SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
สัมมนาวิชาการหัวข้อ
“การวิเคราะห์ศักยภาพ
การแข่งขันของธุรกิจกลุ่มสื่อสาร”
รูปแบบการให้บริการของโทรศัพท์มือถือ
แบ่งได้เป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ
1. การพูดคุยระหว่างกัน หรือ Voice Service
2. การบริการอื่นๆ ที่เรียกว่า Non- Voice Service
จํานวนผู้ใช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3 บริษัท
ในปี พ.ศ.2554
กราฟแสดงจํานวนการใช้อินเตอร์เน็ตของประเทศไทย
ตั้งแต่ปี ค.ศ.1991-2009
ส่วนแบ่งตลาดเครือข่ายสัญญาณโทรศัพท์3 บริษัท
ในปี พ.ศ.2554
ยอดผู้ใช้บริการโทรศัพท์มือถือ
ผู้ใช้บริการโทรศัพท์มือถือ โดยนับเฉพาะผู้ให้บริการหลัก
3 รายใหญ่ของประเทศไทย ได้แก่ AIS, DTAC และ TRUE พบว่า
ในไตรมาสสุดท้ายของปีพ.ศ.2554 มียอดผู้ใช้งานรวมทั้งสิ้น 75.35
ล้านราย
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จํากัด (มหาชน)
• จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อ 24 เมษายน พ.ศ. 2529
• บริษัทในเครือ อินทัช คอร์ปอเรชั่น ทําสัญญากับองค์การ โทรศัพท์แห่ง
ประเทศไทย ในปี พ.ศ.2533
• มีการให้ดําเนินการโครงการบริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ 900
MHz เป็นระยะเวลา 20 ปี จนถึง พ.ศ. 2553 ต่อมาได้ขยายเวลาร่วม
สัญญาเพิ่มอีก 5 ปี
• บริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด (ดีพีซี) ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่บนคลื่น
ความถี่ในย่าน 1800 เมกะเฮิรตซ์
• ให้ความสําคัญกับช่องทางจัดจําหน่ายที่หลากหลายและ ครอบคลุม
พื้นที่ทั่วประเทศ
• การเติบโตด้านบริการข้อมูล และความร่วมมือกับหลากหลายพันธมิตร
ทางการค้า
• เน้นการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าเป็นหลัก
• เอไอเอส คอลเซ็นเตอร์ ยังมีบทบาทสําคัญในการช่วยแนะนํากิจกรรม
การตลาด และแนะนําสินค้าและบริการด้วย
• http://www.ais.co.th
วิสัยทัศน์
เอไอเอส เป็นผู้นําการสร้างสรรค์รูปแบบตลาดการสื่อสาร
โทรคมนาคมในประเทศไทย ด้วยการเข้าถึงนวัตกรรมใหม่ๆ การ
มอบประสบการณ์ดีๆให้กับลูกค้า คุณภาพเครือข่าย และ
วัฒนธรรมการทํางาน
พันธกิจ
1) มุ่งมั่นที่จะสรรหาบริการที่ดี รวมทั้งพัฒนาคุณภาพเครือข่าย
อย่างต่อเนื่อง
2) มุ่งมั่นใส่ใจในบริการ เพื่อมอบประสบการณ์ด้านการสื่อสาร
ที่ดีให้แก่ผู้ใช้บริการ
3) มุ่งมั่นที่จะส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและ
ร่วมกันสร้างวัฒนธรรมในการทํางานที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพ
สูงสุดแก่องค์กร
4) ดูแลใส่ใจผู้ถือหุ้น และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทให้
ได้รับผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า ตลอดจนการใส่ใจดูแลสังคม
กลยุทธ์การตลาด เอไอเอส
• กลยุทธ์ในระดับองค์กร เน้นกลยุทธ์เติบโต วิเคราะห์ถึงจุดแข็งและ
จุดอ่อนในองค์กร เพราะมองว่าจากโอกาสในการเติบโตของธุรกิจ
โทรคมนาคมไร้สายยังมีอีกมาก
• กลยุทธ์ในระดับธุรกิจ มีแนวคิดที่จะพัฒนาธุรกิจในระยะยาวให้เป็นผู้ให้
บริการโทรคมนาคมแบบครบวงจร ครอบคลุมบริการในรูปแบบต่างๆที่
หลากหลาย
• กลยุทธ์บริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) ของเอไอเอส เน้นการรักษาฐาน
ลูกค้าเดิมให้อยู่กับบริษัทตลอดไป และมองลูกค้าของเอไอเอสทุกคนเป็น
ศูนย์กลาง
• เน้นคุณภาพในการดูแลลูกค้า (Retention)
มีการเสนอโปรโมชั่นที่ตรงกับพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้า
เพื่อเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้กับลูกค้า
• เน้นความจงรักภักดีในตราสินค้า (Loyalty)
ให้สิทธิพิเศษ ส่วนลดร้านค้าหรือบริการในทุกๆด้าน เพื่อให้
ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุดและยึดติดกับแบรนด์การดูแลลูกค้า
ของเอไอเอส แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มลูกค้า Serenade, High Value
และ Classic
