SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
ระบบภาพดิจิตอล โดย นางสาวชนิตา  พัชนะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6/1 เลขที่  15
การใช้กล้องดิจิตอลอาจมีความยุ่งยากในการใช้งานบ้างตอนต้น     แต่เมื่อคุ้นเคยกับมันดีแล้ว    กล้องดิจิตอลจะให้ความสะดวกพอสมควรทีเดียว    และยิ่งในปัจจุบันนี้ที่ราคาของกล้องดิจิตอลในท้องตลาดมีราคาต่ำลงเป็นอย่างมาก    ทำให้มีคนสนใจหันมาซื้อกล้องดิจิตอลกันมากขึ้น    ส่วนใหญ่แล้วเวลาที่ซื้อนิยมดูกันที่รุ่นใหม่ๆ และความละเอียดที่สูงๆ    เป็นหลัก    ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริงแล้วกล้องดิจิตอลมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันออกไปมากกว่านั้นมาก และรุ่นใหม่ๆ หรือความละเอียดสูงๆ อาจไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการเสมอไปก็ได้    
สิ่งหนึ่งสำหรับผู้ที่สนใจในกล้องดิจิตอลที่ควรทำใจไว้ตั้งแต่ตอนซื้อคือ เมื่อตัดสินใจซื้อแล้ว ก็อย่าย้อนกลับไปมองดูราคาอีก    เพราะกล้องดิจิตอลส่วนใหญ่จะตกรุ่นเร็วมาก  ( มากๆ )    แม้ในปัจจุบันจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้น    แต่ราคาก็นับว่าตกลงอย่างน่าใจหายในบางรุ่น    ดังนั้นในการซื้อกล้องดิจิตอลจึงควรดูให้ดี    เลือกให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน     ดีกว่าที่จะเลือกตามรุ่นหรือสมัยนิยม    เพราะระยะเวลามันสั้นนัก อาจอยู่เพียง  2  -  4   เดือนเท่านั้น  
 
ข้อด้อยหลักของกล้องดิจิตอลเห็นจะหนีไม่พ้นเรื่องราคา    แม้ว่าราคาของกล้องจะถูกลงมามากแล้ว    แต่อุปกรณ์ที่ใช้งานร่วมก็ยังนับว่ามีราคาสูงอยู่พอสมควร     หากว่าใช้งานในระยะยาวราคาต้นทุนอาจเฉลี่ยลงไปเรื่อยๆ ทำให้ประหยัดกว่าฟิล์มได้    แต่สำหรับท่านที่ใช้งานไม่มากนัก แม้จะไม่ได้รับประโยชน์ในด้านนี้เท่าไหร่แต่ก็สามารถอัดภาพมาดูได้ไม่ต้องรอให้ถ่ายหมดม้วนเหมือนฟิล์ม   
ในปัจจุบันนี้การอัดภาพดิจิตอลมีราคาต่ำลงและยังหาสถานที่อัดภาพได้ง่ายไม่เหมือนสมัยก่อนๆ ซึ่งเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้กล้องดิจิตอลในปัจจุบันค่อนข้างจะซื้อง่าย    ( แต่ขายไม่คล่องนัก )      อีกสิ่งหนึ่งที่พึงระวังไว้ในการซื้อกล้องดิจิตอล คือ อย่าดูราคาโปรโมชั่นมากนัก    เพราะกล้องดิจิตอลรุ่นใหม่ๆ จะมีราคาต่ำกว่ารุ่นที่ออกมาสมัยก่อน ดังนั้นจึงมีการนำมาลดราคากันค่อนข้างมากเมื่อมีรุ่นใหม่ๆ ออกมา  
ราคาที่ลดลงมากๆ นี้บางครั้งก็ค่อนข้างดึงดูดความสนใจได้มาก    แต่อย่าลืมว่ากล้องดิจิตอลเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีโดยตรง การซื้อรุ่นเก่าที่ราคาต่ำลง ควรนำมาเทียบกับรุ่นใหม่ในสเปคที่ใกล้เคียงด้วย เพื่อจะได้เห็นข้อเปรียบเทียบที่เด่นชัด    อย่าไปมองเพียงส่วนลดที่ดูน่าสนใจ     ไม่เช่นนั้นคุณอาจต้องผิดหวังกับสิ่งที่ซื้อมาก็ได้    เพราะการขายเป็นกล้องมือสองสำหรับกล้องดิจิตอลแล้วค่อนข้างยากและไม่คุ้มทุนจริงๆ
 
