SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
TRUE MOVE 
บ ริษัท ก่อ ตั้ง ขึ้น ค รั้ง แ ร ก ใ น เดือ น พ ฤ ศ จิก า ย น 2 5 3 3 
ในฐานะผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานภายใต้สัญญาร่วมการงานและร่วม 
ล ง ทุน กับ บ ริษัท ทีโ อ ที จ า กัด (ม ห า ช น ) ( “ทีโ อ ที”) ใ น ปี 2 5 3 6 
บ ริ ษั ท ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ส ถ า น ะ เ ป็ น บ ริ ษั ท ม ห า ช น 
แ ล ะ เข้า จ ด ท ะ เบีย น ใ น ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะเท ศ ไ ท ย ใ น ชื่อ 
บริษัท เทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 
2 5 3 6 มีชื่ อ ย่อ ห ลัก ท รัพ ย์ว่า “TA” ใ น เ ดือ น เ ม ษ า ย น 2 5 4 7 
บ ริษัท ไ ด้มีก า ร ป รับ เ ป ลี่ ย น ภ า พ ลัก ษ ณ์ ภ า ย ใ ต้แ บ ร น ด์ท รู 
แ ล ะ ไ ด้เป ลี่ย น ชื่อ เป็น บ ริษัท ท รู ค อ ร์ป อ เร ชั่น จ า กัด (ม ห าช น ) 
มีชื่อย่อหลักทรัพย์ว่า “TRUE” 
นอกจากนี้บริษัทยังได้รับอนุญาตให้เปิดบริการเสริมต่างๆ 
เช่น บริการโทรศัพท์สาธารณะและบริการอื่นๆ เพิ่มเติม โดยในปี 2542 
บริษัทได้เปิดให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานพกพา WE PCT และในปี 
2 5 4 4 บ ริ ษั ท ( ผ่ า น บ ริ ษั ท ย่ อ ย ) 
ไ ด้ เ ปิด ใ ห้บ ริก า ร โ ค ร ง ข่า ย สื่อ ส า ร ข้อ มูล ค ว า ม เ ร็ว สูง 
ซึ่งประกอบด้วยบริการ ADSL และบริการ Cable Modem และในปี 
2546 ได้เปิดให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไร้สายหรือบริการ 
Wi-Fi ใ น ปี 2 5 5 0 
บริษัทย่อยได้เปิดให้บริการโครงข่ายอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศและเปิ 
ดให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศในปี 2551
ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทได้เข้าถือหุ้น ในบริษัทกรุงเทพ 
อิน เ ต อ ร์เ ท เ ล เ ท ค จา กัด ( ม ห า ช น ) ห รือ “BITCO” 
(ซึ่งเป็นบริษัทที่ถือหุ้นในบริษัท ทีเอ ออเร้นจ์ จากัด) ในอัตราร้อยละ 
4 1 .1 ซึ่ง นับ เป็น ก า ร เริ่ม เข้า สู่ธุร กิจ โ ท ร ศัพ ท์เค ลื่อ น ที่ ทั้ง นี้ ทีเอ 
ออ เร้น จ์ได้เปิด ให้บ ริก ารอ ย่างเต็มรูป แ บ บ ใน เดือน มีน าค ม 2 54 5 
แ ล ะ ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ชื่ อ เ ป็ น “ท รู มูฟ ” เ มื่ อ ต้ น ปี 2 5 4 9 
บริษัทได้เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นใน BITCO มากขึ้นตามลาดับ ณ วันที่ 
31 ธันวาคม 2549 บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นใน BITCO คิดเป็นร้อยละ 
9 3 .4 ต่อ ม าใ น เดือ น ธัน ว า ค ม 2 5 5 0 เค รือ เจ ริญ โภ ค ภัณ ฑ์ (ซีพี) 
ส นับ ส นุน ธุร กิจ ท รูมูฟ ผ่า น วิธีก า ร ซื้ อ หุ้น เพิ่ ม ทุน ข อ ง BITCO 
ทาให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทใน BITCO ลดลงเป็นอัตราร้อยละ 
7 5 . 3 ใ น ข ณ ะ ที่ ซี พี มีสัด ส่ว น ก า ร ถือ หุ้ น ใ น BITCO 
เพิ่มขึ้นเป็นอัตราร้อยละ 23.9 
ในเดือนมิถุนายน 2552 บริษัทได้ซื้อคืนหุ้น BITCO จานวน 
6 พั น ล้ า น หุ้ น จ า ก ซี พี 
ทาให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นในทรูมูฟเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 98.9 
ในเดือนมกราคม 2549 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้น ยูบีซี จาก MIH 
ทั้งหมด และต่อมาได้ดาเนินการเข้าซื้อหุ้นสามัญจากรายย่อย (Tender 
Offer) ทาให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นทางอ้อมในยูบีซี ร้อยละ 91.8 
ภายหลังการเข้าซื้อหุ้นจากผู้ถือหุ้นรายย่อย เสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 
2549 ทั้งนี้ ยูบีซี ได้เปลี่ยนชื่อเป็นทรูวิชั่นส์ เมื่อต้นปี 2550 
บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) 
ผู้ น า ค อ น เ ว อ ร์ เ จ น ซ์ ไ ล ฟ์ ส ไ ต ล์ 
ซึ่ ง เ ชื่ อ ม โ ย ง ทุ ก บ ริ ก า ร พ ร้ อ ม พั ฒ น า โ ซ ลู ชั่ น 
ตอบสนองตรงใจลูกค้าทุกกลุ่มเป้าหมาย
ธุร กิจ ห ลัก ข อ ง ก ลุ่ ม ท รูป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ท รูมูฟ 
ผู้ใ ห้บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์เค ลื่อ น ที่ร า ย ใ ห ญ่อัน ดับ ส า ม ข อ ง ป ร ะ เท ศ 
ท รู อ อ น ไ ล น์ 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตและบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ตรายใหญ่ที่สุดของป 
ร ะ เ ท ศ ร ว ม ทั้ ง เ ป็น ผู้ ใ ห้บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์ พื้ น ฐ า น 
ร า ย ใ ห ญ่ที่ สุด ใ น เ ข ต ก รุง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริม ณ ฑ ล 
แ ล ะ ท รู วิ ชั่ น ส์ 
ผู้ให้บริการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิกทั่วประเทศรายเดียวของปร 
ะเทศไทย 
นอกจากนี้ยังมีอีก 2 ธุรกิจหลัก คือ ทรูมันนี่ ซึ่งให้บริการ E-Commerce 
แ ล ะ ท รูไ ล ฟ์ ซึ่ ง ใ ห้บ ริก า ร ดิจิต อ ล ค อ น เท น ท์ต่า ง ๆ 
สาหรับกลุ่มทรู และทรู คอฟฟี่ 
ทรู ได้รับก ารสนับ สนุน จากเครือเจริญโภคภัณ ฑ์ (ซีพี) 
ก ลุ่ม ธุรกิจ ด้าน ก ารเกษ ต รค รบ วงจ รที่ให ญ่ที่สุด ใน ภูมิภ าค เอ เชีย 
ซึ่ ง ถื อ หุ้ น ท รู ใ น สั ด ส่ ว น ร้ อ ย ล ะ 5 8 . 2 
มีทุนจดทะเบียนที่เรียกชาระแล้วทั้งสิ้น 77,757 ล้านบาท ณ วันที่ 18 
มี น า ค ม ปี 2 5 5 2 
และปัจจุบันทรูเป็นหนึ่งในแบรนด์ที่แข็งแกร่งและได้รับการยอมรับในปร 
ะเทศไทย 
ใน ปี 2552 กลุ่มบ ริษัททรูมีรายได้รวม 63 พันล้าน บาท 
(ร ว ม ค่า เชื่อ ม โ ย ง โ ค ร ง ข่า ย ) แ ล ะ มีสิน ท รัพ ย์ทั้ ง ห ม ด ก ว่า 2 0 0 
พันล้านบาท โดยมีพนักงานประจาทั้งสิ้น 14,641 คน
ท รู ผู้ น า ค อ น เว อ ร์เจ น ซ์ไ ล ฟ์ส ไ ต ล์ร า ย เดีย ว ข อ ง ไ ท ย 
ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ บรอดแบนด์ โทรศัพท์พื้นฐาน 
บริการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก และบริการ Wi-Fi 
พ ร้อ ม บ ริก ารด้าน อีค อ ม เมิร์ซ แ ล ะดิจิต อ ล ค อ น เท น ท์ต่าง ๆ 
อย่างหลากหลาย 
พัน ธกิจ ข องก ลุ่มท รู คือ ก ารนาค วาม รู้ ข้อมูล ข่าวส าร 
ส า ร ะ แ ล ะ ค ว า ม บั น เ ทิ ง ต่ า ง ๆ 
รวมทั้งความสะดวกสบายเพื่อคนไทยทั่วประเทศตลอดจนเยาวชนของช 
า ติ โ ด ย มุ่ง มั่น ที่ จ ะ ส ร้า ง คุณ ค่า ใ ห้กับ ผู้ถือ หุ้น ลูก ค้า อ ง ค์ก ร 
และพนักงาน 
แ ก่น แ ท้ซึ่ ง เ ป็น ที่ ม า ข อ ง วิสัย ทั ศ น์ข อ ง บ ริษัท คือ 
คุ ณ ค่ า ค ว า ม เ ป็ น ท รู 
ที่แสดงออกในชีวิตประจาวันและเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ 
ซึ่งประกอบด้วย 
ส ร้า ง ส ร ร ค์ : เ ร า พ ย า ย า ม เ ส า ะ ห า แ น ว คิด ใ ห ม่ๆ 
แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ห ม่ ๆ 
