SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
GRAPHICS BASIC 
อาจารย์นงคราญ คาวิชัย สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 
Email: it.nongkran@gmail.com 
วิชา ทส105การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก 
ComputerGraphicsDesign
กราฟิก
ความหมายของกราฟิก 
•กราฟิก (Graphic) 
คาว่า กราฟิก มาจากคาในภาษากรีก2คา คือ 
Graphikosแปลว่า “การวาดเขียนและเขียนภาพ” 
Grapheinแปลว่า “การเขียน” 
กราฟิกรวมถึง งานศิลปะ การวาด การพิมพ์ เป็นรูปแบบการสื่อสาร รูปแบบหนึ่ง ที่ใช้ศิลปะมาเกี่ยวข้อง เพื่อสร้างสัญลักษณ์ ที่เข้าใจง่ายและตรงกัน ระหว่างผู้สื่อสาร กับผู้รับสาร ให้เข้าใจความหมายได้ทันที ตรงตามที่ผู้สื่อสาร ต้องการ
ประวัติความเป็นมาของกราฟิก 
กราฟิก (Graphic) เริ่มมีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
เป็นรูปภาพ ภาพเขียน ตามผนังถ้้า 
ใช้เครื่องมือที่เป็น ดินที่มีสี หรือกระดูกคมๆ 
ในยุคประวัติศาสตร์ อียิปต์เป็นต้นแบบของอารยธรรมตะวันตก 
มีการเล่าเรื่องราวโดยใช้ Graphic Art เขียนตามก้าแพงปิระมิด 
กรีกรับอารยธรรมอียิปต์มาใช้ปรับปรุงให้เข้ากับ เรขาคณิต 
ในสมัยกรีกจะเน้นเป็นรูปวาด และน้าไปใช้ในการเขียนต้ารา 
ศิลปะทางด้านนี้ได้รับความนิยมมากในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ 
ปัจจุบันกราฟิกได้รับการพัฒนาและเจริญมากขึ้นเรื่อยๆ 
มีการขยายขอบเขตงานให้กว้างมากขึ้น เช่น งานโฆษณาประชาสัมพันธ์ งานการศึกษา การแสดง ธุรกิจ 
ฯลฯ
ความหมายคอมพิวเตอร์กราฟิก 
•คอมพิวเตอร์กราฟิก 
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อดาเนินการเกี่ยวกับ กราฟิก ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมการออกแบบ นาเสนอ และนากราฟิกไปใช้งาน 
เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมาย 
เกิดการเรียนรู้ การศึกษา 
เกิดความน่าสนใจ ประทับใจ และน่าเชื่อถือ 
กระตุ้นความคิด 
ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 
ส่งเสริมความก้าวหน้าทางความคิด
SOME OF HISTORICAL PICTURE (1/2) 
First truly interactive graphics system, Sketchpad, pioneered at MIT by Ivan Sutherland for his 1963 Ph.D. thesis. 
Sketchpad, A Man-Machine Graphical Communication System: 
Sketchpad in 1963. Note the use of a CRT monitor, light pen and function- key panel.
SOME OF HISTORICAL PICTURE (2/2) 
http://ei.cs.vt.edu/~history/VonNeumann.html 
http://www.man.ac.uk/Science_Engineering/CHSTM/nahc.htm 
Mark I 
John VonNeuman
งานกราฟิก 
งานกราฟิก หมายถึง งานการวางแผนทางศิลปะและการทาหัว เรื่อง โดยรู้ขนาดสัดส่วน และหลักในการออกแบบ รวมถึงการใช้สี ประกอบเพื่อเน้นและดึงดูดความสนใจให้มากขึ้น และเป็นการให้ รายละเอียดที่เพิ่มขึ้นด้วย
ขอบข่ายงานกราฟิก 
งานกราฟิกไม่ใช่เพียงแค่งานพิมพ์เท่านั้น เพราะโดยทั่วๆ ไปงานต่างๆ ก็ ได้น้างานกราฟิกไปใช้ด้วย โดยยังเน้นจุดเด่นคือ มุ่งให้ผู้ดูรับรู้ได้โดยทาง สายตาเช่น 
•งานประชาสัมพันธ์ (ภาพ + เนื้อหา) 
•งานโทรทัศน์ (Title , Slide , ภาพประกอบ) 
•งานจัดฉาก 
•งานสิ่งพิมพ์ต่าง (หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร) 
•งานออกแบบ (แบบบ้าน แบบอาคาร) 
•ฯลฯ
คุณค่าของงานกราฟิก 
1. เป็นสื่อกลางให้เกิดความเข้าใจตรงกัน 
2. สามารถทาหน้าที่เป็นสื่อ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 
3. ช่วยให้งานมีความน่าสนใจ 
4. ช่วยให้เกิดการกระตุ้นทางความคิด และการตัดสินใจ 
5. ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 
6. ทาให้ผู้พบเห็นเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทั้งการกระทาและความคิด
การออกแบบกราฟิก (GRAPHIC DESIGN) 
งานกราฟิกเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็นอย่าง มาก ส่งที่เรามองเห็นด้วยตาจะโน้มน้าวจิตใจได้ดีกว่าการรับรู้ประเภท อื่นๆ ดังนั้นงานกราฟิกที่ดีต้องขึ้นอยู่กับการออกแบบที่ดีด้วย ตั้งแต่การ ออกแบบเบื้องต้น การลงสี การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ 
Graphic Designer จะใช้วิธีการทางศิลปะและหลักการออกแบบ ร่วมกันสร้างสรรค์รูปแบบต่างๆ ออกมาเพื่อ ให้เกิดศักยภาพสูงสุดใน การที่จะเป็นตัวกลางในการสื่อความหมายระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร
การออกแบบกราฟิก (GRAPHIC DESIGN) 
วิธีการออกแบบและวิธีแก้ปัญหาการออกแบบโดยนาเอารูปภาพ ประกอบ (Illustration)ภาพถ่าย (Photography) สัญลักษณ์ (Symbol) รูปแบบ และขนาดของตัวอักษร (Typography) มา จัดวางเพื่อให้เกิดการนาเสนอข้อมูลอย่างชัดเจน เกิดผลดีต่อ กระบวนการสื่อความหมายและแสดงคุณค่าทางการออกแบบ อย่างตรงไปตรงมา
หลักการออกแบบ 
ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) 
คือ การผนวกส่วนของความคิดลึกๆ ภายในใจประยุกต์ใช้แก้ไขปัญหา แก้ไขโจทย์และเงื่อนไขต่างๆ ที่มีอยู่ โดยมีรูปแบบค่อนข้างใหม่ ไม่ซ้้ากับสิ่งที่มีอยู่ แล้ว และมีคุณค่าในการตอบโจทย์เป้าหมาย หรือสิ่งที่เราต้องการได้เป็นอย่างดี 
โดยปกติ เมื่อพูดถึงความคิดสร้างสรรค์ หลายๆ คนอาจจะประสบ ปัญหา คือ คิดอะไร ท้าอะไร ไม่ต่างกับสิ่งที่เห็นอยู่ สิ่งที่มีอยู่ 
ทางออกของความคิดสร้างสรรค์ ก็คือ การพยายามคิดออกมานอกกรอบ ความคิดที่มีอยู่(Think out of box) แต่ไม่ใช่คิดเลยออกทะลุแล้วไม่สามารถ กลับมาตอบโจทย์ของเราได้
ค้นหาจุดยืน 
โดยปกติแต่ละคนจะมีจุดยืนในเรื่องของกราฟิกที่แตกต่างกัน 
ไม่ต้องกลัวว่าการออกแบบนั้นจะต้องมีความรู้ในเรื่องของศิลปะ ทุกๆ คนมี ศิลปะอยู่ในตัวอยู่แล้วทุกๆ คน ขึ้นอยู่กับว่าจะเป็นระดับไหนเท่านั้นเอง
ค้นหาจุดยืน 
1. คนในระดับทั่วไป 
คนแต่ละคนมีความมีศิลปะอยู่ภายในอยู่แล้ว ใครๆ ก็สามารถ ตัดสินงาน หรือวิจารณ์งานได้ คนทุกคนอาจมองไม่เหมือนกัน แต่ก็มี แนวโน้มที่จะมองเห็นไปในทางเดียวกันมากกว่า 