ระบบภาพดิจิตอล
กล้องดิจิตอลใช้ตัวรับภาพในการบันทึกภาพแทนฟิล์ม    ซึ่งบนตัวรับภาพจะประกอบด้วยตารางสี่เหลี่ยมเล็กๆ หลายแสนหลายล้านชิ้นเรียกว่า พิกเซล  (pixel)   หนึ่งตารางสี่เหลี่ยมจะมีสีเพียงสีเดียวเท่านั้น   
ตารางสี่เหลี่ยมที่ประกอบรวมเป็นภาพดิจิตอลภาพหนึ่งนั้นมีขนาดเล็กมากๆ เราจึงดูไม่ออกว่าภาพเหล่านั้นที่จริงแล้วคือการเรียงต่อกันของตารางสี    หากเราเปิดภาพดิจิตอลในเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วใช้แว่นขยายส่องดูจะเห็นตารางสีสี่เหลี่ยมได้อย่างชัดเจน      การเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบของตารางสีเหล่านี้เป็นเสมือนแผนที่ของตารางสี    ซึ่งเป็นที่มาของชื่อภาพประเภทนี้ซึ่งเรียกว่าเป็นภาพ บิทแม็พ  (Bit Map)
 
คุณภาพของภาพดิจิตอลไม่ว่าจะเป็นภาพที่นำไปอัด หรือแสดงบนจอมอนิเตอร์จะขึ้นอยู่กับข้อมูลของภาพที่มีอยู่    หรืออีกนัยหนึ่งก็คือขึ้นอยู่กับจำนวนของพิกเซลที่มีอยู่บนตัวรับภาพ     จำนวนพิกเซลที่มากขึ้นหมายถึงรายละเอียดของข้อมูลภาพที่สูงขึ้น    ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้ได้ภาพถ่ายที่มีคุณภาพดีขึ้นไปด้วย  ( เมื่อนำไปอัด  -  ขยาย )    
เราวัดจำนวนของพิกเซลในภาพดิจิตอลโดยการนำเอาจำนวนของพิกเซลแนวตั้งคูณกับจำนวนของพิกเซลแนวนอน    ซึ่งค่าที่ได้ก็คือค่าความละเอียดของกล้องดิจิตอลที่เรารู้จักกันว่า    กล้องตัวนี้  3   ล้าน     กล้องตัวนี้  5   ล้าน หรือกล้องตัวนี้  6   ล้านเป็นต้น     
 