ซึ่งจะนามาซึ่งผลิตภัณฑ์และบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ 
เอาใจใส่: เราทุ่มเทเอาใจใส่ทาในสิ่งที่เหมาะที่ควรเพื่อลูกค้า 
เพื่อนร่วมงาน และคู่ค้าของเรา 
ก ล้า คิด ก ล้า ท า : เร า ป ฏิบัติง า น ด้ว ย ค ว า ม เด็ด เดี่ ย ว 
ประเมินความเสี่ยงอย่างสุขุมและเรียนรู้จากข้อผิดพลาด 
เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ : 
เรามุ่งมั่นดาเนินธุรกิจภายใต้การกากับดูแลกิจการที่ดี มีความซื่อสัตย์ 
สื่อสารอย่างตรงไปตรงมา และรับผิดชอบในการกระทาของเรา 
ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ทาให้ทรูมีเอกลักษณ์โดดเด่นและ 
แ ต ก ต่ า ง จ า ก ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ร า ย อื่ น ๆ 
ด้วยการผสานบริการสื่อสารครบวงจรเข้ากับคอนเทนท์ที่หลากหลาย 
น อ ก จ า ก นี้ 
ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ยังเป็นปัจจัยหลักในการเพิ่มยอดผู้ใช้บริการ
และทาให้ลูกค้ามีความผูกพันกับบริการและสามารถใช้ผลิตภัณฑ์และบ 
ริก า ร ต่ า ง ๆ ข อ ง ก ลุ่ ม ไ ด้ อ ย่า ง เ ต็ ม ป ร ะ สิท ธิภ า พ 
เราเชื่อมั่นว่ายุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์จะให้คุณค่าแก่ลูกค้าได้มากยิ่ง 
ขึ้ น 
ตลอดจนจะสร้างความเติบโตและเพิ่มรายได้แก่บริษัททั้งในระยะกลางแ 
ละระยะยาว 
ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ไลฟ์สไตล์ได้รับการตอบรับเป็นอ 
ย่ า ง ดี จ า ก ค ร อ บ ค รั ว ผู้ ใ ช้ บ ริ ก า ร ไ ท ย 
โ ด ย จา น ว น ผู้ใ ช้ผ ลิต ภัณ ฑ์ แ ล ะ บ ริก า ร ข อ ง ก ลุ่ม ท รูตั้ ง แ ต่ 2 
ราย ก ารขึ้น ไป เติบ โตอย่างรวด เร็ว ดังแส ด งใน แผ น ภ าพ ด้าน ล่าง 
จานวนครัวเรือนทั่วประเทศที่ใช้ผลิตภัณฑ์และบริการของกลุ่มทรูตั้งแต่ 
2 รายการขึ้นไป
บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) 
วิสัยทัศน์ (Vision) 
การเป็นผู้ให้บริการด้านการสื่อสารครบวงจรและมุ่งตอบสนองต่อลู 
ก ค้ า เ ป็ น ห ลั ก 
อีกทั้งยังเป็นผู้ให้บริการหนึ่งเดียวของประเทศที่ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐ 
า น ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ไ ร้ส า ย อิน เ ท อ ร์เ น็ต ค ว า ม เ ร็ว สูง 
และผลิตภัณฑ์และบริการด้านเนื้อหาต่างๆอย่างหลากหลาย 
พันธะกิจ (Mission) 
แนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประกอบด้วย 
เชื่อถือได้ 
- 
เราซื่อตรงและให้เกียรติทุกคนและร่วมกันทางานเพื่อความสาเร็จร่ 
วมกัน 
- 
เราสื่อสารอย่างซื่อตรงและเน้นถึงประโยชน์ของบริษัทเป็นสาคัญ 
- เราพยายามทาในสิ่งที่เหมาะที่ควรเพื่อลูกค้าของเรา 
- เราพร้อมจะตัดสินใจและรับผิดชอบในการกระทาของเรา 
สร้างสรรค์ 
- เราพยายามเสาะหาแนวคิดใหม่ๆ และวิธีการใหม่ๆ 
ซึ่งจะนามาซึ่งผลิตภัณฑ์และบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ
- 
เราแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเพื่อเสริมสร้างความเข้มแ 
ข็งในการทางานร่วมกัน 
- 
เราทางานด้วยความท้าทายซึ่งทาให้ธุรกิจของเราพัฒนาไปสู่ควา 
มก้าวหน้าเหนือผู้อื่น 
เอาใจใส่ 
- 
เราเชื่อมั่นว่าพนักงานของเราคือสินทรัพย์ที่มีค่ายิ่งของบริษัท 
- 
เราตั้งใจจะทางานร่วมกันด้วยความสามัคคีและมอบสิ่งที่ถูก 
ที่ควรให้กับลูกค้า เพื่อนร่วมงาน และคู่ค้าของเรา 
- 
เราปฏิบัติต่อผู้อื่นในลักษณะเดียวกับที่เราอยากให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อเร 
า 
- เรายอมรับผลงานและยินดีในความสาเร็จของกันและกัน 
- เราสร้างสัมพันธภาพที่ยั่งยืนกับคู่ค้าของเรา 
กล้าคิดกล้าทา 
- 
เรามีความปรารถนาที่แน่วแน่เพื่อพัฒนาบริษัทของเราและเป็นผู้ 
นาในตลาดการค้า 
- เราปฏิบัติงานด้วยความเด็ดเดี่ยว 
ประเมินความเสี่ยงอย่างสุขุมและเรียนรู้จากข้อผิดพลาด 
- 
เราตระหนักดีว่าโอกาสเกิดจากความรับผิดชอบและความรู้สึกเป็นเ 
จ้าของในงานนั้นๆ 
เป้าหมาย (Goal)
ก า ร เ ป็ น ผู้ นา Convergence lifestyle enabling 
ผ่านบริการทั้งหมดของกลุ่มซึ่งมีครบวงจร ไม่ว่าจะเป็น Wire line หรือ 
Wireless ตั้งแต่โทรศัพท์พื้นฐาน, WE PCT บรอดแบนด์, อินเทอร์เน็ต 
แ ล ะ ร ว ม ไ ป ถึง ก า ร ใ ห้บ ริก า ร เ ค เ บิ้ล ทีวี บ ริก า ร ต่า ง ๆ เห ล่า นี้ 
เป็นช่องทางที่จะทาให้เราสามารถเติมเต็มชีวิตของลูกค้าทุกกลุ่มให้ครบ 
ถ้ ว น ร ว ม ถึ ง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร โ ซ ลู ชั น ท า ง ธุ ร กิ จ 
ทั้งแก่ลูก ค้าอ งค์ก รและลูกค้า SME, วิเค ราะห์ทัศน ภาพ Scenario 
Analysis และการวิเคราะห์สถานการณ์ 
โครงสร้างการจัดการ
คณะกรรมการของบริษัท 
ณ วัน ที่ 1 มิถุน า ย น 2 5 5 4 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริษัท ฯ 
ป ร ะ ก อ บ ด้ว ย บุค ค ล ผู้ท ร ง คุณ วุฒิ จา น ว น ร ว ม ทั้ ง สิ้น 1 5 ท่า น 
ประกอบด้วย 
(1) กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (Executive Directors) จานวน 
4 ท่าน 
(2) กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร (Non-Executive Directors) 
จานวน 11 ท่าน ประกอบด้วย 
- กรรมการอิสระ (Independent Directors) จานวน 5 
ท่าน หรือเท่ากับ ร้อยละ 33.3 ของจานวนกรรมการทั้งคณะ 
- ก ร ร ม ก า ร ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ 
ซึ่ ง ไ ม่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ป ร ะ จา 
ซึ่งรวมตัวแทนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จานวน 6 ท่าน 
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2554 มีรายนามดังต่อไปนี้ 
รายนาม ตาแหน่ง 
จานวนครั้งที่เข้าร่วม 
ประชุม 
คณะกรรมการบริษัท 
ในปี 2553 1/ 
1. น า ย วิ ท ย า 
เวชชาชีวะ 
ก ร ร ม ก า ร อิส ร ะ แ ล ะ 
ประธานคณะกรรมการตรว 
จสอบ 
8/8 
2. ด ร . โ ก ศ ล 
เพ็ชร์สุวรรณ์ 
ก ร ร ม ก า ร อิส ร ะ แ ล ะ 
กรรมการตรวจสอบ 
8/8
3. น า ย โ ช ติ 
โภควนิช 
ก ร ร ม ก า ร อิส ร ะ แ ล ะ 
กรรมการตรวจสอบ 
7/8 
4. น า ย ฮ า ร า ล ด์ 
ลิงค์ 
กรรมการอิสระ 6/8 
5. น า ย เ ร วั ต 
ฉ่าเฉลิม 
กรรมการอิสระ 7/7 2/ 
6. น า ย ธ นิ น ท์ 
เจียรวนนท์ 
ประธานกรรมการ 4/8 
7. ด ร . อ า ช ว์ 
เตาลานนท์ 
รองประธานกรรมการ 6/8 
8. น า ย เ ฉ ลี ย ว 
สุวรรณกิตติ 
รองประธานกรรมการ 8/8 
9. 
ศาสตราจารย์พิเศ 
ษอธึก อัศวานันท์ 
รองประธานกรรมการ และ 
หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านก 
ฎหมาย 
8/8 
10. น า ย ศุ ภ ชั ย 
เจียรวนนท์ 
ก ร ร ม ก า ร 
ก ร ร ม ก า ร ผู้จัด ก า ร ใ ห ญ่ 
และประธานคณะผู้บริหาร 
8/8 
11. น า ย สุ ภ กิ ต 
เจียรวนนท์ 
กรรมการ 2/8 
12. นายชัชวาลย์ 
เจียรวนนท์ 
ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ 
ผู้อา น ว ย ก า ร บ ริห า ร - 
การลงทุนกลุ่ม 