2. คนที่มองงานเป็น วิจารณ์ได้ 
เป็นคนที่ให้ความสนใจงานกราฟิกมากขึ้น มีความเข้าใจในภาพ ใน องค์ประกอบต่างๆ ที่อยู่ในภาพ สามารถคิด วิเคราะห์ และวิจารณ์งานได้
ค้นหาจุดยืน 
3. คนที่สามารถออกแบบงานกราฟิกได้ 
คือคนที่สามารถคิดสังเคราะห์โจทย์ แนวความคิด เข้าใจใน องค์ประกอบพื้นฐาน และองค์ประกอบสี และควบคุมองค์ประกอบใน ภาพได้ สามารถจัดองค์ประกอบภายในภาพได้อย่างลงตัว 
4. คนที่ออกแบบงานกราฟิกได้ดี 
คือคนระดับที่ 3ที่ได้รับการฝึกฝน เรียนรู้ และหาความรู้ เพิ่มเติมอย่างสม่้าเสมอ เพราะว่างานกราฟิกมีการเปลี่ยนตามยุคตาม สมัยเสมอ
ค้นหาจุดยืน 
เราจะเป็นจุดไหน??? 
ลองพิจารณาให้ดีๆ ถ้าต้องการไปสู่ระดับบนสุด ต้องมีความ พยายามและฝึกฝนดีๆ โดยทั่วไปงานทางด้านออกแบบกราฟิก ประกอบด้วย 2ศาสตร์คือ 
ศิลปะ + การออกแบบ 
ศิลปะ คือ ศาสตร์แห่งการแสดงออกจากจินตนาการและอารมณ์ เพื่อ ความสุขทางใจ 
การออกแบบคือ ศาสตร์แห่งความคิด การแก้ไขปัญหาที่มีอยู่ เพื่อสนองต่อ จุดมุ่งหมาย และนากลับมาใช้งานได้อย่างพึงพอใจ
หลักการออกแบบ 
1. การตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอย (Benefit) 
2. ความสวยงามพึงพอใจ (Aesthetic) หรือ สุนทรียะ 
3. การสื่อความหมาย (Meaning) 
“หนึ่งต้องเวิร์ก 
สองต้องสวย 
สามต้องสื่อ”
หลักการออกแบบ 
1. การตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอย 
เป็นข้อที่สาคัญในการออกแบบทั้งหมด ประโยชน์ใช้สอยมี อิทธิพลกับงานที่เราออกแบบ เช่น งานออกแบบหนังสือ ต้องทาให้ ตัวหนังสือชัดเจน อ่านง่าย งานออกแบบเว็บไซต์ต้องไม่โหลดนานหรือ ว่างานมัลติมีเดีย ต้องมีปุ่มสาหรับ กดไปยังส่วนต่างๆ ของเนื้อหานั้น
หลักการออกแบบ 
2. ความสวยงามพึงพอใจ (Aesthetic) 
ในงานที่มีประโยชน์ใช้สอยดีพอๆ กัน ความงาม จะเป็นเกณฑ์ ตัดสินคุณค่าของงานโดยเฉพาะงานออกแบบกราฟิก ซึ่งถือเป็นงาน ออกแบบที่มีประโยชน์ใช้สอยน้อยกว่างานออกแบบด้านอื่น อย่างงาน ออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบสถาปัตยกรรมต่างๆ ความสวยงามจึง เป็นเรื่องสาคัญและมีอิทธิพลในการออกแบบกราฟิกอย่างมาก
หลักการออกแบบ 
3. การสื่อความหมาย (Meaning) 
งานศิลปะนั้นจะมีคุณค่าก็ต่อเมื่อมันสื่อความหมายออกมา ได้ “ งานกราฟิก ก็คือ งานศิลปะเช่นกัน ” การสื่อความหมายจึงเป็น สิ่งที่นักออกแบบขาดเสียไม่ได้ในการออกแบบ ต่อให้งานที่ได้ สวยงามอย่างไรแต่ไม่สามารถตอบโจทย์ของงานออกแบบหรือสื่อ สิ่งที่ผู้ออกแบบคิดเอาไว้ได้ งานกราฟิกนั้นก็จะมีคุณค่าลดน้อยลง ไป
เทคโนโลยีสื่อประสม
ความหมายของเทคโนโลยีสื่อประสม 
"มัลติมีเดีย (Multimedia)หรือ สื่อหลายแบบ" 
•เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ สามารถ ผสมผสานกันระหว่าง ข้อความ ข้อมูลตัวเลข ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ไว้ด้วยกัน ตลอดจน การนาเอาระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ (Interactive)มาผสมผสานเข้าด้วยกัน 
นอกจากนี้ มีผู้ให้นิยามศัพท์ไว้ หลายท่าน ดังนี้
ความหมายของเทคโนโลยีสื่อประสม 
Robert Aston, Joyce Schwarz 
•การจัดการควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ โดยการผสมผสาน ระหว่าง ข้อความ (text) กราฟิก (graphics) เสียง (audio) วีดีโอ (video) และ ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ 
Joyce Schwarz
ความหมายของเทคโนโลยีสื่อประสม 
TayVaughan 
Multimedia คือการผสมผสานระหว่าง ข้อความ กราฟิก ศิลปะ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และ วีดีโอ ซึ่งถูกจัดการโดย คอมพิวเตอร์ซึ่งอาจจะเป็นมัลติมีเดียแบบที่มีการตอบโต้กัน ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ (interactive multimedia)หรือ การรวมสื่อหลาย ๆ ตัวเข้าด้วยกัน (hypermedia) 
Nicholas Negroponte 
มัลติมีเดียที่แท้จริงคือ ข้อมูลที่เป็นดิจิตอล ที่มีการโต้ตอบกัน และ สามารถดูได้จากหลาย ๆ วิธีโดยผู้ใช้นอกจากนั้นใน มัลติมีเดีย ไม่มีการ trade-offระหว่าง depthและ breadthผู้ใช้สามารถดูหัวข้อต่าง ๆ ได้อย่างเป็นอิสระ
ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม 
เนื่องจากมัลติมีเดีย เป็นเทคโนโลยีของสื่อหลากหลายสื่อ ซึ่งสามารถแบ่งได้ ดังนี้ 
•เทคโนโลยีเกี่ยวกับเสียง (Audio Technology)ซึ่งรวมทั้งเสียงพูด และเสียงดนตรี ตั้งแต่ การประมวลผล การแสดงผล การจัดการต่างๆ เช่น การบีบอัดสัญญาณ การสื่อสาร และการ ส่งสัญญาณ 
•เทคโนโลยีเกี่ยวกับวีดิโอ (Video Technology)อันได้แก่ การจัดเก็บ การประมวลผล การปรับแต่ง การใช้งาน การเรียกหา สืบค้น การส่งกระจาย มาตรฐานการบีบอัดสัญญาณ การเข้าและถอดรหัส การส่งข้อมูล การท้างานร่วมกับสื่ออื่นๆ 
•เทคโนโลยีรูปภาพ (Image Technology)เป็นการพัฒนา และประยุกต์ใช้ภาพ การ จัดการฟอร์แมต คลังภาพ การค้นหา การสร้าง และตกแต่งภาพ 
•เทคโนโลยีข้อความ (Text Technology)เกี่ยวกับข้อความหรือ ตัวอักษร ทั้งการใช้ และ ลักษณะรูปแบบของ ข้อความแบบต่างๆ
ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม (ต่อ) 
•เทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหว และภาพสามมิติ 
(Animation & 3D Technology)เป็นเทคโนโลยีเกี่ยวกับการแสดงผล ด้านภาพเคลื่อนไหว ทั้งแบบ 2มิติ และ 3มิติ การสร้างภาพเสมือนจริง (VR -Visual Reality) การสร้าง ตกแต่ง ประมวลผล การใช้งาน 
•เทคโนโลยีสาหรับการพัฒนาระบบ (Authoring System Technology) คือ เทคโนโลยีที่ ได้พัฒนา เพื่อสร้างเครื่องมือส้าหรับ งานพัฒนามัลติมีเดีย ในรูปของ ซอฟต์แวร์ช่วย ในการน้า ข้อมูล เนื้อหา (Content) เข้าไปเก็บตามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่วางไว้ เพื่อน้าเสนอ เช่น การใช้ เครื่องมือต่างๆ หรือการสร้างเครื่องมือใหม่ ๆ 
•เทคโนโลยีกับระบบการศึกษาเป็นการศึกษาเพื่อน้าเอา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้ กับ ระบบการศึกษา ในรูปของ CAI -Computer Aided Instruction, CBT-Computer Based Training ตลอดจนงานประชาสัมพันธ์ โฆษณา สร้างภาพยนตร์
ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม (ต่อ) 
•เทคโนโลยีการผลิต (Publishing Technology)เป็นการน้าเอามัลติมีเดีย มา ใช้ด้านงานพิมพ์ เพื่อเพิ่มชีวิตชีวาให้กับงานพิมพ์ มีรูปแบบที่โดดเด่น และ น้าเสนอ หรือพิมพ์ลงสื่อได้หลากรูปแบบ เช่น งาน DTP -Desktop Publishing, CD-ROM Title & Publishing 
•เทคโนโลยีการสื่อสารและการสนทนา (Broadcasting & Conferencing) เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูล เผยแพร่สัญญาณ เช่น Conference, Multicasting Backbone เป็นต้น 
•เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล (Storage Technology)เนื่องด้วยข้อมูลด้าน มัลติมีเดีย มักจะมีขนาดโต ท้าให้ต้องเกี่ยวข้องกับสื่อบันทึกข้อมูลอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ทั้งเกี่ยวกับรูปแบบของสื่อ รูปแบบการบีบอัดข้อมูล รูปแบบการบันทึก ข้อมูล
ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม (ต่อ) 
•เทคโนโลยี WWW & HyperTextโดยจะช่วยให้เกิดการเผยแพร่สื่อมัลติมีเดียใน รูปแบบที่นิยมมากที่สุด และเร็วที่สุด ผ่านระบบ WWW และมีระบบโต้ตอบด้วย เทคโนโลยี HyperText & HyperMedia 
•เทคโนโลยีคลังข้อมูล (Media Archives)ซึ่งเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลปริมาณ มากๆ และการเรียกค้นภายหลัง เช่น Photo & Image Server, AVI archives
บทบาทของสื่อมัลติมีเดีย 
ประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดีย ที่สามารนาเสนอเนื้อหาได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีทัศน์ และอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ประจวบเหมาะสมระบบติดต่อผู้ใช้ (GUI: Graphics User Interface) ที่ทาให้ผู้ใช้มีความสะดวกในการใช้งาน สร้างสรรค์ งาน ทาให้บทบาทของสื่อฯ มีมากขึ้นตามลาดับ 
มีการนาสื่อมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ มากมาย เช่น การเรียนการสอน การ ถ่ายทอดความรู้ การนาเสนอข้อมูล การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 
ปัจจุบันเทคโนโลยีเครือข่ายและการสื่อสาร ยิ่งส่งเสริมให้การประยุกต์ใช้สื่อมัลติมีเดียได้รับการ พัฒนาอย่างกว้าง สามารถเผยแพร่ข้อมูลได้กว้างไกล และรวดเร็ว มีผู้คนตอบสนองการใช้ สื่อมัลติมีเดียมากขึ้น 
ไม่ว่าจะเป็น สื่อการเรียนการสอนระบบมัลติมีเดียผ่านเว็บ, ระบบประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พร้อม ๆ กับเทคโนโลยีที่ก้าวเกินกว่าจะคาดได้ถึง หรือไม่น่าเชื่อว่าจะ เกิดขึ้นได้
บทบาทของสื่อมัลติมีเดีย
GRAPHICS APPLICATIONS 
Entertainment: Cinema(บันเทิง : ภาพยนตร์) 
Square: Final Fantasy
GRAPHICS APPLICATIONS 
Entertainment: Cinema 
Pixar: Geri’s Game 
Universal: Jurassic Park 
A bug’s Life 
Antz
GRAPHICS APPLICATIONS 
Medical Visualization (ภาพทางการแพทย์) 
MIT: Image-Guided Surgery Project 
The Visible Human Project 
http://www.ercim.org/publication/Ercim_News/enw44/koenig.html
GRAPHICS APPLICATIONS 
Everyday Use 
•Microsoft’s Whistler OS will use graphics seriously 
•Graphics visualizations and debuggers 
•Visualize complex software systems
EVERYDAY USE 
Window system and large-screen interaction metaphors (François Guimbretière)
GRAPHICS APPLICATIONS 
Scientific Visualization(การแสดงทางวิทยาศาสตร์)
SCIENTIFIC VISUALIZATION 
Airflow around a Harrier Jet (NASA Ames)
GRAPHICS APPLICATIONS 
Computer Aided Design (CAD) (คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ)
GRAPHICS APPLICATIONS 
Training 
Designing Effective Step-By-Step Assembly Instructions (ManeeshAgrawalaet. al)
GRAPHICS APPLICATIONS 
Entertainment: Games 
GT Racer 3 
Polyphony Digital: Gran Turismo3, A Spec
42 
GRAPHICS APPLICATIONS 
Entertainment: Games 
Quake III 
Aki Ross : Final Fantasy 
Star Wars Jedi Outcast: Jedi Knight II
การพัฒนาของเทคโนโลยีสื่อประสม 
•Audio Technology 
•Video 
•Image 
•Text 
•2D/3D 
•Authoring, Development Environments 
•Education 
•Publishing 
•Broadcasting 
•Conferencing 
•Storage Technology 
•Hypertext, Hypermedia WWW 
•Media Archives 
•Virtual Reality 
•Etc.
AUDIO TECHNOLOGY 
การพัฒนาระบบการจัดเก็บ การแสดงผล การประมวลผล ตลอดจน การสร้างมาตรฐานการบีบอัด การส่งสายสัญญาณแบบต่าง ๆ 
•Audio file format 
•MIDI Technology 
•Music Synthesizer 
•Speech and True Speech 
•Broadcast System 
•Real Audio, Audio live
VIDEO TECHNOLOGY 
พัฒนาการเน้นด้านการประมวลผลการจัดเก็บ การส่ง การกระจายข้อมูลและ มาตรฐานการใช้งานสัญญาณวิดีโอ 
•Video file format 
•DVD 
•MPEG 
•CODEC Technology 
•Multimedia Video Editing and Processing
IMAGE TECHNOLOGY 
เป็นเทคโนโลยีว่าด้วยการพัฒนาการประยุกต์ใช้ภาพ การประมวลผลภาพ การ บีบอัด การจัดเก็บภาพ และ การค้นหาภาพ 
•Digital Camera 
•Scanning Technology 
•JPEG 
•GIF 
•PNG (Portable Network Graphic)
TEXT 
เทคโนโลยีการประมวลผล การแสดงผล การจัดเก็บข้อความ ข่าวสารต่าง ๆ 
•Fonts 
•Text Processing 
•Text Retrieval 
•Text Storage and Archive
2D/3D GRAPHIC, ANIMATION, VR 
เทคโนโลยีการแสดงผลภาพเคลื่อนไหวแบบสามมิติ การทาให้เหมือนจริง การประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น งานฝึกอบรม การจาลองระบบเป็นต้น 
•Computer Vision 
•3D Engines 
•Animation 
•Game 
•VRML(Virtual Reality Modeling Language) 
•3D Graphics file format 
•Computer Graphic Technology
AUTHORING, DEVELOPMENT ENVIRONMENTS 