กลยุทธ์การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
CRM คือ กระบวนการจัดการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า เช่น การ
เก็บประวัติการให้บริการลูกค้าของแผนกดูแลลูกค้า โดยการบันทึกความ
คิดเห็นของลูกค้า หรือข้อมูลที่ลูกค้าต้องการเพิ่มเติม
เป้ าหมายหลักของ CRM คือ
- การหาลูกค้าใหม่
- การรักษาลูกค้าเก่าที่ดีไว้
- เติบโตไปพร้อมกับลูกค้าเก่าที่มีความสัมพันธ์ที่ดี
บริษัท โทเทิ่ล แอ็ดเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน)
• ก่อตั้งเมื่อ เดือนสิงหาคม พ.ศ.2532 โดยกลุ่มเบญจรงคกุล
• ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบความถี่ 800 และ 1800 MHz โดย
ได้รับสัมปทานจากบริษัท กสท.โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เป็นเวลา
27 ปี
• ภายหลังเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี40 ตระกูลเบญจรงคกุล ที่ถือว่าเป็นผู้ถือ
หุ้นรายใหญ่ ได้เริ่มขายหุ้นบางส่วนให้กับเทเลนอร์ และมีการเปลี่ยนชื่อ
ทางการค้าจาก "แทค" (TAC) เป็น "ดีแทค" (DTAC)
• http://www.dtac.co.th
จํานวนผู้ถือหุ้นของบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) หรือดีแทค
• วิสัยทัศน์
ดีแทค จะเป็นบริษัทสื่อสารโทรคมนาคมที่ประชาชนเจาะจง
เลือกใช้บริการทุกเมื่อที่ต้องการสื่อสารถึงกันอย่างมีประสิทธิภาพทั้งใน
การดําเนินธุรกิจและในชีวิตประจําวัน
• พันธกิจ
ดีแทค จะเป็นบริษัทสื่อสารโทรคมนาคมชั้นนําระดับโลก ที่
1) เข้าถึงความต้องการของผู้บริโภค และนําเสนอนวัตกรรมใหม่ๆ
รวมถึง การบริการที่ดีที่สุด เพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้อย่าง
ฉับไว
2) สร้างบรรยากาศการทํางานที่เปิดโอกาสเต็มที่ให้พนักงานได้แสดง
ความสามารถ รวมถึงให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับผลการปฏิบัติงาน
3) สร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์ทางการตลาด ดีแทค
หลังจากที่เปลี่ยนโครงข่ายทั้งหมดเป็นระบบใหม่ ดีแทคได้วาง
กลยุทธ์ 4 ด้าน คือ
1. เป็นผู้นําการให้บริการการสื่อสารด้วยเสียง (Voice)
2. ผลักดันให้ลูกค้าระบบพรีเพด ใช้งานดาต้าเพิ่มขึ้น
3. บริการคงสิทธิเลขหมาย (MNP)
4. สร้างวัฒนธรรมการใช้งานสมาร์ทโฟนให้มากขึ้น
• ในปี พ.ศ.2555 กลยุทธ์การตลาดหลักของดีแทค มีแนวคิดการบริการแบบ
“ลูกค้าคือ ศูนย์กลาง (Customer Centricity)” เพื่อสร้างความพึงพอใจ
สูงสุดและประสบการณ์ดีๆ ให้ลูกค้าจดจําและพูดถึง
• การพัฒนาและนําเสนอผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ นั้นจะดําเนินภายใต้
แคมเปญ “Life Network เครือข่ายเพื่อชีวิตที่ดีกว่า” มุ่งมั่นยกระดับชีวิต
ผู้บริโภค
• นอกจากนี้ ดีแทค สร้างรากฐานการทํา CSR โดยยึดรูปแบบของการทํา
ความดีใน 3 แนวทาง คือ
- ทําดีด้วยเทคโนโลยี
- ทําดีด้วยความรู้
- ทําดีด้วยใจ
บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)
• ก่อตั้งขึ้นเมื่อ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2533 ในฐานะผู้ให้บริการ
โทรศัพท์พื้นฐานภายใต้สัญญาร่วมลงทุนกับบริษัท ทีโอที จํากัด
(มหาชน) จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯในชื่อ บริษัท เทเลคอม
เอเชีย คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2536
• บริษัทได้เข้าถือหุ้นในบริษัท กรุงเทพ อินเตอร์เทเลเทค จํากัด
(มหาชน) หรือ “BITCO” ในอัตราร้อยละ 41.1 ถือเป็นการเข้าสู่
ธุรกิจ
• โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม พ.ศ.2545 และ
ได้เปิดให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไร้สายหรือบริการ
• ปัจจุบัน บริษัท ทรูมูฟ มี 2 เครือข่าย คือ ทรูมูฟ และทรูมูฟ-เอช ซึ่งเป็น
บริษัทลูก โดยเครือข่ายทรูมูฟ ให้บริการโทรศัพท์ระบบ GSM ความถี่
1800 MHz ในขณะนี้เครือข่ายทรูมูฟไม่รับลูกค้าประเภทจดทะเบียน หรือ
รายเดือนเพิ่มแล้ว จะให้ลูกค้าทรูมูฟย้ายไปเป็นลูกค้าของทรูมูฟ-เอชแทน