7/8 
13. น า ย วิเช า ว น์ 
รักพงษ์ไพโรจน์ 
กรรมการ กรรมการผู้จัดกา 
ร แ ล ะ 
หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านป 
ฏิ บั ติ ก า ร – 
โครงข่ายและเทคโนโลยี 
8/8
14. น า ย อ า รุ ง 
สรรพสิทธิ์วงศ์ 
กรรมการ 8/8 
15. น า ย ณ ร ง ค์ 
เจียรวนนท์ 
กรรมการ 2/8 
หมายเหตุ 
1/ ใน ปี 2553 คณ ะก รรม การบ ริษัท มีการป ระชุม รวมทั้งสิ้น 
จา น ว น 8 ค รั้ ง น อ ก จ า ก นี้ บ ริ ษั ท ฯ 
มีก า ร กา ห น ด ไ ว้ใ น น โ ย บ า ย ก า ร กา กับ ดู แ ล กิจ ก า ร 
ใ ห้ ก ร ร ม ก า ร ที่ มิ ใ ช่ ผู้ บ ริ ห า ร 
สามารถที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจาเป็นโดยไม่มีกรรมการที่เ 
ป็นผู้บริหารหรือฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ 
เกี่ย ว กับ ก า ร จัด ก า ร ห รือ เรื่อ ง ที่อ ยู่ใ น ค ว า ม ส น ใ จ ซึ่ง ใ น ปี 2 5 5 3 
มีการประชุมในลักษณะดังกล่าวจานวน 1 ครั้ง 
2 / ก่ อ น ที่ น า ย เ ร วั ต ฉ่า เ ฉ ลิ ม 
จะได้รับการแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ ในปี 2553 
บริษัทฯ ได้มีการประชุมคณะกรรมการ ไปแล้ว จานวน 1 ครั้ง 
คานิยาม 
ก ร ร ม ก า ร ที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห า ร ห ม า ย ถึ ง 
กรรมการที่ดารงตาแหน่งเป็นผู้บริหารและมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหาร 
งานประจาของบริษัทฯ 
ก ร ร ม ก า ร ที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห า ร ห ม า ย ถึ ง 
กรรมการที่มิได้ดารงตาแหน่งเป็นผู้บริหารและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ 
บริหารงานประจาของบริษัทฯ อาจจะเป็นหรือไม่เป็นกรรมการอิสระก็ได้ 
ก ร ร ม ก า ร อิ ส ร ะ ห ม า ย ถึ ง 
ก ร ร ม ก า ร ผู้ ซึ่ ง เ ป็ น อิ ส ร ะ จ า ก ผู้ ถือ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ 
และเป็นอิสระจากความสัมพันธ์อื่นใดที่จะมากระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่ 
า ง อิ ส ร ะ แ ล ะ มี คุ ณ ส ม บั ติ ดั ง ต่ อ ไ ป นี้
ซึ่งมีความเข้มงวดมากกว่าข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน 
ในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท 
( 1 ) ถื อ หุ้ น ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ย ล ะ 0 . 7 5 
ของจานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของทรู บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย 
บ ริษัท ร่วม ผู้ถือ หุ้น ราย ให ญ่ ห รือ ผู้มีอาน าจค วบ คุมข อ งท รู ทั้งนี้ 
ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 
(2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน 
ลูก จ้า ง พ นัก ง า น ที่ ป รึก ษ า ที่ ไ ด้ เ งิน เ ดื อ น ป ร ะ จา 
ห รือผู้มีอาน าจค วบ คุมข องท รู บ ริษัท ให ญ่ บ ริษัท ย่อย บ ริษัท ร่วม 
บ ริ ษั ท ย่ อ ย ลา ดั บ เ ดี ย ว กั น ผู้ ถื อ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ 
ห รื อ ข อ ง ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู 
เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวั 
นที่ได้ รับการแต่งตั้ง 
( 3 ) ไ ม่เ ป็น บุค ค ล ที่ มีค ว า ม สัม พั น ธ์ท า ง ส า ย โ ล หิต 
หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดามารดา 
คู่ส ม ร ส พี่น้อ ง แ ล ะ บุต ร ร ว ม ทั้ง คู่ส ม ร ส ข อ ง บุต ร ข อ ง ผู้บ ริห า ร 
ผู้ ถื อ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม 
หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอานาจควบคุมของ 
ทรู หรือบริษัทย่อย 
(4 ) ไม่มีห รือเคย มีความสัมพัน ธ์ทางธุรกิจกับท รู บ ริษัทให ญ่ 
บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอานาจควบคุมของทรู 
ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของต 
น ร ว ม ทั้ ง ไ ม่ เ ป็ น ห รื อ เ ค ย เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย 
ห รือ ผู้มีอา น า จ ค ว บ คุม ข อ ง ผู้ที่มีค ว า ม สัม พัน ธ์ท า ง ธุร กิจ กับ ท รู 
บ ริษัท ใ ห ญ่ บ ริษัท ย่อ ย บ ริษัท ร่ว ม ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ 
ห รื อ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู 
เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวั 
นที่ได้ รับการแต่งตั้ง 
“ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง ธุ ร กิ จ ” ต า ม ว ร ร ค ห นึ่ ง 
รวมถึงการทารายการทางการค้าที่กระทาเป็นปกติ เพื่อประกอบกิจการ
ก า ร เ ช่ า ห รื อ ใ ห้ เ ช่ า อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ร า ย ก า ร 
เ กี่ ย ว กั บ สิ น ท รั พ ย์ ห รื อ บ ริ ก า ร 
หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วย การรับหรือให้กู้ยืม 
ค้า ป ร ะ กัน ก า ร ใ ห้สิน ท รัพ ย์เ ป็น ห ลัก ป ร ะ กัน ห นี้ สิน 
ร ว ม ถึ ง พ ฤ ติ ก า ร ณ์ อื่ น ท า น อ ง เ ดี ย ว กั น 
ซึ่งเป็นผลให้ทรูหรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องชาระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง 
ตั้งแต่ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของทรูหรือตั้งแต่ยี่สิบล้าน 
บ า ท ขึ้ น ไ ป แ ล้ ว แ ต่ จา น ว น ใ ด จ ะ ต่า ก ว่ า ทั้ ง นี้ 
การคานวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคานวณมูลค่าของรา 
ย ก า ร ที่ เ กี่ ย ว 
โยงกันตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในก 
า ร ท า ร า ย ก า ร ที่ เ กี่ ย ว โ ย ง กั น โ ด ย อ นุ โ ล ม 
แ ต่ ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ภ า ร ะ ห นี้ ดั ง ก ล่ า ว 
ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทา 
ง ธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 
(5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของทรู บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย 
บ ริษัท ร่ว ม ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ ห รือ ผู้มีอา น า จ ค ว บ คุม ข อ ง ท รู 
แ ล ะ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม 
ห รือ หุ้น ส่ว น ข อ ง สา นัก ง า น ส อ บ บัญ ชี ซึ่ ง มีผู้ส อ บ บัญ ชีข อ ง ท รู 
บ ริษัท ใ ห ญ่ บ ริษัท ย่อ ย บ ริษัท ร่ว ม ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ 
ห รื อ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู สั ง กั ด อ ยู่ 
เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวั 
นที่ได้ รับการแต่งตั้ง 
( 6 ) ไ ม่เ ป็น ห รือ เ ค ย เ ป็น ผู้ใ ห้บ ริก า ร ท า ง วิช า ชีพ ใ ด ๆ 
ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน 