เป็นเทคโนโลยีช่วยในการสร้างระบบมัลติมีเดีย ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ช่วยในการ นาเอาเนื้อหาต่าง ๆ เข้าไปเก็บไว้ตามรูปแบบที่วางไว้ เพื่อนาเสนอในโอกาส ต่อไป 
•Macromedia Authorware 
•Script X 
•Director 
•Tool Book
EDUCATION VS. MULTIMEDIA 
การประยุกต์ใช้มัลติมีเดียในการศึกษา ซึ่งรวมถึงการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ 
•CAI (Computer Assisted Instruction ) 
•CBT (Computer Base Training) 
•งานประชาสัมพันธ์ โฆษณา 
•การสร้างภาพยนตร์
PUBLISHING TECHNOLOGY 
งานพิมพ์ในปัจจุบัน ถือว่าเป็นการสร้างงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งงานพิมพ์ต้องการ ความสวยงาม มีชีวิตชีวา แล รูปแบบที่โดดเด่น สามารถพิมพ์บนสื่อต่าง ๆ ได้ 
•Desktop Publishing 
•CD-RomPublishing 
•Photo CD 
•Music CD 
•DVD
BROADCASTING AND CONFERENCING 
เป็นการกระจายข่าวสาร หรือข้อมูลต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันถือ ว่าเป็น มัลติมีเดียประเภทหนึ่ง 
•Video Conferencing 
•Multicast Backbone 
•PointCast 
•Real Audio 
•Video live 
•Satellite TV
STORAGE TECHNOLOGY 
การจัดเก็บข้อมูลมัลติมีเดีย ในสื่อตัวกลางต่าง ๆ โดยเฉพาะเทคนิคการ จัดเก็บข้อมูลจานวนมาก การเรียกค้น และ การแสดงผล 
•CD Rom 
•DVD 
•CDI 
•Photo CD
HYPERTEXT, HYPERMEDIA, WWW 
การนาเสนอข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน โดย เป็นแบบมัลติมีเดียที่เรียกดูในระยะทางไกลได้ผลดี 
•HTML 
•WWW 
•HTTP 
•SGML 
•Web Object 
•Interactive Web 
•JAVA
MEDIA ARCHIVES 
เป็นการเรียกข้อมูลข่าวสารจานวนมาก ๆ เพื่อการเรียกใช้ภายหลัง 
•Acoustic Music Server 
•Photo and Image Server 
•Art 
•AVI Archive
VIRTUAL REALITY 
Virtual Reality เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ทาให้การสร้างContentน่าสนใจ มากขึ้น โดยภาพที่ได้จะมีลักษณะสมจริง และมีลักษณะเป็น 3 Dimension 
สิ่งต่างๆ ที่สร้างขึ้นในลักษณะของVirtual Realityไม่ว่าจะเป็นภาพและ เสียงจะทาในลักษณะของการเลียนแบบของจริงเพื่อให้ User เกิดความรู้สึก เหมือนจริง
ภาพกราฟิก 
ภาพกราฟิกเป็นสื่อในการนาเสนอที่ดี เนื่องจากมีสีสัน มีรูปแบบที่น่าสนใจ สามารถสื่อความหมายได้กว้างกว่าข้อความ 
ประเภทของภาพกราฟิก 
-บิตแมพกราฟิก (Bitmap Graphic) 
-เวกเตอร์กราฟิก (Vector Graphic)
บิตแมพกราฟิก 
เป็นภาพที่มีการเก็บข้อมูลแบบพิกเซล หรือจุดเล็ก ๆ ที่แสดงค่าสี ดังนั้นภาพหนึ่ง ๆ จึงเกิดจากจุดเล็ก ๆ หลาย ๆ จุดประกอบกัน 
ทาให้รูปภาพแต่ละภาพใช้หน่วยความจามากในการ จัดเก็บ ขนาดของไฟล์ข้อมูลจะมีขนาดใหญ่ เช่น .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF 
เมื่อทาการขยายภาพบิตแมพจะทาให้ภาพนั้นไม่ คมชัด
เวกเตอร์กราฟิก 
ภาพเวกเตอร์เป็นภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นลักษณะต่างๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเส้นนั้นๆ ซึ่งสร้างจากการคานวณทาง คณิตศาสตร์ 
เช่น .wmfใน clipart ของ MS Office 
สามารถสร้างโดย โปรแกรม Adobe Illustrator และ Macromedia Freehand 
เมื่อขยายภาพจะยังคมชัดอยู่ 
basic shapes: square, diamond, triangle, circle... 
lines, polygons, polylines and paths. 
simple style: color, stroke width and opacity. 
transformations: rotation, translation, scaling...
ภาพเปรียบเทียบค่าคุณสมบัติ 
1 bit, 2 color, 2 KB. 
8 bit, 256 color, 53 KB. 
4 bit, 16 color, 21 KB. 
24 bit, 16.7 M color, 24 KB.
การรับรู้เกี่ยวกับสีของมนุษย์
COLOR OPTIMIZED 
254 color 
64 color 
16 color 
4 color
COLOR 
Color Wheel
RGB MODEL
RGB AND CMYK COLOR 
The RGBcolor model is typically used when dealing with color viewed on a computer monitor. 
The CMYKcolor model, on the other hand, is used on print material when printing in full color. 
CMYK 
RGB 
Colors 
Cyan, Magenta, Yellow, Black 
Red, Green, Blue 
Color Model 
Reflective 
light comes from a source, hits an object, and reflects from the object into the eye. 
Non-reflective light comes straight from the light source to our eyes. 
Values 
Images are separated into various values of the four colors. 
ภาพจะแบ่งออกเป็นค่าต่างๆในสี่สี 
แต่ละสีแต่ละ (แดง, เขียวและน้าเงิน) มีค่าหรือความเข้ม, 0-255 ชุดค่าผสม ต่างๆของค่าผลิตสีที่ต่างกัน
RGB MODEL
RGB VALUE 
Code ของสี RGB จะอยู่ในรูปแบบของเลขฐาน 16 (hexadecimal-hex) โดยรวมค่าของสี Red, Green, and Blue (RGB) ตามลาดับ 
ค่า Code ของสีจะอยู่ระหว่าง0 (hex 00) ถึง 255 (hex FF). 
การแสดงค่าของสีแบบ Hex values จะเริ่มด้วยเครื่องหมาย#
ตัวอย่างค่าสี RGB ใน HTML 
color: rgb(127, 16, 80); background-color: rgb(255, 64, 2); 
color: rgb(50%, 6%, 31%); background-color: rgb(100%, 25%, 1%); 
color: #7f1050; background-color: #ff4002; 
color: #715; background-color: #f40; 
color: purple; background-color: orange; 
0 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
0 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
A 
B 
C 
D 
E 
F 
ฐาน 10 
ฐาน 16 
ฐาน 10 
ฐาน 16
HTML COLOR NAME
WEB-SAFE COLOR
MODE สีอื่นๆ 
HSB = Hue/Saturation/Brightness 
Hue 
•0 degrees(Red) 
•120 degrees (Green) 
•240 degrees (Blue) 
•360 degrees (Red) 
Saturation 
•0% (Greysor White) 
•100% (Full Colour) 
Brightness 
•0% (Black) 
•50% (Mid Grey) 
•100% (White) 
HSL = Hue/Saturation/LuminescenceHue 
•0 degrees(Red) 
•120 degrees(Green) 
•240 degrees(Blue) 
•360 degrees(Red) 
Saturation 
•0% (Greys) 
•100% (Full Colour) 
Luminescence 
•0% (Black) 
•50% (Mid Grey) 
•100% (White)
Q&A