   ภาพขนาด  1600   x  1200  = 1,920,000  พิกเซล    หรือเป็นความละเอียดสูงสุดที่สุดที่กล้องดิจิตอล  2   ล้านพิกเซลสามารถบันทึกได้      ความละเอียดของกล้องดิจิตอลที่ระบุไว้จะดูที่ความละเอียดสูงสุดที่กล้องสามารถบันทึกได้เท่านั้น     ( นอกจากกล้องบางรุ่นที่ระบุความละเอียดโดยใช้หลักการของการประมวลผลและเพิ่มข้อมูลให้กับภาพ )
การทำงานของกล้องดิจิตอล
กล้องดิจิตอลมีหลักการในการทำงานคล้ายๆ กับกล้องที่ใช้ฟิล์มทั่วๆ ไป    กล้องดิจิตอลมีเลนส์    มีตัวรับภาพ ( ดิจิตอลฟิล์ม )    ส่วนที่ใช้ในการควบคุมการบันทึกภาพ    ส่วนที่เพิ่มเข้ามาในกล้องดิจิตอลใหญ่ๆ สองส่วนคือส่วนของจอ  LCD  สำหรับดูภาพเมื่อบันทึกเสร็จ    และส่วนของหน่วยบันทึกข้อมูล  (memory card)   สำหรับบันทึกข้อมูลภาพที่ต้องการเก็บ  ( หากไม่ลบทิ้ง )    
การทำงานในส่วนของการบันทึกภาพนั้นใกล้เคียงกับกล้องใช้ฟิล์ม     ส่วนที่แตกต่างกันคือระบบการควบคุมคุณภาพของภาพ ซึ่งได้รวมเอาขึ้นตอนการแต่งภาพ การปรับโทนสีของภาพ การอัด - ขยายภาพมาให้ผู้ใช้เป็นผู้เลือกควบคุม  ( ในกรณีที่ต้องการ มิเช่นนั้นสามารถเลือกให้กล้องทำให้แบบอัตโนมัติได้     ข้อแตกต่างสำคัญระหว่างกล้องดิจิตอลและกล้องใช้ฟิล์มคือ
กล้อง  35   มม .  ที่ใช้ฟิล์ม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],-   ใช้พลังงานเพียงเล็กน้อยในการทำงาน
กล้องดิจิตอล
-  ตัวรับภาพหรือ    Image Sensor   ทำหน้าที่เป็นตัวรับภาพ เป็นส่วนหนึ่งของกล้อง ดิจิตอลที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้     ที่มีใช้กันอยู่ในกล้องดิจิตอลทั่วไปจะ แบ่งเป็น  CCD  และ  CMOS   ที่นิยมใช้กันทั่วไปจะเป็น  CCD ,[object Object],[object Object],[object Object]
-  สามารถเห็นภาพได้ทันทีผ่านทางจอ  LCD   เพราะกล้องจะประมวลผลข้อมูลภาพ ทันที ไม่ต้องผ่านกระบวนการทางเคมี  ,[object Object],[object Object]
-   มีฟังชั่นการบันทึกแบบอื่นๆ  นอกเหนือจากการบันทึกภาพนิ่ง  -   ใช้พลังงานเป็นหลักในการทำงานของกล้อง ตั้งแต่เริ่มเปิดกล้องไปจนถึงการเก็บข้อมูล
ความละเอียดของภาพดิจิตอล  ภาพดิจิตอลที่บันทึกด้วยความละเอียดสูง  ( จำนวนพิกเซลที่มากกว่า )    จะมีข้อมูลภาพมากกว่า    จึงสามารถนำไปอัด  -  ขยายได้ใหญ่กว่า     คุณภาพของภาพถ่ายดิจิตอลทุกประเภทจึงมีความสัมพันธ์กันระหว่างขนาดของความละเอียดที่เลือกใช้ในการบันทึกภาพ และขนาดของภาพพิมพ์ที่เราสามารถนำไปอัด  -  ขยายได้    
ตัวอย่างเช่นภาพดิจิตอลที่บันทึกด้วยความละเอียด หรือ  resolution  ที่  1600   x 1200   สามารถนำไปอัด - ขยายได้ใหญ่กว่าภาพดิจิตอลที่บันทึกด้วยความละเอียด  1024 x 768  ทั้งนี้วัดจากพื้นฐานที่ระบบการบันทึกภาพเป็นแบบเดียวกัน   
เนื่องจากกล้องดิจิตอลในท้องตลาดมีอยู่มากมายหลายชนิด    แต่ละชนิดก็มีระบบการทำงานรวมไปถึงวัสดุที่ใช้แตกต่างกัน    ทำให้คุณภาพของภาพที่บันทึกได้มีความคมชัด    โทนสี หรือคอนทราสของภาพที่แตกต่างกัน     แต่เมื่อพูดถึงส่วนของความละเอียดของภาพดิจิตอลแล้ว    หัวใจหลักจะอยู่ที่ขนาดภาพสำเร็จที่ต้องการใช้งานเป็นหลักใหญ่