ซึ่งไ ด้รับ ค่าบ ริก ารเกิน ก ว่าส อ งล้าน บ าท ต่อ ปีจ ากท รู บ ริษัท ใ ห ญ่ 
บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอานาจควบคุมของทรู 
แ ล ะ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม 
ห รือ หุ้ น ส่ว น ข อ ง ผู้ ใ ห้บ ริก า ร ท า ง วิช า ชีพ นั้ น ด้ ว ย 
เ ว้น แ ต่ จ ะ ไ ด้ พ้ น จ า ก ก า ร มีลัก ษ ณ ะ ดั ง ก ล่า ว ม า แ ล้ว 
ไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง
( 7 ) 
ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของ 
ท รู ผู้ ถื อ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ ห รื อ 
ผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 
( 8 ) 
ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิ 
จการ ของทรูหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน 
หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน 
ที่ ป รึ ก ษ า ที่ รั บ เ งิ น เ ดื อ น ป ร ะ จา 
หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบ 
ริ ษั ท อื่ น 
ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับ 
กิจการ ของทรูหรือบริษัทย่อย 
( 9 ) 
ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกั 
บการดาเนินงานของทรู 
( 1 0 ) 
ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็นไปตามข้ 
อ (1) - (9) แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ 
ให้ตัด สิน ใจใน ก ารด าเนิน กิจก ารข องท รู บ ริษัท ให ญ่ บ ริษัท ย่อ ย 
บ ริษัท ร่ว ม บ ริษัท ย่อ ย ลา ดั บ เ ดี ย ว กัน ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ 
ห รื อ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู 
โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ 
( 1 1 ) 
ในกรณีที่เป็นบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริก 
า ร ท า ง วิช า ชีพ เ กิน มูล ค่า ที่ กา ห น ด ใ น ข้อ ( 4 ) ห รือ ( 6 ) 
ใ ห้ บุ ค ค ล ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ รั บ ก า ร 
ผ่อนผันข้อห้ามการมีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริกา 
ร ท า ง วิ ช า ชี พ เ กิ น มู ล ค่ า ดั ง ก ล่ า ว 
ห า ก คณ ะก ร ร ม ก า ร บ ริษัท ไ ด้พิจ า รณ า ต า ม ห ลัก ใ น ม า ต ร า 8 9 /7 
แห่งพ ระราช บัญ ญัติห ลักท รัพ ย์แล ะตล าด ห ลักท รัพ ย์ พ.ศ. 253 5
แ ล้ ว มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า 
การแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่และการให้ 
ค ว า ม เ ห็ น ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ 
และจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนกาหน 
ด ใ น ห นั ง สื อ เ ชิ ญ ป ร ะ ชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น 
ในวาระพิจารณาแต่งตั้งกรรมการอิสระ 
อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 
คณ ะกรรมการบริษัทมีอาน าจและห น้าที่จัดการบริษัทฯ 
ใ ห้เป็น ไ ป ต า ม วัต ถุป ร ะ ส ง ค์ ข้อ บัง คับ แ ล ะ ม ติที่ป ร ะ ชุม ผู้ถือ หุ้น 
ใ น ส่ ว น ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ นั้ น 
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร มี อา น า จ ห น้ า ที่ ตั ด สิ น ใ จ 
แ ล ะ ดู แ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ 
เว้นแต่เรื่องที่กฎหมายกาหนดให้ต้องได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้ 
น น อ ก จ า ก นั้ น 
คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนห 
รือ บุคคลอื่นใด ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนคณะกรรมการได้ 
อ ย่า ง ไ ร ก็ต า ม ก า ร ตั ด สิน ใ จ ใ น ก า ร ด า เ นิน ง า น ที่ สา คัญ 
อ า ทิ เ ช่ น ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ ก า ร กู้ ยื ม ที่ มี นั ย สา คั ญ 
ฝ่ายบริหารจะต้องนาเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 
ช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสต่อคณะกรร 
มการบริษัทผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ 
ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถทาการร้องเรียนหรือแจ้งเบาะ 
แส (โดยจะได้รับการเก็บรักษาข้อมูลไว้เป็นความลับ) เกี่ยวกับการทุจริต 
ป ร ะ พ ฤ ติ มิช อ บ ห รือ ก า ร ก ร ะ ท า ผิด จ ร ร ย า บ ร ร ณ ธุร กิจ 
ต่อ คณ ะก ร ร ม ก า ร บ ริษัท ฯ โด ย ผ่า น คณ ะก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้ 
ตามที่อยู่ดังนี้ 
- จ ด ห ม า ย อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ : 
auditcommittee@truecorp.co.th 
- จดหมายส่งทางไปรษณีย์:
- เรียน คณะกรรมการตรวจสอบ 
บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) 
เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร์ ชั้น 28 
ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง 
เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 
โ ด ย ห น่ ว ย ง า น เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท 
ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็น เ ล ข า นุก า ร ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ 
จ ะ เ ป็ น ผู้ ดู แ ล รั บ ผิ ด ช อ บ 
ใน การรวบรวมและนาส่งเรื่องร้องเรียน ห รือการแจ้งเบาะแสต่างๆ 
ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาและดาเนินการต่อไป 
ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุปผลการดาเนินการและนาเสนอรายงา 
นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นรายไตรมาส 
เงื่อนไขในการรับเรื่องร้องเรียนหรือการแจ้งเบาะแส: 
- ไม่รับบัตรสนเท่ห์ 
- ผู้ร้องเรียน/ผู้แจ้งเบาะแส ต้องระบุชื่อและนามสกุลจริง 
โ ด ย บ ริษัท ฯ จ ะ เ ก็บ รัก ษ า ข้อ มูล ไ ว้เ ป็น ค ว า ม ลับ 
ซึ่งจะรับรู้ได้เฉพาะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรร 
มการตรวจสอบเท่านั้น 
- เ รื่อ ง ที่ ไ ม่เ กี่ย ว ข้อ ง ต่า ง ๆ ดัง ตัว อ ย่า ง ด้า น ล่า ง นี้ 
คณะกรรมการตรวจสอบจะไม่รับดาเนินการให้: 
- การสมัครงาน 
- แบบสารวจ หรือ การขอรับข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ 
- การเสนอขายสินค้าหรือบริการ 
- การขอรับบริจาคหรือการสนับสนุนต่างๆ 
คณะกรรมการชุดย่อย: 
- คณะกรรมการตรวจสอบ 
- คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ
- คณะกรรมการด้านการเงิน 
- คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ 
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิจาน 
วน 3 ท่าน มีรายนามดังต่อไปนี้ 
รายนาม ตาแหน่ง 
จานวนครั้งที่เข้าร่วมป 
ระชุม 
คณะกรรมการตรวจสอ 
บ 
ในปี 2553 1/ 
1. 