More Related Content

What's hot

สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์Mjjeje Mint
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นSuphol Sutthiyutthasenee
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นssuser741b9d
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อสิ่งพิมพ์
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
 

Viewers also liked

ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบKeerati Santisak
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555เบญญาภา ตนกลาย
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีPitchayanida Khumwichai
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4พงศธร ภักดี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกainam29
 
สื่อดิจิทัล
 สื่อดิจิทัล สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัลanyamanee sangkasila
 
2D Graphics and Animations in Java World
2D Graphics and Animations in Java World2D Graphics and Animations in Java World
2D Graphics and Animations in Java Worldkunemata
 
สื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีสื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีDown Snru
 
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatmentGeneral principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatmentThorsang Chayovan
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 

Viewers also liked (20)

ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี 2555
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
แผนการสอน โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ม.4
 
Inwork2
Inwork2Inwork2
Inwork2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิก
 
Solid object
Solid objectSolid object
Solid object
 
Photoshop7
Photoshop7Photoshop7
Photoshop7
 
Exhibition
ExhibitionExhibition
Exhibition
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สื่อดิจิทัล
 สื่อดิจิทัล สื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัล
 
2D Graphics and Animations in Java World
2D Graphics and Animations in Java World2D Graphics and Animations in Java World
2D Graphics and Animations in Java World
 
สื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีสื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
สื่อการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatmentGeneral principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
General principle of radiotherapy and cervical cancer treatment
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 

Similar to การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)

สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกvorravan
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกPakornkrits
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกPakornkrits
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264CUPress
 
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกssuser5adb53
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมKittitud SaLad
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of artbeverza
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sornnarin Wuthifuey
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศYongyut Nintakan
 
Presentation 2 3
Presentation 2 3Presentation 2 3
Presentation 2 3KTPH2348
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
(3) บทคัดย่อไทย engแก้
(3) บทคัดย่อไทย  engแก้(3) บทคัดย่อไทย  engแก้
(3) บทคัดย่อไทย engแก้paisonmy
 
(3) บทคัดย่อไทย eng
(3) บทคัดย่อไทย  eng(3) บทคัดย่อไทย  eng
(3) บทคัดย่อไทย engpaisonmy
 

Similar to การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic) (20)

สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
Photoshop cs2
Photoshop cs2Photoshop cs2
Photoshop cs2
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
9749740330264
97497403302649749740330264
9749740330264
 
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
Digital design
Digital designDigital design
Digital design
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีมงานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
งานคอมเรื่อง กราฟฟิค ดรีม
 
Computer&creation of art
Computer&creation of artComputer&creation of art
Computer&creation of art
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Presentation 2 3
Presentation 2 3Presentation 2 3
Presentation 2 3
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
(3) บทคัดย่อไทย engแก้
(3) บทคัดย่อไทย  engแก้(3) บทคัดย่อไทย  engแก้
(3) บทคัดย่อไทย engแก้
 
(3) บทคัดย่อไทย eng
(3) บทคัดย่อไทย  eng(3) บทคัดย่อไทย  eng
(3) บทคัดย่อไทย eng
 

การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)