ตัวอย่างภาพที่บันทึกด้วยความละเอียดที่แตกต่างกัน จะมีผลทำให้สามารถนำไปอัด  -  ขยายได้ขนาดแตกต่างกัน
หลักง่ายๆ ในเรื่องของความละเอียดหรือ  resolution  ของภาพดิจิตอลก็คือ    หากเราเลือกบันทึกภาพที่ความละเอียดต่ำ    แต่ต้องการนำภาพไปขยายให้ใหญ่เท่ากับภาพที่บันทึกด้วยความละเอียดสูง    คุณภาพของภาพที่ได้ก็จะต่ำลง    หากอัตราการขยายไม่สูงนัก ก็จะมีผลต่อภาพไม่มากนัก    แต่หากเราขยายขึ้นไปมากๆ ภาพที่ได้ก็อาจจะขาดรายละเอียดซึ่งมีผลทำให้ดูไม่ชัดไปได้      แต่ไม่ใช่ว่าภาพที่บันทึกด้วยความละเอียดที่ต่ำจะมีสีสัน ความคมชัดของภาพ    สู้ภาพที่บันทึกด้วยความละเอียดสูงไม่ได้  
ส่วนที่แตกต่างกันมีเพียงเรื่องของขนาดภาพสำเร็จที่อัดไว้ใช้เท่านั้น      เรื่องสีสัน    ความคมชัด คอนทราสของภาพ ควมไปถึงโทนสีโดยรวมของภาพดิจิตอลนั้น    เกี่ยวข้องกับระบบการทำงานโดยรวมของหน่วยประมวลผลของกล้อง    ไม่ใช่เพียงแค่ความละเอียดของตัวรับภาพเท่านั้น
เวลาที่เราดูบนหน้าจอ  LCD  ด้านบนเมื่อปรับในเรื่องความละเอียดของภาพ    ส่วนใหญ่แล้วกล้องเดี๋ยวนี้จะให้เลือกควบคู่กันไปโดยเรียกว่า  Image Quality   โดยจะสลับกันไปมาระหว่างขนาด  -  ระดับการบีบอัด    ซึ่งจะมีผลทำให้จำนวนของภาพที่สามารถบันทึกลงในการ์ดแตกต่างกันออกไป  
ซึ่งบางครั้งกล้องจะไม่ได้ระบุเป็นค่าตัวเลขความละเอียดให้เราแต่จะบอกเป็น  L  ( large),  M (medium),  S (small) หรือบางอย่างที่ใกล้เคียงกัน    ดังนั้นเราจึงควรจะทำความคุ้นเคยกับกล้องที่ใช้ก่อนว่าความละเอียดเท่าใดที่กล้องใช้สำหรับเรียก  L, M, S   เพราะเราไม่จำเป็นต้องใช้ค่าหนึ่งค่าใดบันทึกภาพทุกภาพ    ในขณะเดียวกันการเลือกที่ผิดก็อาจให้ผลไม่ได้ตามที่เราต้องการ   
ทางยาวโฟกัสของเลนส์ในกล้องดิจิตอล
    ตัวรับภาพที่ใช้ในกล้องดิจิตอลมีขนาดไม่มาตรฐานเหมือนฟิล์มที่เราใช้กัน  ( ฟิล์ม  35 มม .  มีขนาดเท่ากับ  24   x 36   มม .)    และตัวรับภาพที่ใช้กันอยู่ในกล้องดิจิตอลทั่วไปก็มีใช้กันอยู่หลายขนาด    เริ่มตั้งแต่เล็กเพียง  3   x 4 มม .    ไปจนถึงขนาดเท่าฟิล์ม    ทำให้กล้องดิจิตอลมีความละเอียดในการบันทึกภาพแตกต่างกัน    และการที่ตัวรับภาพมีขนาดที่ต่างกันทำให้เลนส์ของกล้องซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวรวมแสงให้ผ่านเข้าไปตกยังตำแหน่งของตัวรับภาพมีทางยาวโฟกัสที่ต่างกัน    ( ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวรับภาพ )  
ทางยาวโฟกัสที่เราคุ้นเคยกันดีนั้นเป็นทางยาวโฟกัสที่เทียบในฟอร์แมทของกล้อง  35 มม .    แต่ในเมื่อตัวรับภาพของกล้องดิจิตอลมีขนาดเล็กกว่าฟิล์มมาก  ( โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกล้องคอมแพค )     ทำให้ทางยาวโฟกัสจริงของเลนส์ในกล้องดิจิตอลมีตัวเลขที่น้อยมากเมื่อเทียบกับทางยาวโฟกัสมาตรฐาน    ทำให้ผู้ผลิตระบุทางยาวโฟกัสเป็นจำนวนเท่ามาให้ดูคู่ไปกับทางยาวโฟกัสจริง    กล้องรุ่นใหม่ๆ บางรุ่นจะเขียนเป็นทางยาวโฟกัสเทียบเท่ามาให้เพื่อความสะดวก    ในขณะที่ส่วนใหญ่ยังเขียนเป็นค่าจริงอยู่   