นายวิทยา เวชชา 
ชีวะ 
ประธานคณะกรรมการตรว 
จสอบ 
7/7 
2. ด ร . โ ก ศ ล 
เพ็ชร์สุวรรณ์ 
กรรมการตรวจสอบ 7/7 
3. 
นายโชติ โภควนิ 
ช 
กรรมการตรวจสอบ 7/7 
หมายเหตุ 
1/ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จานวน 7 
ค รั้ ง โ ด ย ที่ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม กั บ ผู้ ส อ บ บั ญ ชี 
โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย จานวน 1 ครั้ง 
อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณ ะก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ มีบ ท บ า ท แ ล ะอา น า จ ห น้า ที่รับ ผิด ช อ บ 
ดังต่อไปนี้ 
1. สอบทานให้บริษัทฯมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเ 
พียงพอ 
2. ส อ บ ท า น ใ ห้บ ริษัท ฯ มีร ะบ บ ก า ร ค ว บ คุม ภ า ย ใ น ( internal 
control) แ ล ะร ะบ บ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น ( internal audit) 
ที่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล 
และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 
ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย 
เ ลิก จ้า ง หัว ห น้า ห น่ว ย ง า น ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น 
หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 
3. สอบทานให้บริษัทฯปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และต 
ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ 
ข้อ กา ห น ด ข อ ง ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย 
และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 
4. พิ จ า ร ณ า คั ด เ ลื อ ก 
เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทาหน้าที่เป็นผู้สอบบั 
ญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว 
ร ว ม ทั้ ง เ ข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม กั บ ผู้ ส อ บ บั ญ ชี 
โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 
5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ 
ง ท า ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ 
ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ 
เ พื่ อ ใ ห้ มั่ น ใ จ ว่ า ร า ย ก า ร ดั ง ก ล่ า ว 
สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 
6. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในร 
า ย ง า น ป ร ะ จา ปีข อ ง บ ริษัท ฯ ซึ่ ง ร า ย ง า น ดั ง ก ล่า ว 
จ ะ ไ ด้ล ง น า ม โ ด ย ป ร ะธ า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ 
ประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
o ก ) ค ว า ม เ ห็น เ กี่ย ว กับ ค ว า ม ถูก ต้ อ ง ค ร บ ถ้ว น 
เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 
o ข ) 
ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใ 
นของบริษัทฯ 
o ค ) 
ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ 
แ ล ะ ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ 
ข้อ กา ห น ด ข อ ง ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะ เท ศ ไ ท ย 
ห รื อ ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ 
ธุรกิจของบริษัทฯ 
o ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 
o จ ) 
ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโย 
ชน์ 
o ฉ) จานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 
และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 
o ช ) 
ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไ 
ด้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 
o ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ 
ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย 
จากคณะกรรมการบริษัทฯ 
7. ป ฏิ บัติ ก า ร อื่น ใ ด ต า ม ที่ ก ฎ ห ม า ย กา ห น ด ห รือ 
คณะกรรมการของบริษัทฯจะมอบหมาย 
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา ห น ด ค่า ต อ บ แ ท น แ ล ะ ส ร ร ห า ก ร ร ม ก า ร 
ทาหน้าที่พิจารณาการกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการและประธานค 
ณ ะ ผู้บ ริห า ร ร ว ม ทั้ง พิจ า รณ า ก ลั่น ก ร อ ง ก า ร ส ร ร ห า ก ร ร ม ก า ร 
ก่อนนาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ มีรายนามดังต่อไปนี้
รายนาม 1/ 
จานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม 
คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากร 
รมการ 
ในปี 2553 2/ 
1. 
นายธนินท์ เจียรวนน 
ท์ 
0/1 
2. 
นายสุภกิต เจียรวนน 
ท์ 
1/1 
3. 
นายอารุง สรรพสิทธิ์ 
วงศ์ 
1/1 
4. นายโชติ โภควนิช - 
หมายเหตุ 
1/ ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 
กุม ภ า พั น ธ์ 2 5 5 4 ไ ด้ มีม ติ แ ต่ ง ตั้ ง น า ย โ ช ติ โ ภ ค ว นิช 
ก ร ร ม ก า ร อิ ส ร ะ แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ 
เข้าเป็นสมาชิกในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมกา 
ร ทดแทน นายไฮนริช ไฮมส์ 
2 / ใ น ปี 2 5 5 3 
คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการมีการประชุม 
จานวน 1 ครั้ง
คณะกรรมการด้านการเงิน 
ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการด้านการ 
เงิน และ มีรายนามดังต่อไปนี้ 
รายนาม 
จานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม 
คณะกรรมการด้านการเงิน 
ในปี 2553 2/ 
1. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 5/5 
2. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ 5/5 
3. นายอารุง สรรพสิทธิ์วงศ์ 5/5 
4. นายโชติ โภควนิช - 
หมายเหตุ 
1/ ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 
กุม ภ า พั น ธ์ 2 5 5 4 ไ ด้ มีม ติ แ ต่ ง ตั้ ง น า ย โ ช ติ โ ภ ค ว นิช 
ก ร ร ม ก า ร อิ ส ร ะ แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ 
เข้าเป็นสมาชิกในคณะกรรมการด้านการเงิน ทดแทน นายเย้นส์ บี. 
