl
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทSunipha Ruamsap
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8Teraphat Aroonpairoj
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1Bee Saruta
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3Inam Chatsanova
 
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorรู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorQoo Kratai
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 

What's hot (15)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshopใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
ใบความรู้ที่ 1 ประวัติความเป็นมาphotoshop
 
Dthgh
DthghDthgh
Dthgh
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
 
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorรู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 

Similar to ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5natnardtaya
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)JoyCe Zii Zii
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5Yong Panupun
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
ใบงานที่ 5 สื่อพัฒนา
ใบงานที่ 5 สื่อพัฒนาใบงานที่ 5 สื่อพัฒนา
ใบงานที่ 5 สื่อพัฒนาPuifai Sineenart Phromnin
 

Similar to ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก (20)

ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท  การพัฒนาเครื่องมือ ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท  การพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
 
K5
K5K5
K5
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)(ใบงานที่ 5)
(ใบงานที่ 5)
 
โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5โครงงานประเภท5
โครงงานประเภท5
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
08
0808
08
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่  3ใบงานที่  3
ใบงานที่ 3
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
5
55
5
 
ใบงานที่ 5 สื่อพัฒนา
ใบงานที่ 5 สื่อพัฒนาใบงานที่ 5 สื่อพัฒนา
ใบงานที่ 5 สื่อพัฒนา
 

More from วาสนา ใจสุยะ (6)

ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
๊Unit1
๊Unit1๊Unit1
๊Unit1
 

ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยากรเพืองานกราฟิ ก ่ ใบความรู้ ที่ 4 เรื่อง โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก ่ ทุกวันนี้ เราเป็ นผูบริ โภคงานกราฟิ ก ซึ่ งเป็ นผลิตผลจากคอมพิวเตอร์ อยูตลอดเวลา วีดิโอเกม ผล ้ การแข่งขันกีฬาบนกระดานอิเล็กทรอนิกส์ การ์ตูนในโทรทัศน์ หรื อภาพยนตร์ ภาพโฆษณา แผ่นพิมพ์ เขียว ตารางขายสิ นค้า แผนที่ แผ่นภาพโปร่ งใส และภาพกราฟิ กอื่น ๆ อีกมากมาย ผลผลิตเหล่านี้มาจาก ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ งมีซอฟต์แวร์ หรื อโปรแกรมสาหรับงานกราฟิ กเป็ นส่ วนสาคัญ ในบทนี้จะกล่าวถึง โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก เทคนิคการสร้างภาพกราฟิ ก และการจัดเก็บแฟ้ มภาพกราฟิ ก โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ ก โปรแกรม สาหรับงานกราฟิ กเป็ นส่ วนที่สาคัญยิงในการใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ ่ ผลิตผลงานกราฟิ ก ในปัจจุบนมีโปรแกรมสาหรับใช้ทางานกราฟิ กเป็ นจานวนมาก สามารถจัดแบ่ง ั โปรแกรมสาหรับงานกราฟิ กออกเป็ นสองประเภทใหญ่ ๆ ตามแผนภาพ ดังนี้ รู ปที่ 1 การจัดประเภทของโปรแกรมกราฟิ ก
  • 2. 1) กราฟิ กวาดภาพ (drawing graphics) โปรแกรมประเภทนี้ใช้สร้างสรรค์งานศิลปะหรื อผลิตผลงานคุณภาพสู ง ภาพที่ซบซ้อนทาง ั วิศวกรรม ทางสถาปัตยกรรม และภาพกราฟิ กอื่น ๆ แต่ละโปรแกรมจะมีลกษณะใช้เฉพาะงาน ซึ่ งแบ่งได้ ั เป็ น 2 กลุ่ม คือ โปรแกรมสร้างและตกแต่งภาพ และโปรแกรมช่วยออกแบบ โปรแกรมสร้ างและตกแต่ งภาพ ส่ วนใหญ่มีลกษณะการใช้งานที่มีเครื่ องมือในการอานวยความ ั สะดวกในการสร้าง หรื อวาดภาพหรื อตกแต่งภาพที่คล้ายกัน เช่น การแบ่งหน้าจอคอมพิวเตอร์ เป็ นส่ วน ๆ สาหรับเป็ นพื้นที่วาดภาพซึ่ งสามารถเลื่อนดูภาพในส่ วนที่ไม่ได้ปรากฏบนจอ รายการเลือก กล่อง เครื่ องมือที่ประกอบด้วยสัญรู ปเครื่ องมือสาหรับใช้วาดรู ป เช่น รู ปทรงพื้นฐานสาหรับวาดรู ปสี่ เหลี่ยม รู ป ่ วงกลม ดินสอให้วาดรู ปโดยอิสระ แว่นขยายสาหรับใช้ยอหรื อขยายรู ปออกมาตกแต่ง ตัวอักษรสาหรับ พิมพ์ขอความลงในภาพซึ่ งสามารถกาหนดรู ปแบบอักษรหรื อเทคนิค พิเศษต่าง ๆ ผลลัพธ์ของโปรแกรม ้ ประเภทนี้ จะเป็ นแฟ้ มภาพที่นาไปใช้งาน ตัวอย่างเช่น เพนต์บรัช (Paint brush) โฟโตชอพ (Photoshop) คอเรลดรอว์ (Corel Draw) เพนต์ (Paint) เป็ นต้น รู ปที่ 2 โปรแกรมตกแต่ งภาพเพนต์ โปรแกรมช่ วยออกแบบ จะใช้ในงานกราฟิ กทางด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม เช่น แบบแปลน ตึก แบบอุปกรณ์ แบบรถยนต์ แบบเครื่ องบิน สามารถใช้เขียนภาพ โดยมีมาตราส่ วนจริ งได้ โปรแกรม ช่วยออกแบบทัวไปยังแบ่งได้เป็ นแบบ 2 มิติ ตัวอย่างเช่น ออโตแคด (Auto CAD) และ ่
  • 3. แบบ 3 มิติ เช่น 3DMAX ซึ่งมักจะใช้ในงานสถาปัตยกรรม หรื องานโฆษณา เทคนิคอย่างหนึ่งในโปรแกรมช่วยออกแบบ คือ การสร้างภาพเคลื่อนไหว (animation) ซึ่งเป็ นภาพ ที่เกิดจากการพลิกดูภาพเดี่ยวหลาย ๆ ภาพที่เรี ยงซ้อนกันอย่างต่อเนื่ อง ทาให้มองเห็นรู ปใน ภาพเคลื่อนไหว โปรแกรมกราฟิ กวาดภาพเป็ นเครื่ องมือพื้นฐานในการสร้างภาพเคลื่อนไหวบนฟิ ล์ม ภาพยนตร์ หรื อภาพการ์ ตูน ในด้านธุ รกิจการสร้างภาพเคลื่อนไหวจะมีคาใช้จ่ายสู ง ซับซ้อน และ ่ ่ ยุงยาก ในระยะแรก ๆ ของการผลิตภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว 1 วินาที จะต้องใช้ภาพวาดจานวน 36 ภาพ ปัจจุบนโทรทัศน์ในอเมริ กาใช้ระบบเอ็นทีเอสซี (NTSC) ใช้ 30 ภาพ ต่อวินาที ออกอากาศโดยมี ั คอมพิวเตอร์ ช่วยในการวาดภาพและกาหนดการเคลื่อนไหว สาหรับประเทศไทยสัญญาณโทรทัศน์เป็ น ระบบพาว (PAL) จึงใช้ 25 ภาพต่อวินาที สาหรับภาพเคลื่อนไหวในคอมพิวเตอร์ จะใช้ภาพไม่นอยกว่า 19 ้ ่ ั ภาพต่อวินาที ขึ้นอยูกบรู ปแบบการจัดเก็บภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์สาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหวจะมีโปรแกรมกราฟิ กที่มีประสิ ทธิภาพสู ง ช่วยให้ผสร้าง ู้ ภาพเคลื่อนไหวสามารถกาหนดหรื อสร้างลักษณะการเคลื่อนไหวของ ตัวอักษรและตัวแสดงได้อย่างรวดเร็ ว และสะดวก โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะอาศัยหลักการเดียวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหวบนฟิ ล์ม ภาพยนตร์ เพียงแต่จะเก็บภาพที่วาดในรู ปข้อมูลดิจิทลไว้ในสื่ อพิเศษ แล้วนามาแสดงต่อเนื่องกันเป็ น ั ภาพเคลื่อนไหว 2) กราฟิ กการนาเสนอ (presentation graphics) โปรแกรมประเภทนี้ใช้นาเสนอข้อมูลหรื อผลงานในรู ปกราฟิ ก ส่ วนใหญ่โปรแกรมอนุญาตให้ ใส่ ตัวอักษร ภาพ รู ปกราฟต่าง ๆ และมีการเก็บข้อมูลเป็ นหน้า ๆ เพื่อนามาแสดงหรื อนาเสนอได้ ง่าย ตัวอย่างโปรแกรมประเภทนี้ได้แก่ โลตัส ฟรี เลนซ์ (lotus freelance) ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ (Microsoft PowerPoint)
  • 4. รู ปที่ 3 โปรแกรมนาเสนอ ไมโครซอฟต์ เพาเวอร์ พอยต์ โปรแกรมแสดงข้อมูลทางกราฟิ กสามารถจัดอยูในกลุ่มโปรแกรมประเภทนี้ได้ เนื่องจากใช้ขอมูล ่ ้ จากการเก็บรวบรวม คานวณ หรื อทดลองมาแสดงผลเป็ นรู ปกราฟ 2 มิติ หรื อ กราฟ 3 มิติ ทาให้เข้าใจ ความสัมพันธ์ของข้อมูลได้ดียงขึ้น ิ่ นอกจากนั้นยังมีโปรแกรมที่แสดงข้อมูลจากการคานวณจานวนมาก เช่น การสร้างแผนที่ อากาศ การทดสอบเครื่ องบินในอุโมงค์ลม การสร้างภาพนามธรรม