    ทางยาวโฟกัสของกล้องคอมแพคจะเริ่มต้นอยู่ที่ระหว่าง  4.5  -  8   มม .    เมื่อเทียบกับค่าทางยาวโฟกัสของกล้องในฟอร์มแมท 35 มม .    แล้วจะเริ่มที่ระหว่าง  37  -  43 มม ซึ่งให้องศาการรับภาพใกล้เคียงกับเลนส์มาตรฐาน    หากเป็นเลนส์ซูม    ส่วนใหญ่จะบอกค่าทางยาวโฟกัสเป็นจำนวนเท่า หรือ  X  เท่า    เช่น  3X  หมายถึง  3   เท่า    หากเริ่มที่  37 มม .  ก็จะเท่ากับมีทางยาวโฟกัสอยู่ในช่วง  37  -  111 มม .  เป็นต้น  
กล้องดิจิตอลบางรุ่น  ( โดยเฉพาะขนาดเล็กๆ )  อาจมีค่าทางยาวโฟกัสเดียว ซึ่งหมายถึงว่าไม่สามารถปรับเปลี่ยนองศาการรับภาพได้   *    หากต้องการเปลี่ยนมุมมอง ต้องขยับไปข้างหน้าหรือถอยหลังเป็นต้น    กล้องประเภทนี้จะระบุค่าการซูมภาพมาให้โดยทั่วไปจะเป็น  2x  หรือ  2   เท่า แต่จะไม่สามารถระบุที่หน้าเลนส์ได้ เพราะเป็นการซูมภาพโดยใช้โปรแกรมการทำงานของกล้องไม่ใช่การซูมจริงของเลนส์    ซึ่งจะให้ภาพที่มีคุณภาพด้อยกว่าการซูมด้วยเลนส์จริง  
  Optical Zoom - Digital Zoom     ระบบการซูมภาพของเลนส์ในกล้องดิจิตอลมีอยู่  2   ระบบ   คือระบบ  Optical Zoom   และ  Digital Zoom    ซึ่งระบบ  Optical Zoom  จะเป็นซูมด้วยเลนส์จริง    ในขณะที่ระบบการซูมภาพแบบ  Digital Zoom  นั้น จะเป็นการตัดภาพในส่วนที่แสดงช่วงการซูมไว้    แล้วนำมาประมวลผลในกล้อง  -  ขยายให้ใหญ่ขึ้น    ทำให้เมื่อดูจากจอ  LCD  ดูเหมือนว่าเป็นการซูมภาพจริงๆ  
ทั้งนี้พัฒนาการของ  Digital Zoom  นับว่าดีขึ้นมากแล้วในกล้องดิจิตอลรุ่นใหม่ๆ    แต่หากว่าเทียบกับการซูมภาพด้วยเลนส์ที่มีคุณภาพดีแล้วก็ยังเทียบกันไม่ได้     กล้องส่วนใหญ่จะมีฟังชั่นของ  Digital Zoom   เป็นของแถมมาให้    ในขณะที่บางรุ่นเน้นโฆษณาในส่วนนี้มาก    การเลือกความสามารถของกล้องควรดูด้วยค่าการซูมจริง หรือ  Optical Zoom  ของกล้องเป็นหลักดีกว่า     *  ดูเรื่ององศาการรับภาพเพิ่มเติมได้ที่หลักการถ่ายภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อแสดงผลที่นำภาพดิจิตอลไปใช้
เนื่องจากภาพดิจิตอลคือข้อมูลของตารางสีสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่นำมาเรียงต่อกัน    ดังนั้นขนาดของภาพดิจิตอลเมื่อนำไปแสดงผ่านสื่อต่างๆ จึงขึ้นอยู่กับประเภทของสื่อที่เราต้องการนำภาพไปแสดงด้วย     ภาพดิจิตอลที่ถ่ายด้วยความละเอียดเท่ากัน    หากนำไปแสดงผ่านจอมอนิเตอร์ จะดูมีขนาดใหญ่    แต่หากนำไปพิมพ์แล้วอาจได้ขนาดเล็กนิดเดียว     สิ่งที่แตกต่างกันคือความละเอียดที่สื่อแต่ละอย่างต้องการไม่เหมือนกัน   
การแสดงภาพดิจิตอลบนหน้าจอมอนิเตอร์ต้องการความละเอียดเพียง  72  -  95   พิกเซลต่อตารางนิ้ว    ในขณะที่การพิมพ์ภาพดิจิตอลตามแล็ปหรือจากเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทสำหรับพิมพ์ภาพ จะอยู่ที่  200  -  300   พิกเซลต่อตารางนิ้ว     เพื่อให้ได้ข้อมูลภาพที่สมบูรณ์ที่สุดเท่าที่ควรจะได้      ดังนั้นการถ่ายภาพสำหรับส่งอีเมล์ กับการถ่ายภาพเพื่ออัด หรือเพื่อขยายจึงต้องใช้ความละเอียดในการบันทึกที่แตกต่างกัน     เพื่อให้ได้ผลตามที่ต้องการ  
 