เบสไซ 
2/ ในปี 2553 คณะกรรมการด้านการเงินมีการประชุม จานวน 5 
ครั้ง 
คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ 
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร 
ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริษัทในการกาหนดและทบทวนนโยบายก 
า ร กา กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ข อ ง บ ริ ษั ท
ตลอดจนดูแลให้บริษัทมีการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวอย่างเหมาะสม 
และ มีรายนามดังต่อไปนี้ 
รายนาม 1/ 
จานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม 
คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ 
ในปี 2553 2/ 
1. นายวิทยา เวชชาชีวะ 4/4 
2. ดร.โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ 4/4 
3. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 3/4 
หมายเหตุ 
1/ ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 
กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 5 4 ไ ด้ มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง 
และ ปรับเปลี่ยนตาแหน่งสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อยของ นายโชติ 
โภควนิช กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ ดังนี้ 
จ า ก เดิม ที่เป็น ส ม า ชิก ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ 
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร 
ป รับ เ ป ลี่ ย น เ ป็น ส ม า ชิก ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ 
คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ และ 
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด้ า น ก า ร เ งิน 2 / ใ น ปี 2 5 5 3 
คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ มีการประชุม จานวน 4 ครั้ง 
คณะผู้บริหารของบริษัท 
ณ วัน ที่ 1 มิถุน า ย น 2 5 5 4 ผู้บ ริห า ร ข อ ง บ ริษัท ฯ 
มีรายนามดังต่อไปนี้ 
รายนาม ตาแหน่ง 
1. นายศุภชัย 
เจียรวนนท์ 
ก ร ร ม ก า ร ก ร ร ม ก า ร ผู้จัด ก า ร ใ ห ญ่ แ ล ะ 
ประธานคณะผู้บริหาร
2. นายวิเชาวน์ 
รักพงษ์ไพโรจน์ 
ก ร ร ม ก า ร ก ร ร ม ก า ร ผู้ จัด ก า ร แ ล ะ 
หัว ห น้า ค ณ ะ ผู้บ ริห า ร ด้ า น ป ฏิ บัติ ก า ร – 
โครงข่ายและเทคโนโลยี 
3. นายชัชวาลย์ 
เจียรวนนท์ 
ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้อา น ว ย ก า ร บ ริห า ร - 
การลงทุนกลุ่ม 
4. 
ศาสตราจารย์พิเศษ 
อธึก อัศวานันท์ 
ร อ ง ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ 
หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านกฎหมาย 
5. นายวิลเลี่ยม 
แฮริส 
ผู้ อา น ว ย ก า ร บ ริ ห า ร 
ด้ า น พั ฒ น า ธุร กิจ ร ะ ห ว่า ง ป ร ะ เ ท ศ 
แ ล ะ ผู้ ช่ว ย ก ร ร ม ก า ร ผู้ จัด ก า ร ใ ห ญ่ 
/ประธานคณะผู้บริหาร 
6. นายนพปฎล 
เดชอุดม 
หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการเงิน 
7. นายธิติฏฐ์ 
นันทพัฒน์สิริ 
ผู้อานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย์ ทีวี 
8. นายอติรุฒม์ 
โตทวีแสนสุข 
ผู้อานวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอร์เจนซ์ และ 
ผู้อานวยการบริหาร - ด้านลูกค้าองค์กรธุรกิจ 
9. นายทรงธรรม 
เพียรพัฒนาวิทย์ 
ผู้ อา น ว ย ก า ร บ ริ ห า ร - 
ด้านลูกค้าองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่และบริการระห 
ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ 
แ ล ะ หัว ห น้า ค ณ ะ ผู้บ ริห า ร ด้า น ป ฏิบัติก า ร - 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหารลูกค้า 
หมายเหตุ
" ผู้ บ ริ ห า ร " ใ น หั ว ข้ อ นี้ 
มีค ว า ม ห ม า ย ต า ม ที่กา ห น ด โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา กับ ต ล า ด ทุน 
ซึ่ ง ห ม า ย ถึง ก ร ร ม ก า ร ก ร ร ม ก า ร ผู้ จัด ก า ร ใ ห ญ่ 
ผู้ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ร ะ ดั บ บ ริ ห า ร สี่ ร า ย แ ร ก 
นั บ ต่ อ จ า ก ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร ใ ห ญ่ ล ง ม า 
และผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่ากัีบผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกร 
าย 
บ ริ ษั ท ท รู ค อ ร์ ป อ เ ร ชั่ น จ า กั ด ( ม ห า ช น ) 
ผู้ น า ค อ น เ ว อ ร์ เ จ น ซ์ ไ ล ฟ์ ส ไ ต ล์ 
นาเสนอบริการและโซลูชั่นด้านการสื่อสารโทรคมนาคมอย่างคร 
บวงจร ธุรกิจหลักของทรูแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ 
True Online 
ท รูอ อ น ไ ล น์ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์ พื้ น ฐ า น 
แ ล ะบ ริก า ร เส ริม ต่า ง ๆ เช่น บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์ส า ธ า รณ ะ เป็น ต้น 
น อ ก จ า ก นี้ ยัง ร ว ม ถึง บ ริก า ร อิน เ ท อ ร์เ น็ต แ ล ะ บ ร อ ด แ บ น ด์ 
บริการโครงข่ายข้อมูล และบริการ WE PCT
ทรูออนไลน์เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานรายใหญ่ที่สุดในเขต 
ก รุงเท พ มห าน ค รแ ล ะป ริมณ ฑ ล โค รงข่าย โท รศัพ ท์พื้น ฐ าน ข อ ง 
ทรูเป็นโครงข่ายใยแก้วนาแสงที่ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย นอกจากนี้ 
ก ลุ่ ม ท รูยัง เ ป็น ผู้ ใ ห้บ ริก า ร อิน เ ท อ ร์เ น็ต แ ล ะ บ ริก า ร 
บ ร อ ด แ บ น ด์ ร า ย ใ ห ญ่ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ 
ร ว ม ทั้ ง เ ป็น ผู้ใ ห้บ ริก า ร ร า ย ใ ห ญ่ใ น ธุร กิจ รับ -ส่ง ข้อ มูล 
ยิ่ ง ไ ป ก ว่ า นั้ น ยั ง ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ส ริ ม ต่ า ง ๆ 
สาหรับลูกค้าทั่วไปและลูกค้าธุรกิจซึ่งใช้บริการโทรศัพท์พื้นฐานและบริ 
การอินเทอร์เน็ตของบริษัท 
บริการโทรศัพท์พื้นฐาน 
 บ ริ ก า ร โ ท ร ศั พ ท์ พื้ น ฐ า น 
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจานวน 2.6 ล้านเลขหมาย 
 บ ริ ก า ร โ ท ร ศั พ ท์ ส า ธ า ร ณ ะ 
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจานวน 26,000 ตู้ 
 บริการเสริมอื่นๆ ได้แก่ บริการรับฝากข้อความอัตโนมัติ (Voice 
Mailbox) บริการรับสายเรียกซ้อน (Call Waiting) บริการสนทนา 