• บริษัท ทรูมูฟ เอช (True Move-H) หรือบริษัท เรียลมูฟ จํากัด (Real Move
Co.,Ltd) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2554 และได้เข้าซื้อเครือข่ายฮัทซ์ ของบริษัท ฮัท
จิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จํากัด
• http://www.truemove.com
• วิสัยทัศน์
การเป็นผู้ให้บริการด้านการสื่อสารครบวงจรและมุ่งตอบสนอง
ลูกค้าเป็นหลัก อีกทั้งยังเป็นผู้ให้บริการหนึ่งเดียวของประเทศที่สามารถ
ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน ระบบสื่อสารไร้สายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง
ผลิตภัณฑ์และบริการด้านเนื้อหาต่างๆ อย่างหลากหลาย
• พันธกิจ
มุ่งมั่นนําความรู้ ข่าวสารและความบันเทิงให้แก่ประชาชนและ
เยาวชน พร้อมๆกับการสร้างคุณค่าความเป็น “ทรู” ซึ่งประกอบด้วย
- ความเชื่อถือได้
- สร้างสรรค์
- เอาใจใส่
- กล้าคิดกล้าทํา
กลยุทธ์ทางการตลาดบริษัททรู
• ทรูมูฟ ใช้ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ เป็นการผสมผสานโครงข่าย
บริการ และคอนเทนต์ต่างๆภายในกลุ่ม
• การเปิดตัวโปรโมชั่นใหม่ของ ทรูไลฟ์พลัส
• การเปิดให้บริการทรูมูฟ เอช อย่างเป็นทางการ ยังเป็นปัจจัยที่
ส่งผลให้กลุ่มทรูโมบาย ซึ่งประกอบด้วย ทรูมูฟ เอช, ทรูมูฟ และ
ฮัทช์ มีความแข็งแกร่งเพิ่มขึ้น
• ทรู ได้มีส่วนในการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาทุกข์ให้กับ
ลูกค้า ประชาชนผู้ประสบภัยและพนักงานในบริษัท
การวิเคราะห์
Five Force Model
ทฤษฎีการวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน
อุปสรรคของผู้แข่งขันรายใหม่
• การผูกพันในตรายี่ห้อ (Brand Loyalty)
ปัจจุบันนี้ อุตสาหกรรมเครือข่ายสัญญาณโทรศัพท์มือถือเติบโตอย่าง
ต่อเนื่อง แต่ละบริษัทต่างใช้กลยุทธ์การตลาด เพื่อเพิ่มยอดการใช้บริการและ
รักษาฐานลูกค้า ผู้ใช้บริการมีความผูกพันในเครือข่ายเดิม จึงไม่เห็นความ
จําเป็นในการเปลี่ยนเครือข่ายใหม่
• เงินลงทุน (Capital Requirements)
ธุรกิจใหม่ที่จะเข้ามาในอุตสาหกรรมจําเป็นต้องใช้เงินทุนสูง เพราะต้อง
มีการลงทุนทั้งด้านสัมปทานและโครงข่ายดาวเทียมสื่อสาร ดังนั้น ธุรกิจใหม่
จะเสียเปรียบธุรกิจเดิมในเรื่องเงินทุน ทําให้เป็นอุปสรรคในการเข้าตลาด
ทฤษฎีการวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน
อํานาจการต่อรองของผู้ขาย
กรณีนี้ผู้ขายหรือ Suppliers หมายถึง ผู้ให้สัมปทานโครงข่าย
สัญญาณมือถือ ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรทัศน์คมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ถือเป็น
ผู้ผูกขาดรายเดียวที่ให้สัมปทานแก่ผู้ให้บริการเครือข่ายสัญญาณมือถือ
ทั้ง AIS, DTAC และ TRUE ดังนั้นจึงมีอํานาจการต่อรองกับผู้ให้บริการ
เหล่านี้ค่อนข้างสูง
ทฤษฎีการวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน
อํานาจการต่อรองของกลุ่มผู้ซื้อ
• ปริมาณการใช้บริการสูง
เนื่องจากในปัจจุบัน มีผู้ใช้บริการโทรศัพท์มือถือและสมาร์ทโฟน
เป็นจํานวนมาก ทําให้ AIS, DTAC และ TRUE แข่งขันกันออก
โปรโมชั่นอย่างหลากหลาย
• ข้อมูลต่างๆที่ลูกค้าได้รับเกี่ยวกับสินค้าสูง
กลุ่มผู้บริโภคสามารถรับข้อมูลเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ ผ่านทางสื่อ
ต่างๆได้ค่อนข้างหลากหลาย และสมบูรณ์แบบ (Perfect Information)
ทฤษฎีการวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน
แรงผลักดันจากสินค้าอื่นๆที่ใช้ทดแทนได้
• ระดับการทดแทนของสินค้าทดแทน
อุตสาหกรรมการสื่อสารโทรคมนาคมผ่านเครือข่ายสัญญาณ
โทรศัพท์มือถือ มีระดับการทดแทนของสินค้าทดแทนตํ่า
• ต้นทุนในการเปลี่ยนแปลงไปใช้สินค้าทดแทน
การใช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ เป็นบริการที่ลูกค้า
กลุ่มเป้าหมายมีความถี่สูงในการใช้บริการ จึงทําให้ลูกค้าเสาะหาข้อมูล
เพื่อประกอบการตัดสินใจใช้บริการไม่มาก ดังนั้น ผู้ใช้บริการจึงมีต้นทุน
ตํ่าในการเปลี่ยนแปลงเครือข่ายผู้ให้บริการ
ทฤษฎีการวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน
ความรุนแรงของการแข่งขัน
• จํานวนคู่แข่ง
เนื่องจากอุตสาหกรรมการสื่อสารผ่านเครือข่ายสัญญาณโทรศัพท์มือถือ
มีผู้ให้บริการหลักเพียง 3 ราย คือ AIS, DTAC และ TRUE ทําให้การแข่งขัน
ในอุตสาหกรรมนี้สูง
• ความแตกต่างของสินค้า
การให้บริการในอุตสาหกรรมการสื่อสารผ่านเครือข่ายสัญญาณ
โทรศัพท์มือถือ ไม่มีความแตกต่างกัน เพราะทุกเครือข่ายจะให้ บริการด้าน
การสื่อสารผ่านเสียง (Voice) และ การสื่อสารที่ไม่ใช่เสียง (Non-Voice)
แต่จะมีแข่งขันกันเรื่องโปรโมชั่นและการบริการ
การวิเคราะห์
กลยุทธ์ทางการตลาด 4P
• Product (ผลิตภัณฑ์) หมายถึง สิ่งที่เสนอขายโดยธุรกิจ เพื่อสนองความ
ต้องการของลูกค้า อาจจะมีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้ผลิตภัณฑ์จึง
ประกอบไปด้วย สินค้า บริการ ความคิด สถานที่ องค์กร หรือบุคคล
• Price (ราคา) หมายถึง คุณค่าผลิตภัณฑ์ในรูปตัวเงิน ราคาเป็นต้นทุน
(cost) ของลูกค้า ผู้บริโภคจะเปรียบเทียบระหว่างคุณค่าผลิตภัณฑ์
(Value) กับราคาผลิตภัณฑ์ (Price) ถ้าคุณค่าสูงกว่าราคาก็จะตัดสินใจซื้อ
กลยุทธ์ทางการตลาด 4P
• Place (การจัดจําหน่าย) หมายถึง โครงสร้างของช่องทาง ประกอบด้วย
สถาบันและกิจกรรม เพื่อเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์และบริการจากองค์กรไปยัง
ตลาด
• Promotion (การส่งเสริมการตลาด) หมายถึง การติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับ
ข้อมูลระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย เพื่อสร้างทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อ การ
ติดต่อสื่อสารที่ใช้คน (Personal Selling) และการติดต่อสื่อสารโดยไม่ใช้
คน (Non-Personal Selling)
กลยุทธ์ทางการตลาด 4P
• ผลิตภัณฑ์ (Product)
• ราคา (Price) เน้น 2 ด้าน คือ โปรโมชั่นการโทรและการให้บริการ
อินเตอร์เน็ต 3G
• การจัดจําหน่าย (Place) ผ่านตัวแทน “เทเลวิซ” (Telewiz) รวมทั้งพัฒนาวิธีการ
เติมเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
• การส่งเสริมการตลาด (Promotion) มีการมอบโปรโมชั่นพิเศษให้ลูกค้า เพื่อให้
ตรงกับพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้า และมีการให้สิทธิพิเศษส่วนลดต่างๆ
• ผลิตภัณฑ์ (Product)
• ราคา (Price) DTAC เป็นบริษัทในเครือของเทเลนอร์ (รัฐวิสาหกิจของนอร์เวย์)ทําให้
บริษัทได้รับการสนับสนุนทั้งทางด้านการเงินและเทคโนโลยี
• การจัดจําหน่าย (Place) ได้ขยายช่องทางการจัดจําหน่ายศูนย์บริการของดีแทค หรือ
ร้านค้าใหญ่ๆ และยังพัฒนาวิธีการเติมเงินผ่านช่องทางอิเล็คทรอนิกส์ต่างๆ
• การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
- ดีแทค เสนออัตราค่าโทรราคาเดียว ตลอด 24 ชั่วโมง
- โปรโมชั่นที่หลากหลายตรงกับพฤติกรรมการใช้งานของตนมากยิ่งขึ้น เช่น “feel free”
- ทําการตลาดภายใต้แนวคิด “feel good” ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกัน
• ผลิตภัณฑ์ (Product)
• ราคา (Price) ทรูมูฟ เป็นผู้นําทางด้าน 3G จึงมุ่งเน้นไปทางโปรโมชั่นให้บริการ
อินเตอร์เน็ต
• การจัดจําหน่าย (Place) มีการผสมผสานบริการสื่อสารครบวงจรในกลุ่มและคอน
เทนต์ที่หลากหลาย ได้แก่ True shop, True Coffee, Seven-eleven เป็นต้น
• การส่งเสริมการตลาด (Promotion) ใช้ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ เพื่อสร้างความ
แตกต่างจากผู้ประกอบรายอื่นๆ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ภายในและภายนอก
(SWOT Analysis)
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
เป็นการพิจารณาปัจจัยสภาวะแวดล้อมต่างๆภายในองค์กร เช่น ปัจจัย
ด้านการตลาด การเงิน ทรัพยากรมนุษย์วัฒนธรรม ระบบการบริหาร เป็นต้น
โดยวิเคราะห์จาก
• Strength (จุดแข็ง) พิจารณาหาความได้เปรียบที่เป็นจุดเด่นหรือความสามารถ
ที่เหนือกว่าขององค์กร ที่มีต่อคู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกัน
• Weakness (จุดอ่อน) พิจารณาความเสียเปรียบ อาจเป็นปัญหาขององค์กรที่
ต้องแก้ไขหรือลดความเสียเปรียบให้ตํ่าสุด เพื่อให้สามารถแข่งขันกับธุรกิจ
อื่นได้
SWOT Analysis
Strength (จุดแข็ง)
• มีเครือข่ายครอบคลุมทั่วประเทศมากที่สุดและเป็นเครือข่ายคุณภาพ
• มีสัดส่วนของผู้ใช้บริการสูงสุดในธุรกิจเดียวกัน
• มีจุดแข็งของตราสินค้า AIS
• ลูกค้ามีความมั่นใจและพึงพอใจในบริการ
• มีความเป็นผู้นําทางด้านเทคโนโลยีและบริการเสริมใหม่ๆ
• เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายแรกๆของประเทศไทย
• บริษัทได้ปรับภาพลักษณ์ เพื่อเน้นการสร้างความรู้สึกที่ดีต่อลูกค้า
• บริษัทได้รับรางวัลประเภทความเป็นเลิศด้านการตลาด
• บริษัทมีกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่เด็กและสังคม
• บริษัทมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง
• มี Bandwidth มากที่สุด สามารถรองรับการใช้งาน Data ได้ดีที่สุด
• บริษัทจัดทําภาพลักษณ์ที่จดจําได้ง่าย
• บริษัทได้นําเทคโนโลยีมาปรับปรุงการให้บริการ ทําให้หลากหลายมากขึ้น
• เป็นบริษัทที่มีความมั่นคงและมีความน่าเชื่อถือ
• สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ค่อนข้างมาก โดยการเป็น
ผู้นํา Convergence Lifestyle
• มีการพัฒนาแนวคิดใหม่ๆและวิธีการนําเสนอผลิตภัณฑ์สินค้าใหม่ๆ
• มีความชํานาญและประสบการณ์การทํางานที่ยาวนาน
• มีการวางแผนการทํางานด้วยความรอบคอบและมีการประเมินความเสี่ยง
ที่อาจจะเกิดขึ้นล่วงหน้า
• บริษัทได้รับรางวัลประเภทความเป็นเลิศด้านการตลาด
Weakness (จุดอ่อน)
• ขนาดขององค์กรและค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการสูง
• ผู้บริโภครับรู้ว่า ราคาสูงกว่าคู่แข่งขัน ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ
ทั้งที่ปัจจุบันราคาของ AIS ไม่แตกต่างจากคู่แข่งมากนัก
• จํานวนลูกค้าที่มาก อาจทําให้การดูแลลูกค้าทําได้ไม่ทั่วถึงมากนัก
• มีกระแสด้านการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง ทําให้ผู้ใช้บริการบางคนยกเลิก
การใช้บริการไป
• บริษัทมีลูกค้าเป้ าหมายยังไม่ครอบคลุมทั่วประเทศ
• ต้นทุนสูงกว่า AIS เนื่องจากเป็นคลื่น 1800 MHz ต้องลงทุน
มากกว่าประมาณ 3 เท่า
• บริษัทยังไม่มีระบบอํานวยความสะดวกด้านการเติมเงินที่ง่าย สะดวก
ประหยัดและเข้าถึงเป้ าหมาย
• เงินลงทุนที่มีน้อยกว่าคู่แข่งอย่าง AIS
• การเข้าสู่ตลาด 3G ที่ช้ากว่าของคู่แข่งอย่าง true
• ระบบล่มบ่อยครั้งทําให้ผู้ใช้ไม่มั่นใจ
• ปัญหาอินเทอร์เน็ต ADSL
• มีข้อบกพร่องทางด้านการกระจายสัญญาณ
• การนําเสนอ Brand Ambassador ที่ไม่สามารถดึงดูด
ลูกค้า
• มีการโฆษณาเกินความเป็นจริง
• บริการยังไม่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าเท่าที่ควร
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
เป็นการพิจารณาปัจจัยสภาวะแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบกับ
องค์กร เพื่อให้ทราบสภาวะแวดล้อมภายนอกโดยรวม โดยวิเคราะห์จาก
• Opportunity (โอกาส) เป็นการพิจารณาปัจจัยที่เอื้ออํานวยให้กับองค์กร
• Threat (อุปสรรค) เป็นการพิจารณาข้อจํากัดหรือปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อ
การดําเนินธุรกิจขององค์กร
SWOT Analysis
• แนวโน้มของจํานวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยต่อจํานวน
ประชากรสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
• แนวโน้มการใช้งานอินเตอร์เน็ตบนมือถือของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ประกอบกับ ราคามือถือสมาร์ทโฟน ถูกลง
• ผู้บริโภคและบริษัทต่างๆให้ความสนใจในเรื่องของเทคโนโลยีมากขึ้น
กว่าแต่ก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อง 3G
• มีการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ ทําให้อุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่มี
แนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