ดังจะเห็นได้จากภาพว่า    ภาพถ่ายดิจิตอลที่ความละเอียด  1600   x 1200   พิกเซล    สามารถมีขนาดตั้งแต่ประมาณ  5   x  4   นิ้ว    ไปจนถึง  22 x 16  นิ้ว     แต่ไม่ใช่ว่าเราสามารถนำภาพดิจิตอลไปอัดขยายได้ใหญ่ขนาดนั้น    แต่ว่าเป็นความแตกต่างและความต้องการของสื่อที่ใช้แสดงผลที่ไม่เท่ากัน  
หากเราต้องการพิมพ์ ความละเอียดของภาพจะได้ประมาณ  4   x 6"   หรือ  5   x 7"   ในขณะที่หากเรานำมาแสดงผ่านทางจอมอนิเตอร์    ภาพจะดูใหญ่เกินจอ  ( ล้นจอ )    แต่ที่เราเห็นไม่เต็มจอเป็นเพราะภาพนั้นถูกสเกลให้เล็กลง    ให้ลองสังเกตที่หัวมุมด้านบนซ้ายของภาพจะบอกว่าภาพนั้นๆกำลังแสดงอยู่ที่กี่เปอร์เซ็นต์    หากเราดูที่  100   %   เราจะต้องใช้แถบ  cursor  เลื่อนขึ้นลง หรือซ้ายขวา   เนื่องจากว่าภาพมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จอมอนิเตอร์จะแสดงได้เต็มนั่นเอง  
กล้องดิจิตอลที่มีความละเอียดหนึ่งล้านต้นๆ ไปจนถึงห้าหกล้านพิกเซล    จะมีระดับของความละเอียดให้ผู้ใช้เลือกบันทึกได้ตามความเหมาะสมของงานที่จะนำไปใช้     เนื่องจากความละเอียดที่สูงหรือต่ำเกินไปจะมีผลต่อคุณภาพของภาพที่สามารถนำไปใช้งานได้   
ดังนั้นการเลือกความละเอียดที่ใช้ในการบันทึกก็คือการออกคำสั่งกับกล้องว่าเราต้องการภาพนั้นๆ สำหรับวัตถุประสงค์อะไร     ความละเอียดที่สูงเกินจำเป็น ทำให้ได้ไฟล์ภาพที่ใหญ่เปลืองพื้นที่ของหน่วยบันทึกข้อมูล    ใช้เวลาในการเปิดไฟล์นานในคอมพิวเตอร์     ในขณะที่ภาพที่บันทึกด้วยความละเอียดที่ต่ำเกินไปจะทำให้คุณภาพของภาพด้อยลงเมื่อนำไปอัด  -  ขยายเกินขอบเขตที่มันสามารถทำได้   
ระดับความละเอียดที่เราสามารถเลือกได้สำหรับกล้องดิจิตอลทั่วไปจะเริ่มต้นที่ความละเอียดตั้งแต่  640   x 480   ไปจนถึงระดับ  3072   x 2048   หรือสูงกว่านี้ในปัจจุบัน    ที่ระดับความละเอียดของกล้องได้พัฒนาเพิ่มขึ้นไปอย่างมาก    ทั้งนี้ไม่ว่ากล้องจะมีความละเอียดกี่ล้านพิกเซลก็ตาม    จะต้องมีความละเอียดให้เลือกสำหรับบันทึกเพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้    แต่ถ้าผู้ใช้ไม่เข้าใจหรือเลือกใช้ผิดวัตถุประสงค์    ผลลัพธ์อาจไม่ดีตามที่ต้องการก็ได้
3072   x 2048 ระดับ  6   ล้านพิกเซล 2592 x  1944 ระดับ  5   ล้านพิกเซล 2272 x 1704 ระดับ  4   ล้านพิกเซล 2048   x  1536 ระดับ  3   ล้านพิกเซล 1600   x 1200 ระดับ  2   ล้านพิกเซล 1280   x 960 ระดับ  1   ล้านพิกเซล ความละเอียดภาพนิ่งสูงสุด ที่กล้องสามารถบันทึกได้   ( โดยประมาณ ) ความละเอียดของกล้อง  ( โดยประมาณ )