3 ส า ย (Conference Call) บ ริก า ร โ อ น เ ล ข ห ม า ย ( Call 
Forwarding) บ ริ ก า ร เ ล ข ห ม า ย ด่ ว น ( Hot Line) 
บ ริ ก า ร ย่ อ เ ล ข ห ม า ย ( Abbreviated Dialing) 
บ ริก า ร โ ท ร ซ้า อัต โ น มัติ ( Automatic Call Repetition) 
บ ริก า ร จา กัด ก า ร โ ท ร อ อ ก (Outgoing Call Barring) 
บริการตู้สาขาอัตโนมัติระบบต่อเข้าตรง (Direct Inward Dialing - 
DID) บ ริ ก า ร เ ล ข ห ม า ย นา ห มู่ ( Hunting Line) 
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (Integrated Service 
Digital Network - ISDN) บ ริ ก า ร Televoting 
ซึ่งเป็นบริการที่ช่วยให้รับสายโทรศัพท์เรียกเข้าที่มีระยะเวลาสั้น ๆ 
ในจานวนสูงมากๆ บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) 
และ บริการประชุมผ่านสายโทรศัพท์ (Voice Conference)
บริการโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต (Voice over Internet Protocol - 
VoIP) 
 บ ริ ก า ร เ น็ ต ท อ ล์ ค 
ซึ่ ง ใ ห้บ ริก า ร ทั้ ง ใ น ร ะ บ บ ร า ย เ ดือ น แ ล ะ ร ะ บ บ เ ติม เ งิน 
โดยเปิดให้บริการทั้งการโทรระหว่างประเทศและการโทรภายในป 
ระเทศ 
 บริการเน็ตทอล์ค สามารถใช้ได้ทั้งการโทรจากเครื่องคอมพิวเตอร์ 
โทรศัพท์พื้นฐาน และโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
บริการบรอดแบนด์และอินเทอร์เน็ต 
 บริการบรอดแบนด์สาหรับลูกค้าทั่วไปผ่าน 2 เทคโนโลยี คือ 
Cable Modem และ DSL ด้วยความเร็วสูงสุด 16 Mbps 
 จุด ใ ห้บ ริก า ร อิน เท อ ร์เน็ต ไ ร้ส า ย ค ว า ม เร็ว สูง ก ว่า 1 7 ,0 0 0 
จุดทั่วประเทศ 
 บ ริก า ร เ ส ริม อื่น ๆ เ ช่น บ ริก า ร IPTV บ ริก า ร WhiteNet 
(เพื่อกลั่นกรองและสกัดจับภาพและสื่อบนอินเทอร์เน็ตที่ไม่เหมาะส 
ม สา ห รับ เ ย า ว ช น ) แ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม Norton Anti-Virus 
(เพื่อตรวจจับและกาจัดไวรัสแบบอัตโนมัติ) 
บริการโครงข่ายข้อมูล (Data Services) 
 บ ริ ก า ร ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ใ น ลั ก ษ ณ ะ โ ซ ลู ชั่ น 
ทั้งบริการด้านเสียงและข้อมูลไปด้วยกันผ่านเทคโนโลยีต่างๆ 
ประกอบด้วย บริการโครงข่ายข้อมูลดิจิตอล DDN (Digital Data 
Network) บ ริก า ร MPLS (Multi-protocol Label Switching) 
บริการ Metro Ethernet รวมทั้ง บริการวงจรเช่าผ่านเครือข่าย IP 
(IP based leased line) 
 บ ริ ก า ร ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร โ ค ร ง ข่ า ย ข้ อ มู ล 
แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ ค รื อ ข่ า ย ข้ อ มู ล 
ที่ ผ ส ม ผ ส า น บ ริก า ร จัด ก า ร ป ร ะ สิท ธิภ า พ ข อ ง เ ค รือ ข่า ย 
การบริหารข้อผิดพลาด และ การกาหนดค่าต่างๆ ของเครือข่าย
 บริการศูนย์อินเทอร์เน็ต ดาต้า เซ็นเตอร์ (Internet Data Center - 
IDC) 
ซึ่งเป็นบริการด้านความปลอดภัยสาหรับลูกค้าที่เป็นองค์กรธุรกิจข 
นาดใหญ่ 
บริการโทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่ (Personal Communication 
Telephone - WE PCT) 
 บ ริ ก า ร WE PCT 
เป็นบริการที่ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถพกพาโทรศัพท์บ้านไปใช้น 
อกบ้านได้ โดยใช้ หมายเลขเดียวกับโทรศัพท์บ้าน 
บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ 
 บริการโครงข่ายข้อมูลระหว่างประเทศ มี 3 รูปแบบบริการ คือ 
บ ริก า ร ว ง จ ร เช่า ส่ว น บุค ค ล ร ะ ห ว่า ง ป ร ะ เท ศ ( International 
Private Leased Circuit - IPLC) 
บ ริก ารวงจ รเช่าเส มือน ส่วน บุค ค ล ระห ว่างป ระเท ศ (Internet 
Protocol Virtual Private Network - IP VPN) แ ล ะ บ ริก า ร 
Virtual Node 
บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ 
 ทรูเปิดให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศอย่างเป็นทางก 
า ร ใ น ปี 2 5 5 1 โ ด ย ใ ห้บ ริก า ร ผ่า น ห ม า ย เ ล ข “0 0 6 ” 
ด้วยคุณภาพเสียงคมชัด ผ่านเทคโนโลยี TDM (Time Division 
Multiplexing) 
True Move 
ทรูมูฟ นาเสนอนวัตกรรมและระบบสื่อสารแบบไร้สาย 
เพื่อให้ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันและกัน ผ่านระบบการสื่อสาร 
ไร้สาย บนย่านความถี่ 1800 เมกะเฮิร์ตซ
ผ่านรูปแบบการบริการล้าสมัยและมีคุณภาพสูงแก่ลูกค้า 15 ล้านราย 
ทั่วประเทศ 
วิสัยทัศน์ในการดาเนินธุรกิจของทรูมูฟ คือ 
การเป็นผู้นาในการสร้างไลฟ์สไตล์การสื่อสารแบบไร้สาย 
เพื่อให้ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันและกัน ตลอดจนเข้าถึงความรู้ 
ข้อมูล และสาระบันเทิง ทุกที่ ทุกเวลา ตามต้องการ 
ด้วยบริการที่เหนือกว่าทั้งในด้านพื้นที่เครือข่ายการให้บริการ คุณภาพ 
และการบริการที่เป็นเลิศ รวมทั้งการเป็นผู้นาบริการ 3G ในประเทศไทย 
บริการ Pre Pay 
 ผู้ใช้บริการสามารถเติมเงินแบบ “over-the-air” ผ่านตัวแทนกว่า 
80,000 รายทั่วประเทศ หรือเติมเงินผ่านตู้โทรศัพท์สาธารณะกว่า 
18,000 เครื่อง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 
และบริการการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยทรูมันนี่ 
บริการ Post Pay 
 ผู้ใช้บริการสามารถเลือกอัตราค่าบริการรายเดือนตามความต้องก 
าร 
บริการเสียง 
 บริการเสียง ประกอบด้วย บริการรับสายเรียกซ้อน 
บริการโอนสายเรียกเข้า บริการสนทนาสามสาย 
และบริการแสดงหมายเลขโทรเข้า 
และบริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศ 
บริการที่ไม่ใช่เสียง 
 ทรูมูฟให้บริการที่ไม่ใช่เสียงที่หลากหลาย ซึ่งประกอบด้วย 
บริการส่งข้อความไปยังผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น 
(SMS) 
บริการส่งข้อความเสียงไปยังผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และโทร 
ศัพท์พื้นฐาน (Voice SMS) บริการรับฝากข้อความ (Voicemail) 
บริการส่งภาพ ข้อความและเสียง
ไปยังผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น (MMS) 
บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตบนมือถือผ่านทาง EDGE/GPRS 
บริการ คอนเทนท์มัลติมีเดีย และบริการเสียงรอสาย (Ring-back 
Tone) 
การจาหน่ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ 
 ทรูมูฟจัดจาหน่ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพสูง 