Opportunity (โอกาส)
• ผู้บริโภคส่วนใหญ่รู้จักทั้ง 3 บริษัท ผ่านช่องทางการโฆษณาทางสื่อต่างๆ
• ผู้บริโภคสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้จาก Call center และ
ศูนย์บริการตามห้างสรรพสินค้าต่างๆ ที่ทางบริษัทได้อํานวยความ
สะดวกไว้ให้
• ความต้องการความปลอดภัยของข้อมูลและความเร็วในการดําเนินการ
ต่างๆ
• การเข้ามาในอุตสาหกรรมนี้ค่อนข้างยากและใช้เงินทุนสูง คู่แข่งจึงมีน้อย
• ในภาวะที่การเมืองที่ตึงเครียด เศรษฐกิจและราคานํ้ามันไม่คงที่
• อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศถดถอย การเมืองที่ไม่
แน่นอน
• การแข่งขันในตลาดค่อนข้างสูง ทั้งการพัฒนาบริการและรายการ
ส่งเสริมการขายต่างๆ
• การที่มีบริการเปลี่ยนค่ายแต่ใช้เบอร์เดิม หรือมี Switching Cost ที่ตํ่า
• เทคโนโลยีที่ลํ้าสมัย จะต้องมีการใช้เงินลงทุนสูง
• ความเกี่ยวข้องทางด้านการเมือง ในกรณีของบริษัทคู่แข่งมีความสัมพันธ์
กับผู้มีอิทธิพลในบ้านเมือง
• ภัยคุกคามด้านเครือข่ายที่เป็นปัญหาอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
Threat (อุปสรรค)
3G คือ อะไร?
ในวันที่ 16-18 ตุลาคมนี้ ประเทศไทยจะเปิดประมูลเครือข่าย 3G บนคลื่น
ความถี่ 2100 MHz แทนที่ความถี่เดิมของแต่ละค่าย เนื่องจากมีผู้ใช้บริการร้องเรียน
ปัญหาในการใช้งานโทรศัพท์มือถือ ซึ่งเป็นการนําคลื่นความถี่เดิมที่ใช้บน 2G มา
แบ่งใช้สําหรับบริการ 3G ด้วย ส่งผลให้บริการโทรศัพท์เริ่มมีปัญหา การประมูลจึง
เป็นการแก้ปัญหาในการโทร อีกเหตุผลคือ อุปกรณ์ที่รองรับ 3G ความถี่ 2100MHz
ในท้องตลาดมีมากกว่า และเป็นคลื่นที่ทั่วโลกส่วนใหญ่ใช้สําหรับ 3G
สถานการณ์ 3G ปัจจุบัน
สถานการณ์ 3G ปัจจุบัน
สถานการณ์ 3G ปัจจุบัน
สถานการณ์ 3G ปัจจุบัน
ทําไม กสทช. จึงไม่ขายเป็น
ใบอนุญาตให้ค่ายมือถือ 3 ราย
หลัก?
ข้อเสนอแนะสําหรับบริษัท
• AIS
เนื่องจาก AIS มีสัญญาณโทรศัพท์ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑลที่ดีอยู่แล้ว แต่อัตราค่าโทร และโปรโมชั่นต่างๆ มีราคา
ค่อนข้างสูง จึงควรลดราคาลง เพื่อเป็นการเพิ่มฐานลูกค้าให้มากขึ้น และ
สัญญาณ WiFi ในพื้นที่ต่างจังหวัด ยังไม่ค่อยดีมากนัก จึงควรมีการเพิ่ม
เสาสัญญาณตามพื้นที่ต่างๆเพิ่มขึ้น
• DTAC
ด้านสัญญาณเครือข่าย ดีแทค ที่มีปัญหาสัญญาณล่มหลายครั้ง
กระทบถึงบริษัท และลูกค้าย่านธุรกิจที่โทรผ่านเครือข่าย ดีแทค ทําให้
ลูกค้าขาดความเชื่อมั่นในตัวสินค้า ทางบริษัทจึงได้ประกาศเยียวยา
ชดเชยลูกค้าที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว ผ่านเฟซบุ๊ก
นอกเหนือจากการชดเชยนี้ บริษัทควรสร้างความเชื่อมั่นให้กับ
ลูกค้า "ดีแทค" ก่อนเป็นลําดับต้นๆ ต้องกู้ทั้งพนักงาน และคุณภาพการ
ให้บริการ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า
ข้อเสนอแนะสําหรับบริษัท
• TRUE
ตั้งแต่ ทรูพัฒนาเป็น 3G กลายเป็นว่า มีการบริการแย่ลงมาก โหลด
หน้าเวบได้ช้า หรือเชื่อมต่อแทบไม่ได้บางครั้งเมื่ออยู่นอกเขตสัญญาณ
จะขึ้นว่า “No Service” ใช้ได้แต่สัญญาณมือถือธรรมดา แต่ EDGE และ
3G ใช้ไม่ได้และมีการโฆษณาที่เกินความเป็นจริง จึงส่งผลให้การ
บริการยังไม่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าเท่าที่ควร
ทรูจึงควรเพิ่มการบริการให้ได้อย่างที่โฆษณาไว้กับลูกค้า และควร
เพิ่มเสาสัญญาณเพิ่มขึ้น เพื่อให้กระจายสัญญาณได้มากขึ้น และเพื่อ
รองรับกลุ่มลูกค้าที่โตขึ้น
ข้อเสนอแนะสําหรับบริษัท
ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
1) เน้นศึกษาคุณภาพสัญญาณ 3G ของแต่ละบริษัท เปรียบเทียบให้ผู้ที่
สนใจได้เห็นภาพอย่างชัดเจนหลังจากที่มีการประมูล 3G เสร็จสมบูรณ์
2) เน้นศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อเครือข่ายต่างๆ ทั้ง 3
เครือข่าย คือ AIS, DTAC และ TRUE
1) นางสาวธวัลพร เหล่าวณิชย์วิทย์ 5210701182
2) นางสาวมุกนลิน นวลแป้น 5210701468
3) นางสาววารินทิพย์ แซ่เบ๊ 5210701565
ขอบคุณค่ะ
รายชื่อผู้จัดทําสัมมนา