  • 1. GRAPHICS BASIC อาจารย์นงคราญ คาวิชัย สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ Email: it.nongkran@gmail.com วิชา ทส105การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ComputerGraphicsDesign
  • 3. ความหมายของกราฟิก •กราฟิก (Graphic) คาว่า กราฟิก มาจากคาในภาษากรีก2คา คือ Graphikosแปลว่า “การวาดเขียนและเขียนภาพ” Grapheinแปลว่า “การเขียน” กราฟิกรวมถึง งานศิลปะ การวาด การพิมพ์ เป็นรูปแบบการสื่อสาร รูปแบบหนึ่ง ที่ใช้ศิลปะมาเกี่ยวข้อง เพื่อสร้างสัญลักษณ์ ที่เข้าใจง่ายและตรงกัน ระหว่างผู้สื่อสาร กับผู้รับสาร ให้เข้าใจความหมายได้ทันที ตรงตามที่ผู้สื่อสาร ต้องการ
  • 4. ประวัติความเป็นมาของกราฟิก กราฟิก (Graphic) เริ่มมีมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นรูปภาพ ภาพเขียน ตามผนังถ้้า ใช้เครื่องมือที่เป็น ดินที่มีสี หรือกระดูกคมๆ ในยุคประวัติศาสตร์ อียิปต์เป็นต้นแบบของอารยธรรมตะวันตก มีการเล่าเรื่องราวโดยใช้ Graphic Art เขียนตามก้าแพงปิระมิด กรีกรับอารยธรรมอียิปต์มาใช้ปรับปรุงให้เข้ากับ เรขาคณิต ในสมัยกรีกจะเน้นเป็นรูปวาด และน้าไปใช้ในการเขียนต้ารา ศิลปะทางด้านนี้ได้รับความนิยมมากในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ปัจจุบันกราฟิกได้รับการพัฒนาและเจริญมากขึ้นเรื่อยๆ มีการขยายขอบเขตงานให้กว้างมากขึ้น เช่น งานโฆษณาประชาสัมพันธ์ งานการศึกษา การแสดง ธุรกิจ ฯลฯ
  • 5. ความหมายคอมพิวเตอร์กราฟิก •คอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อดาเนินการเกี่ยวกับ กราฟิก ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมการออกแบบ นาเสนอ และนากราฟิกไปใช้งาน เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมาย เกิดการเรียนรู้ การศึกษา เกิดความน่าสนใจ ประทับใจ และน่าเชื่อถือ กระตุ้นความคิด ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางความคิด
  • 6. SOME OF HISTORICAL PICTURE (1/2) First truly interactive graphics system, Sketchpad, pioneered at MIT by Ivan Sutherland for his 1963 Ph.D. thesis. Sketchpad, A Man-Machine Graphical Communication System: Sketchpad in 1963. Note the use of a CRT monitor, light pen and function- key panel.
  • 7. SOME OF HISTORICAL PICTURE (2/2) http://ei.cs.vt.edu/~history/VonNeumann.html http://www.man.ac.uk/Science_Engineering/CHSTM/nahc.htm Mark I John VonNeuman
  • 8. งานกราฟิก งานกราฟิก หมายถึง งานการวางแผนทางศิลปะและการทาหัว เรื่อง โดยรู้ขนาดสัดส่วน และหลักในการออกแบบ รวมถึงการใช้สี ประกอบเพื่อเน้นและดึงดูดความสนใจให้มากขึ้น และเป็นการให้ รายละเอียดที่เพิ่มขึ้นด้วย
  • 9. ขอบข่ายงานกราฟิก งานกราฟิกไม่ใช่เพียงแค่งานพิมพ์เท่านั้น เพราะโดยทั่วๆ ไปงานต่างๆ ก็ ได้น้างานกราฟิกไปใช้ด้วย โดยยังเน้นจุดเด่นคือ มุ่งให้ผู้ดูรับรู้ได้โดยทาง สายตาเช่น •งานประชาสัมพันธ์ (ภาพ + เนื้อหา) •งานโทรทัศน์ (Title , Slide , ภาพประกอบ) •งานจัดฉาก •งานสิ่งพิมพ์ต่าง (หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร) •งานออกแบบ (แบบบ้าน แบบอาคาร) •ฯลฯ
  • 10. คุณค่าของงานกราฟิก 1. เป็นสื่อกลางให้เกิดความเข้าใจตรงกัน 2. สามารถทาหน้าที่เป็นสื่อ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 3. ช่วยให้งานมีความน่าสนใจ 4. ช่วยให้เกิดการกระตุ้นทางความคิด และการตัดสินใจ 5. ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 6. ทาให้ผู้พบเห็นเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทั้งการกระทาและความคิด
  • 11. การออกแบบกราฟิก (GRAPHIC DESIGN) งานกราฟิกเป็นงานที่มีอิทธิพลต่อชีวิตประจาวันของคนเราเป็นอย่าง มาก ส่งที่เรามองเห็นด้วยตาจะโน้มน้าวจิตใจได้ดีกว่าการรับรู้ประเภท อื่นๆ ดังนั้นงานกราฟิกที่ดีต้องขึ้นอยู่กับการออกแบบที่ดีด้วย ตั้งแต่การ ออกแบบเบื้องต้น การลงสี การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ Graphic Designer จะใช้วิธีการทางศิลปะและหลักการออกแบบ ร่วมกันสร้างสรรค์รูปแบบต่างๆ ออกมาเพื่อ ให้เกิดศักยภาพสูงสุดใน การที่จะเป็นตัวกลางในการสื่อความหมายระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสาร
  • 12. การออกแบบกราฟิก (GRAPHIC DESIGN) วิธีการออกแบบและวิธีแก้ปัญหาการออกแบบโดยนาเอารูปภาพ ประกอบ (Illustration)ภาพถ่าย (Photography) สัญลักษณ์ (Symbol) รูปแบบ และขนาดของตัวอักษร (Typography) มา จัดวางเพื่อให้เกิดการนาเสนอข้อมูลอย่างชัดเจน เกิดผลดีต่อ กระบวนการสื่อความหมายและแสดงคุณค่าทางการออกแบบ อย่างตรงไปตรงมา
  • 13. หลักการออกแบบ ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) คือ การผนวกส่วนของความคิดลึกๆ ภายในใจประยุกต์ใช้แก้ไขปัญหา แก้ไขโจทย์และเงื่อนไขต่างๆ ที่มีอยู่ โดยมีรูปแบบค่อนข้างใหม่ ไม่ซ้้ากับสิ่งที่มีอยู่ แล้ว และมีคุณค่าในการตอบโจทย์เป้าหมาย หรือสิ่งที่เราต้องการได้เป็นอย่างดี โดยปกติ เมื่อพูดถึงความคิดสร้างสรรค์ หลายๆ คนอาจจะประสบ ปัญหา คือ คิดอะไร ท้าอะไร ไม่ต่างกับสิ่งที่เห็นอยู่ สิ่งที่มีอยู่ ทางออกของความคิดสร้างสรรค์ ก็คือ การพยายามคิดออกมานอกกรอบ ความคิดที่มีอยู่(Think out of box) แต่ไม่ใช่คิดเลยออกทะลุแล้วไม่สามารถ กลับมาตอบโจทย์ของเราได้
  • 15. ค้นหาจุดยืน 1. คนในระดับทั่วไป คนแต่ละคนมีความมีศิลปะอยู่ภายในอยู่แล้ว ใครๆ ก็สามารถ ตัดสินงาน หรือวิจารณ์งานได้ คนทุกคนอาจมองไม่เหมือนกัน แต่ก็มี แนวโน้มที่จะมองเห็นไปในทางเดียวกันมากกว่า 2. คนที่มองงานเป็น วิจารณ์ได้ เป็นคนที่ให้ความสนใจงานกราฟิกมากขึ้น มีความเข้าใจในภาพ ใน องค์ประกอบต่างๆ ที่อยู่ในภาพ สามารถคิด วิเคราะห์ และวิจารณ์งานได้
  • 16. ค้นหาจุดยืน 3. คนที่สามารถออกแบบงานกราฟิกได้ คือคนที่สามารถคิดสังเคราะห์โจทย์ แนวความคิด เข้าใจใน องค์ประกอบพื้นฐาน และองค์ประกอบสี และควบคุมองค์ประกอบใน ภาพได้ สามารถจัดองค์ประกอบภายในภาพได้อย่างลงตัว 4. คนที่ออกแบบงานกราฟิกได้ดี คือคนระดับที่ 3ที่ได้รับการฝึกฝน เรียนรู้ และหาความรู้ เพิ่มเติมอย่างสม่้าเสมอ เพราะว่างานกราฟิกมีการเปลี่ยนตามยุคตาม สมัยเสมอ
  • 17. ค้นหาจุดยืน เราจะเป็นจุดไหน??? ลองพิจารณาให้ดีๆ ถ้าต้องการไปสู่ระดับบนสุด ต้องมีความ พยายามและฝึกฝนดีๆ โดยทั่วไปงานทางด้านออกแบบกราฟิก ประกอบด้วย 2ศาสตร์คือ ศิลปะ + การออกแบบ ศิลปะ คือ ศาสตร์แห่งการแสดงออกจากจินตนาการและอารมณ์ เพื่อ ความสุขทางใจ การออกแบบคือ ศาสตร์แห่งความคิด การแก้ไขปัญหาที่มีอยู่ เพื่อสนองต่อ จุดมุ่งหมาย และนากลับมาใช้งานได้อย่างพึงพอใจ
  • 18. หลักการออกแบบ 1. การตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอย (Benefit) 2. ความสวยงามพึงพอใจ (Aesthetic) หรือ สุนทรียะ 3. การสื่อความหมาย (Meaning) “หนึ่งต้องเวิร์ก สองต้องสวย สามต้องสื่อ”
  • 19. หลักการออกแบบ 1. การตอบสนองต่อประโยชน์ใช้สอย เป็นข้อที่สาคัญในการออกแบบทั้งหมด ประโยชน์ใช้สอยมี อิทธิพลกับงานที่เราออกแบบ เช่น งานออกแบบหนังสือ ต้องทาให้ ตัวหนังสือชัดเจน อ่านง่าย งานออกแบบเว็บไซต์ต้องไม่โหลดนานหรือ ว่างานมัลติมีเดีย ต้องมีปุ่มสาหรับ กดไปยังส่วนต่างๆ ของเนื้อหานั้น
  • 20. หลักการออกแบบ 2. ความสวยงามพึงพอใจ (Aesthetic) ในงานที่มีประโยชน์ใช้สอยดีพอๆ กัน ความงาม จะเป็นเกณฑ์ ตัดสินคุณค่าของงานโดยเฉพาะงานออกแบบกราฟิก ซึ่งถือเป็นงาน ออกแบบที่มีประโยชน์ใช้สอยน้อยกว่างานออกแบบด้านอื่น อย่างงาน ออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบสถาปัตยกรรมต่างๆ ความสวยงามจึง เป็นเรื่องสาคัญและมีอิทธิพลในการออกแบบกราฟิกอย่างมาก