More Related Content

What's hot

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมAtip19617
 
บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่Aii'fon Kyky
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
Main Memory 516(1)
Main Memory 516(1)Main Memory 516(1)
Main Memory 516(1)Chettapong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่noonlovefon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่fhasia
 

What's hot (9)

Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
 
Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302Z y9hyp4sl8f20160214144302
Z y9hyp4sl8f20160214144302
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
Main Memory 516(1)
Main Memory 516(1)Main Memory 516(1)
Main Memory 516(1)
 
Main Memory 516
Main Memory 516Main Memory 516
Main Memory 516
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 

Similar to ระบบภาพดิจิตอล

14flim5 7
14flim5 714flim5 7
14flim5 7krurenu
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นSuphol Sutthiyutthasenee
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์Uthaiwan Suantai
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์phattarasonnarin
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)Supaksorn Tatongjai
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่นAreeya Phukhunsung
 
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่นAreeya Phukhunsung
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอSamorn Tara
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์sutee160
 
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)James James
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอทีPor Tanyaporn
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอทีPor Tanyaporn
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 

Similar to ระบบภาพดิจิตอล (20)

14flim5 7
14flim5 714flim5 7
14flim5 7
 
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่2
 
Introduction to Images Digitization
Introduction to Images DigitizationIntroduction to Images Digitization
Introduction to Images Digitization
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 9 การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
หน่วยความจำสำรอง 4.11 Present 4-11 (Group4)
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
 
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
5.เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องมัลติฟังก์ชั่น
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Eep time issue_8
Eep time issue_8Eep time issue_8
Eep time issue_8
 
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
55540089
5554008955540089
55540089
 

More from Titima

E commerce
E commerceE commerce
E commerceTitima
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerceTitima
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerceTitima
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศTitima
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นTitima
 
E-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต
E-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ตE-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต
E-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ตTitima
 

More from Titima (6)

E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
E-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต
E-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ตE-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต
E-Commerce การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต
 

ระบบภาพดิจิตอล