More Related Content

What's hot

คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556ครู กรุณา
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558ครู กรุณา
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกMuntana Pannil
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
คู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงานคู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงานadisorn boonsukha
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 

What's hot (20)

คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2558
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
คู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงานคู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงาน
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 

Viewers also liked

บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดDrDanai Thienphut
 
True move
True moveTrue move
True moveTn' Nam
 
MVNO Consulting Services
MVNO Consulting ServicesMVNO Consulting Services
MVNO Consulting ServicesYOZZO
 
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★YOZZO
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยChatchamon Uthaikao
 
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 YOZZO
 
ป้ายชื่อทรู ทรี
ป้ายชื่อทรู ทรีป้ายชื่อทรู ทรี
ป้ายชื่อทรู ทรีThassapon Sirsombut
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตNamlekdum
 
ผู้ให้บริการเน็ต_
ผู้ให้บริการเน็ต_ผู้ให้บริการเน็ต_
ผู้ให้บริการเน็ต_tksehun
 
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m Palm SinCere
 
การวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTการวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTHenry Shen
 
วิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท appleวิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท appleNusantara Yala
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1MedSai Molla
 

Viewers also liked (20)

Truecorporation
TruecorporationTruecorporation
Truecorporation
 
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัดบริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ทรู คอ์ปอเรชั่น จำกัด
 
D T A C
D T A CD T A C
D T A C
 
True move
True moveTrue move
True move
 
MVNO Consulting Services
MVNO Consulting ServicesMVNO Consulting Services
MVNO Consulting Services
 
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
Thailand's Telecom Market end of 2015 ★
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
รายงาน Om
รายงาน Omรายงาน Om
รายงาน Om
 
กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015 Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
Thailand's Telecom Market Information Q1 2015
 
ป้ายชื่อทรู ทรี
ป้ายชื่อทรู ทรีป้ายชื่อทรู ทรี
ป้ายชื่อทรู ทรี
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการเน็ต_
ผู้ให้บริการเน็ต_ผู้ให้บริการเน็ต_
ผู้ให้บริการเน็ต_
 
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
รายงาน บริษัท เเกรมมี่ วิชา O m
 
การวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOTการวิเคราะห์ SWOT
การวิเคราะห์ SWOT
 
Dtac group1
Dtac group1Dtac group1
Dtac group1
 
วิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท appleวิเคราะห์ Swot บริษัท apple
วิเคราะห์ Swot บริษัท apple
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Title
TitleTitle
Title
 

Similar to Seminar telecomunication

ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตChin Jsp
 
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต Trueข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต TrueWittawat Pete
 