  • 21. หลักการออกแบบ 3. การสื่อความหมาย (Meaning) งานศิลปะนั้นจะมีคุณค่าก็ต่อเมื่อมันสื่อความหมายออกมา ได้ “ งานกราฟิก ก็คือ งานศิลปะเช่นกัน ” การสื่อความหมายจึงเป็น สิ่งที่นักออกแบบขาดเสียไม่ได้ในการออกแบบ ต่อให้งานที่ได้ สวยงามอย่างไรแต่ไม่สามารถตอบโจทย์ของงานออกแบบหรือสื่อ สิ่งที่ผู้ออกแบบคิดเอาไว้ได้ งานกราฟิกนั้นก็จะมีคุณค่าลดน้อยลง ไป
  • 23. ความหมายของเทคโนโลยีสื่อประสม "มัลติมีเดีย (Multimedia)หรือ สื่อหลายแบบ" •เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ สามารถ ผสมผสานกันระหว่าง ข้อความ ข้อมูลตัวเลข ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ไว้ด้วยกัน ตลอดจน การนาเอาระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ (Interactive)มาผสมผสานเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ มีผู้ให้นิยามศัพท์ไว้ หลายท่าน ดังนี้
  • 24. ความหมายของเทคโนโลยีสื่อประสม Robert Aston, Joyce Schwarz •การจัดการควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ โดยการผสมผสาน ระหว่าง ข้อความ (text) กราฟิก (graphics) เสียง (audio) วีดีโอ (video) และ ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ Joyce Schwarz
  • 25. ความหมายของเทคโนโลยีสื่อประสม TayVaughan Multimedia คือการผสมผสานระหว่าง ข้อความ กราฟิก ศิลปะ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และ วีดีโอ ซึ่งถูกจัดการโดย คอมพิวเตอร์ซึ่งอาจจะเป็นมัลติมีเดียแบบที่มีการตอบโต้กัน ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ (interactive multimedia)หรือ การรวมสื่อหลาย ๆ ตัวเข้าด้วยกัน (hypermedia) Nicholas Negroponte มัลติมีเดียที่แท้จริงคือ ข้อมูลที่เป็นดิจิตอล ที่มีการโต้ตอบกัน และ สามารถดูได้จากหลาย ๆ วิธีโดยผู้ใช้นอกจากนั้นใน มัลติมีเดีย ไม่มีการ trade-offระหว่าง depthและ breadthผู้ใช้สามารถดูหัวข้อต่าง ๆ ได้อย่างเป็นอิสระ
  • 26. ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม เนื่องจากมัลติมีเดีย เป็นเทคโนโลยีของสื่อหลากหลายสื่อ ซึ่งสามารถแบ่งได้ ดังนี้ •เทคโนโลยีเกี่ยวกับเสียง (Audio Technology)ซึ่งรวมทั้งเสียงพูด และเสียงดนตรี ตั้งแต่ การประมวลผล การแสดงผล การจัดการต่างๆ เช่น การบีบอัดสัญญาณ การสื่อสาร และการ ส่งสัญญาณ •เทคโนโลยีเกี่ยวกับวีดิโอ (Video Technology)อันได้แก่ การจัดเก็บ การประมวลผล การปรับแต่ง การใช้งาน การเรียกหา สืบค้น การส่งกระจาย มาตรฐานการบีบอัดสัญญาณ การเข้าและถอดรหัส การส่งข้อมูล การท้างานร่วมกับสื่ออื่นๆ •เทคโนโลยีรูปภาพ (Image Technology)เป็นการพัฒนา และประยุกต์ใช้ภาพ การ จัดการฟอร์แมต คลังภาพ การค้นหา การสร้าง และตกแต่งภาพ •เทคโนโลยีข้อความ (Text Technology)เกี่ยวกับข้อความหรือ ตัวอักษร ทั้งการใช้ และ ลักษณะรูปแบบของ ข้อความแบบต่างๆ
  • 27. ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม (ต่อ) •เทคโนโลยีภาพเคลื่อนไหว และภาพสามมิติ (Animation & 3D Technology)เป็นเทคโนโลยีเกี่ยวกับการแสดงผล ด้านภาพเคลื่อนไหว ทั้งแบบ 2มิติ และ 3มิติ การสร้างภาพเสมือนจริง (VR -Visual Reality) การสร้าง ตกแต่ง ประมวลผล การใช้งาน •เทคโนโลยีสาหรับการพัฒนาระบบ (Authoring System Technology) คือ เทคโนโลยีที่ ได้พัฒนา เพื่อสร้างเครื่องมือส้าหรับ งานพัฒนามัลติมีเดีย ในรูปของ ซอฟต์แวร์ช่วย ในการน้า ข้อมูล เนื้อหา (Content) เข้าไปเก็บตามสื่อรูปแบบต่างๆ ที่วางไว้ เพื่อน้าเสนอ เช่น การใช้ เครื่องมือต่างๆ หรือการสร้างเครื่องมือใหม่ ๆ •เทคโนโลยีกับระบบการศึกษาเป็นการศึกษาเพื่อน้าเอา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้ กับ ระบบการศึกษา ในรูปของ CAI -Computer Aided Instruction, CBT-Computer Based Training ตลอดจนงานประชาสัมพันธ์ โฆษณา สร้างภาพยนตร์
  • 28. ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม (ต่อ) •เทคโนโลยีการผลิต (Publishing Technology)เป็นการน้าเอามัลติมีเดีย มา ใช้ด้านงานพิมพ์ เพื่อเพิ่มชีวิตชีวาให้กับงานพิมพ์ มีรูปแบบที่โดดเด่น และ น้าเสนอ หรือพิมพ์ลงสื่อได้หลากรูปแบบ เช่น งาน DTP -Desktop Publishing, CD-ROM Title & Publishing •เทคโนโลยีการสื่อสารและการสนทนา (Broadcasting & Conferencing) เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูล เผยแพร่สัญญาณ เช่น Conference, Multicasting Backbone เป็นต้น •เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล (Storage Technology)เนื่องด้วยข้อมูลด้าน มัลติมีเดีย มักจะมีขนาดโต ท้าให้ต้องเกี่ยวข้องกับสื่อบันทึกข้อมูลอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ทั้งเกี่ยวกับรูปแบบของสื่อ รูปแบบการบีบอัดข้อมูล รูปแบบการบันทึก ข้อมูล
  • 29. ประเภทของเทคโนโลยีสื่อประสม (ต่อ) •เทคโนโลยี WWW & HyperTextโดยจะช่วยให้เกิดการเผยแพร่สื่อมัลติมีเดียใน รูปแบบที่นิยมมากที่สุด และเร็วที่สุด ผ่านระบบ WWW และมีระบบโต้ตอบด้วย เทคโนโลยี HyperText & HyperMedia •เทคโนโลยีคลังข้อมูล (Media Archives)ซึ่งเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลปริมาณ มากๆ และการเรียกค้นภายหลัง เช่น Photo & Image Server, AVI archives
  • 30. บทบาทของสื่อมัลติมีเดีย ประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดีย ที่สามารนาเสนอเนื้อหาได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดีทัศน์ และอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ประจวบเหมาะสมระบบติดต่อผู้ใช้ (GUI: Graphics User Interface) ที่ทาให้ผู้ใช้มีความสะดวกในการใช้งาน สร้างสรรค์ งาน ทาให้บทบาทของสื่อฯ มีมากขึ้นตามลาดับ มีการนาสื่อมัลติมีเดีย มาประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ มากมาย เช่น การเรียนการสอน การ ถ่ายทอดความรู้ การนาเสนอข้อมูล การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ปัจจุบันเทคโนโลยีเครือข่ายและการสื่อสาร ยิ่งส่งเสริมให้การประยุกต์ใช้สื่อมัลติมีเดียได้รับการ พัฒนาอย่างกว้าง สามารถเผยแพร่ข้อมูลได้กว้างไกล และรวดเร็ว มีผู้คนตอบสนองการใช้ สื่อมัลติมีเดียมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น สื่อการเรียนการสอนระบบมัลติมีเดียผ่านเว็บ, ระบบประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พร้อม ๆ กับเทคโนโลยีที่ก้าวเกินกว่าจะคาดได้ถึง หรือไม่น่าเชื่อว่าจะ เกิดขึ้นได้
  • 32. GRAPHICS APPLICATIONS Entertainment: Cinema(บันเทิง : ภาพยนตร์) Square: Final Fantasy
  • 33. GRAPHICS APPLICATIONS Entertainment: Cinema Pixar: Geri’s Game Universal: Jurassic Park A bug’s Life Antz
  • 34. GRAPHICS APPLICATIONS Medical Visualization (ภาพทางการแพทย์) MIT: Image-Guided Surgery Project The Visible Human Project http://www.ercim.org/publication/Ercim_News/enw44/koenig.html
  • 35. GRAPHICS APPLICATIONS Everyday Use •Microsoft’s Whistler OS will use graphics seriously •Graphics visualizations and debuggers •Visualize complex software systems
  • 36. EVERYDAY USE Window system and large-screen interaction metaphors (François Guimbretière)
  • 37. GRAPHICS APPLICATIONS Scientific Visualization(การแสดงทางวิทยาศาสตร์)
  • 38. SCIENTIFIC VISUALIZATION Airflow around a Harrier Jet (NASA Ames)
  • 39. GRAPHICS APPLICATIONS Computer Aided Design (CAD) (คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ)
  • 40. GRAPHICS APPLICATIONS Training Designing Effective Step-By-Step Assembly Instructions (ManeeshAgrawalaet. al)