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internetผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ InternetNon Thanawat
 
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต Trueข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต TrueWittawat Pete
 
บริษัท ทีโอที
บริษัท ทีโอทีบริษัท ทีโอที
บริษัท ทีโอทีThekop Phakorn
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ TrueTn' Nam
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตBeam Iemsumang
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตBeam Iemsumang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตOat Vsm
 
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตJamnisa Nymph
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Jaohjaaee
 
ชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น ม
ชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น มชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น ม
ชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น มchaya fam
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตpeamrcp
 
นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข
นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข
นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข Taksinapimuk Nin
 

Similar to Seminar telecomunication (20)

ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต Trueข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
 
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internetผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
ผู้ให้บริการเชื่อมต่อ Internet
 
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต Trueข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
ข้อมูลของอินเตอร์เน็ต True
 
บริษัท ทีโอที
บริษัท ทีโอทีบริษัท ทีโอที
บริษัท ทีโอที
 
ประวัติ True
ประวัติ Trueประวัติ True
ประวัติ True
 
True
TrueTrue
True
 
Work 6
Work 6Work 6
Work 6
 
Digital divide
Digital divideDigital divide
Digital divide
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
3BB
3BB3BB
3BB
 
Tot
TotTot
Tot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ตผ  ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
ผ ให_บร_การอ_นเทอร_เน_ต
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
ชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น ม
ชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น มชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น ม
ชื่อ นายชยา หล่อวณิชย์ ชั้น ม
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข
นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข
นาย ทัตติย ทักษิณาภิมุข
 

More from purithem

The shells (1)
The shells (1)The shells (1)
The shells (1)purithem
 
Jo enterprenuer
Jo enterprenuerJo enterprenuer
Jo enterprenuerpurithem
 
Natureview ppt done
Natureview ppt doneNatureview ppt done
Natureview ppt donepurithem
 
Coach global mar
Coach global marCoach global mar
Coach global marpurithem
 
Ms heliocare implementation changed
Ms heliocare implementation changedMs heliocare implementation changed
Ms heliocare implementation changedpurithem
 
Suzuki bus mar
Suzuki bus marSuzuki bus mar
Suzuki bus marpurithem
 
Imc present3 2
Imc present3 2Imc present3 2
Imc present3 2purithem
 
Apple brand audit final
Apple brand audit finalApple brand audit final
Apple brand audit finalpurithem
 
Suzuki bus mar
Suzuki bus marSuzuki bus mar
Suzuki bus marpurithem
 
Beyond english direct research
Beyond english direct researchBeyond english direct research
Beyond english direct researchpurithem
 
Tkn final ppt for eos
Tkn final ppt for eosTkn final ppt for eos
Tkn final ppt for eospurithem
 
Presenation on margot
Presenation on margotPresenation on margot
Presenation on margotpurithem
 
Final presenation
Final presenationFinal presenation
Final presenationpurithem
 
Cpf fdi ppt
Cpf fdi pptCpf fdi ppt
Cpf fdi pptpurithem
 
Banpu public company limited
Banpu public company limitedBanpu public company limited
Banpu public company limitedpurithem
 
Burberry retail
Burberry retailBurberry retail
Burberry retailpurithem
 

More from purithem (20)

The shells (1)
The shells (1)The shells (1)
The shells (1)
 
Jo enterprenuer
Jo enterprenuerJo enterprenuer
Jo enterprenuer
 
Bjc ppt
Bjc pptBjc ppt
Bjc ppt
 
Natureview ppt done
Natureview ppt doneNatureview ppt done
Natureview ppt done
 
Coach global mar
Coach global marCoach global mar
Coach global mar
 
Ms heliocare implementation changed
Ms heliocare implementation changedMs heliocare implementation changed
Ms heliocare implementation changed
 
Suzuki bus mar
Suzuki bus marSuzuki bus mar
Suzuki bus mar
 
Imc present3 2
Imc present3 2Imc present3 2
Imc present3 2
 
Apple brand audit final
Apple brand audit finalApple brand audit final
Apple brand audit final
 
Suzuki bus mar
Suzuki bus marSuzuki bus mar
Suzuki bus mar
 
Est mr2 1
Est mr2 1Est mr2 1
Est mr2 1
 
Beyond english direct research
Beyond english direct researchBeyond english direct research
Beyond english direct research
 
Tkn final ppt for eos
Tkn final ppt for eosTkn final ppt for eos
Tkn final ppt for eos
 
Wal mart
Wal martWal mart
Wal mart
 
Presenation on margot
Presenation on margotPresenation on margot
Presenation on margot
 
Final presenation
Final presenationFinal presenation
Final presenation
 
Cpf fdi ppt
Cpf fdi pptCpf fdi ppt
Cpf fdi ppt
 
Banpu public company limited
Banpu public company limitedBanpu public company limited
Banpu public company limited
 
Turkcell
TurkcellTurkcell
Turkcell
 
Burberry retail
Burberry retailBurberry retail
Burberry retail
 

Seminar telecomunication