  • 41. GRAPHICS APPLICATIONS Entertainment: Games GT Racer 3 Polyphony Digital: Gran Turismo3, A Spec
  • 42. 42 GRAPHICS APPLICATIONS Entertainment: Games Quake III Aki Ross : Final Fantasy Star Wars Jedi Outcast: Jedi Knight II
  • 43. การพัฒนาของเทคโนโลยีสื่อประสม •Audio Technology •Video •Image •Text •2D/3D •Authoring, Development Environments •Education •Publishing •Broadcasting •Conferencing •Storage Technology •Hypertext, Hypermedia WWW •Media Archives •Virtual Reality •Etc.
  • 44. AUDIO TECHNOLOGY การพัฒนาระบบการจัดเก็บ การแสดงผล การประมวลผล ตลอดจน การสร้างมาตรฐานการบีบอัด การส่งสายสัญญาณแบบต่าง ๆ •Audio file format •MIDI Technology •Music Synthesizer •Speech and True Speech •Broadcast System •Real Audio, Audio live
  • 45. VIDEO TECHNOLOGY พัฒนาการเน้นด้านการประมวลผลการจัดเก็บ การส่ง การกระจายข้อมูลและ มาตรฐานการใช้งานสัญญาณวิดีโอ •Video file format •DVD •MPEG •CODEC Technology •Multimedia Video Editing and Processing
  • 46. IMAGE TECHNOLOGY เป็นเทคโนโลยีว่าด้วยการพัฒนาการประยุกต์ใช้ภาพ การประมวลผลภาพ การ บีบอัด การจัดเก็บภาพ และ การค้นหาภาพ •Digital Camera •Scanning Technology •JPEG •GIF •PNG (Portable Network Graphic)
  • 47. TEXT เทคโนโลยีการประมวลผล การแสดงผล การจัดเก็บข้อความ ข่าวสารต่าง ๆ •Fonts •Text Processing •Text Retrieval •Text Storage and Archive
  • 48. 2D/3D GRAPHIC, ANIMATION, VR เทคโนโลยีการแสดงผลภาพเคลื่อนไหวแบบสามมิติ การทาให้เหมือนจริง การประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น งานฝึกอบรม การจาลองระบบเป็นต้น •Computer Vision •3D Engines •Animation •Game •VRML(Virtual Reality Modeling Language) •3D Graphics file format •Computer Graphic Technology
  • 49. AUTHORING, DEVELOPMENT ENVIRONMENTS เป็นเทคโนโลยีช่วยในการสร้างระบบมัลติมีเดีย ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ช่วยในการ นาเอาเนื้อหาต่าง ๆ เข้าไปเก็บไว้ตามรูปแบบที่วางไว้ เพื่อนาเสนอในโอกาส ต่อไป •Macromedia Authorware •Script X •Director •Tool Book
  • 50. EDUCATION VS. MULTIMEDIA การประยุกต์ใช้มัลติมีเดียในการศึกษา ซึ่งรวมถึงการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ •CAI (Computer Assisted Instruction ) •CBT (Computer Base Training) •งานประชาสัมพันธ์ โฆษณา •การสร้างภาพยนตร์
  • 51. PUBLISHING TECHNOLOGY งานพิมพ์ในปัจจุบัน ถือว่าเป็นการสร้างงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งงานพิมพ์ต้องการ ความสวยงาม มีชีวิตชีวา แล รูปแบบที่โดดเด่น สามารถพิมพ์บนสื่อต่าง ๆ ได้ •Desktop Publishing •CD-RomPublishing •Photo CD •Music CD •DVD
  • 52. BROADCASTING AND CONFERENCING เป็นการกระจายข่าวสาร หรือข้อมูลต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันถือ ว่าเป็น มัลติมีเดียประเภทหนึ่ง •Video Conferencing •Multicast Backbone •PointCast •Real Audio •Video live •Satellite TV
  • 53. STORAGE TECHNOLOGY การจัดเก็บข้อมูลมัลติมีเดีย ในสื่อตัวกลางต่าง ๆ โดยเฉพาะเทคนิคการ จัดเก็บข้อมูลจานวนมาก การเรียกค้น และ การแสดงผล •CD Rom •DVD •CDI •Photo CD
  • 54. HYPERTEXT, HYPERMEDIA, WWW การนาเสนอข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน โดย เป็นแบบมัลติมีเดียที่เรียกดูในระยะทางไกลได้ผลดี •HTML •WWW •HTTP •SGML •Web Object •Interactive Web •JAVA
  • 55. MEDIA ARCHIVES เป็นการเรียกข้อมูลข่าวสารจานวนมาก ๆ เพื่อการเรียกใช้ภายหลัง •Acoustic Music Server •Photo and Image Server •Art •AVI Archive
  • 56. VIRTUAL REALITY Virtual Reality เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ทาให้การสร้างContentน่าสนใจ มากขึ้น โดยภาพที่ได้จะมีลักษณะสมจริง และมีลักษณะเป็น 3 Dimension สิ่งต่างๆ ที่สร้างขึ้นในลักษณะของVirtual Realityไม่ว่าจะเป็นภาพและ เสียงจะทาในลักษณะของการเลียนแบบของจริงเพื่อให้ User เกิดความรู้สึก เหมือนจริง
  • 57. ภาพกราฟิก ภาพกราฟิกเป็นสื่อในการนาเสนอที่ดี เนื่องจากมีสีสัน มีรูปแบบที่น่าสนใจ สามารถสื่อความหมายได้กว้างกว่าข้อความ ประเภทของภาพกราฟิก -บิตแมพกราฟิก (Bitmap Graphic) -เวกเตอร์กราฟิก (Vector Graphic)
  • 58. บิตแมพกราฟิก เป็นภาพที่มีการเก็บข้อมูลแบบพิกเซล หรือจุดเล็ก ๆ ที่แสดงค่าสี ดังนั้นภาพหนึ่ง ๆ จึงเกิดจากจุดเล็ก ๆ หลาย ๆ จุดประกอบกัน ทาให้รูปภาพแต่ละภาพใช้หน่วยความจามากในการ จัดเก็บ ขนาดของไฟล์ข้อมูลจะมีขนาดใหญ่ เช่น .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF เมื่อทาการขยายภาพบิตแมพจะทาให้ภาพนั้นไม่ คมชัด
  • 59. เวกเตอร์กราฟิก ภาพเวกเตอร์เป็นภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นลักษณะต่างๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเส้นนั้นๆ ซึ่งสร้างจากการคานวณทาง คณิตศาสตร์ เช่น .wmfใน clipart ของ MS Office สามารถสร้างโดย โปรแกรม Adobe Illustrator และ Macromedia Freehand เมื่อขยายภาพจะยังคมชัดอยู่ basic shapes: square, diamond, triangle, circle... lines, polygons, polylines and paths. simple style: color, stroke width and opacity. transformations: rotation, translation, scaling...
  • 60. ภาพเปรียบเทียบค่าคุณสมบัติ 1 bit, 2 color, 2 KB. 8 bit, 256 color, 53 KB. 4 bit, 16 color, 21 KB. 24 bit, 16.7 M color, 24 KB.
  • 62. COLOR OPTIMIZED 254 color 64 color 16 color 4 color
  • 65. RGB AND CMYK COLOR The RGBcolor model is typically used when dealing with color viewed on a computer monitor. The CMYKcolor model, on the other hand, is used on print material when printing in full color. CMYK RGB Colors Cyan, Magenta, Yellow, Black Red, Green, Blue Color Model Reflective light comes from a source, hits an object, and reflects from the object into the eye. Non-reflective light comes straight from the light source to our eyes. Values Images are separated into various values of the four colors. ภาพจะแบ่งออกเป็นค่าต่างๆในสี่สี แต่ละสีแต่ละ (แดง, เขียวและน้าเงิน) มีค่าหรือความเข้ม, 0-255 ชุดค่าผสม ต่างๆของค่าผลิตสีที่ต่างกัน
  • 67. RGB VALUE Code ของสี RGB จะอยู่ในรูปแบบของเลขฐาน 16 (hexadecimal-hex) โดยรวมค่าของสี Red, Green, and Blue (RGB) ตามลาดับ ค่า Code ของสีจะอยู่ระหว่าง0 (hex 00) ถึง 255 (hex FF). การแสดงค่าของสีแบบ Hex values จะเริ่มด้วยเครื่องหมาย#
  • 68. ตัวอย่างค่าสี RGB ใน HTML color: rgb(127, 16, 80); background-color: rgb(255, 64, 2); color: rgb(50%, 6%, 31%); background-color: rgb(100%, 25%, 1%); color: #7f1050; background-color: #ff4002; color: #715; background-color: #f40; color: purple; background-color: orange; 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 A B C D E F ฐาน 10 ฐาน 16 ฐาน 10 ฐาน 16
  • 71. MODE สีอื่นๆ HSB = Hue/Saturation/Brightness Hue •0 degrees(Red) •120 degrees (Green) •240 degrees (Blue) •360 degrees (Red) Saturation •0% (Greysor White) •100% (Full Colour) Brightness •0% (Black) •50% (Mid Grey) •100% (White) HSL = Hue/Saturation/LuminescenceHue •0 degrees(Red) •120 degrees(Green) •240 degrees(Blue) •360 degrees(Red) Saturation •0% (Greys) •100% (Full Colour) Luminescence •0% (Black) •50% (Mid Grey) •100% (White)
  • 72. Q&A