รวมทั้งอุปกรณ์ ตลอดจน พีดีเอโฟน และสมาร์ทโฟน 
จากบริษัทผู้ผลิตชั้นนา อาทิ iPhone และ BlackBerry 
 เครื่องโทรศัพท์ที่ทรูมูฟจัดจาหน่าย 
เป็นทั้งการจาหน่ายเครื่องเปล่าโดยไม่ผูกพันกับบริการใดๆ 
กับการจาหน่ายเครื่องโดยลูกค้าใช้แพ็คเกจรายเดือนจากทรูมูฟ 
บริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศ 
 ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จากต่างประเทศที่เดินทางมาเมืองไทย 
สามารถใช้บริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศผ่านโครงข่า 
ยของทรูมูฟ 
ในกรณีที่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของชาวต่างชาติรายนั้นๆ 
มีสัญญาโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศกับทรูมูฟ 
และในขณะเดียวกันผู้ใช้บริการทรูมูฟในประเทศไทยก็สามารถใ 
ช้บริการนี้ เมื่อเดินทางไปยังต่างประเทศได้อีกด้วย 
 ทรูมูฟเข้าร่วมเครือข่ายพันธมิตรกับคอนเน็กซัส โมบายล์ 
(Conexus Mobile Alliance) และทราเวลลิ่ง คอนเน็กซ์ 
(Travelling Connect) 
True visions 
ท รู วิ ชั่ น ส์ ( ชื่ อ เ ดิ ม ยู บี ซี ) คื อ 
ผู้นา ใ น ก า ร ใ ห้บ ริก า ร โ ท ร ทั ศ น์ร ะ บ บ บ อ ก รับ เ ป็น ส ม า ชิก 
ซึ่ ง ใ ห้ บ ริ ก า ร ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ผ่ า น 
ดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสู่บ้านสมาชิก และผ่านโครงข่ายเคเบิล
ช่องรายการในประเทศและต่างประเทศ 
 ท รู วิ ชั่ น ส์ นา เ ส น อ ค ว า ม บั น เ ทิ ง ด้ ว ย 8 6 
ช่อ ง ร า ย ก า ร ชั้น นา ทั้ ง จ า ก ใ น ป ร ะ เท ศ แ ล ะ ต่า ง ป ร ะ เท ศ 
ซึ่งประกอบด้วย ภาพยนต์ (เช่น HBO, Cinemax, Star Movies 
แ ล ะ Hallmark) กี ฬ า ( เ ช่ น ESPN, Star Sports 
แ ล ะ ร า ย ก า ร ข อ ง ท รูวิชั่น ส์เอ ง ) ส า ร ะ บัน เทิง (เช่น History 
Channel, Discovery Channel แ ล ะ National Geographic) 
ข่า ว ( เ ช่น CNN, CNBC, Bloomberg แ ล ะ BBC World) 
แ ล ะ ซี รี ย์ ต่ า ง ๆ 
(ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรายการที่ทรูวิชั่นส์ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในป 
ระเทศไทย) รวมทั้งรายการจากสถานีโทรทัศน์ภาคปกติของไทย 
( Free TV) แ ล ะ บ ริ ก า ร Pay Per View น อ ก จ า ก นี้ 
ท รูวิชั่น ส์ยัง ไ ด้รับ ลิข สิท ธิ์เพีย ง ผู้เ ดีย ว ใ น ป ร ะ เท ศ ไ ท ย 
ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ส ด ก า ร แ ข่ ง ขั น ฟุ ต บ อ ล 
พรีเมียร์ลีกของประเทศอังกฤษอีกด้วย 
แพ็คเกจรายเดือน 
 ท รูวิชั่น ส์ใ ห้บ ริก า ร แ พ็ค เก จ ร า ย เดือ น 4 แ พ็ค เก จ ไ ด้แ ก่ 
แพ็คเกจแพลทินัม (Platinum) ซึ่งเสนอช่องรายการทั้งหมด 86 
ช่อง แพ็คเกจโกลด์ (Gold) มี 77 ช่อง แพ็คเกจซิลเวอร์ (Silver) มี 
63 ช่อง และ ทรู โนว-เลจ มี 54 ช่อง 
 นอกจากนี้ ทรูวิชั่นส์ยังนาเสนอแพ็คเกจตามสั่ง (A-La-Carte) 
ซึ่งประกอบด้วย 10 ช่องรายการเช่น NHK, HBO, Disney และ 
Discovery 
บริการสาหรับลูกค้าระดับกลาง-ล่าง 
 ทรูวิชั่นส์เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วประเทศสามารถรับชมรายกา 
รข อ งท รูวิชั่น ส์ผ่าน ก ารส มัค รส ม าชิก แพ็ค เก จ ท รูไลฟ์ฟ รีวิว 
และฟรีทูแอร์ ซึ่งเป็นโปรโมชั่นระหว่างทรูมูฟและทรูวิชั่นส์
True money 
ทรูมันนี่ให้บริการบัตรเติมเงินอิเล็คทรอนิกส์และเป็นตัวแทนรับชา 
ระค่าสินค้าและบริการ ทั้งสินค้าและบริการของกลุ่มทรู และบริการอื่นๆ 
อ า ทิ ค่ า ไ ฟ ฟ้ า ค่ า น้า ป ร ะ ป า 
รวมทั้งการชาระค่าบริการให้กับร้านค้าที่ทาธุรกรรมผ่านระบบอีคอมเมิร์ 
ซ เป็นต้น 
บัตรเงินสดทรูมันนี่ 
 บั ต ร เ งิ น ส ด ท รู มั น นี่ 
ช่ว ย ใ ห้ผู้ใ ช้บ ริก า ร ท รูมูฟ แ ล ะ ก ลุ่ม ท รูส า ม า ร ถ เ ติม เ งิน 
แ ล ะ ชา ร ะ เ งิน ใ ห้กับ บ ริก า ร ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ น ก ลุ่ม ท รู 
รวมทั้งชาระค่าสินค้าและบริการอื่นๆ 
ตัวแทนรับชาระและจัดเก็บค่าสินค้าและบริการ 
 ระบบชาระเงินออนไลน์ 
 “WeBooking by TrueMoney” เป็น บ ริก า ร จ อ ง จ่า ย ค ร บ ว ง จ ร 
ด้วยจุดเด่น “จองง่าย จ่ายสะดวก รวดเร็ว หลายช่องทาง” 
 บ ริ ก า ร ท รู มั น นี่ เ อ็ ก ซ์ เ พ ร ส 
จุด รับ ชา ร ะ ค่า บ ริก า ร ผ่า น ร ะ บ บ แ ฟ ร น ไ ช ส์ 
โ ด ย ร่ว ม มือ กับ ธุร กิจ ค้า ป ลีก ใ ห้บ ริก า ร ค ร อ บ ค ลุม 2 ,0 0 0 
จุดทั่วประเทศ 
บริการการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ทรูมูฟ (บริการทรูมันนี่) 
 เป็น บ ริก า ร ที่ อา น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ก่ผู้ใ ช้บ ริก า ร ท รูมูฟ 
ให้สามารถทาธุรกรรมทางการเงินต่างๆ บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
ทัชซิม 
 ซิ ม อั จ ฉ ริ ย ะ บ น โ ท ร ศั พ ท์ เ ค ลื่ อ น ที่ ท รู มู ฟ 
เพื่อชาระค่าบริการด้วยเทคโนโลยี RFID 
True life+ 
ท รู ไ ล ฟ์ เ ป็ น บ ริ ก า ร ดิ จิ ต อ ล ค อ น เ ท น ท์ 
และเป็นช่องทางที่ทาให้สามารถเข้าถึงชุมชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่และ
ชุ ม ช น อ อ น ไ ล น์ 
อีก ทั้ ง ยัง เป็น สื่อ สา ห รับ ธุร ก ร ร ม ร ะ ห ว่า ง ผู้บ ริโ ภ ค กับ ผู้บ ริโ ภ ค 
ธุรกิจกับผู้บริโภค และธุรกิจกับธุรกิจ 
พอร์ทัลออนไลน์ 
 Truelife.com ใ ห้ บ ริ ก า ร ชุ ม ช น อ อ น ไ ล น์ 
ซึ่งผู้ใช้สามารถติดต่อและสื่อสารระหว่างกัน 
 Truelife.com มีค อ น เท น ท์ห ลัก 4 ป ร ะ เภ ท คือ ด น ต รี กีฬ า 
รายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ 
เกมออนไลน์ 
 กลุ่มทรูเป็นผู้ให้บริการเกมออนไลน์ชั้นนาของไทยหลายเกมด้วยกั 
น อ า ทิ Special Force, Lineage II, Guild Wars แ ล ะ Point 
Blank 
ทรูไลฟ์ช้อป 
 ท รู ไ ล ฟ์ ช้ อ ป 
เป็นสถานที่ที่ให้ลูกค้าได้สัมผัสกับประสบการณ์คอนเวอร์เจนซ์ไล 
ฟ ส ไ ต ล์ ด้ว ย ผ ลิต ภัณ ฑ์แ ล ะบ ริก า รห ล า ก ห ล าย ข อ งก ลุ่ม ท รู 
รวมไปถึงทรูคอฟฟี่ ทรูมิวสิค และบริการบรอดแบนด์ 
ทรูไลฟ์พลัส 
 ทรูไลฟ์พลัส เป็นการผสานผลิตภัณฑ์และบริการภายในกลุ่มทรู 
เพื่อนาเสนอแพ็คเกจที่ตรงใจตามไลฟ์สไตล์ของผู้ใช้บริการ 
บริการช้อปปิ้งออนไลน์ 
 บ ริก า ร ช้อ ป ปิ้ ง อ อ น ไ ล น์ www.weloveshopping.com 
เป็นศูนย์รวมร้านค้าออนไลน์กว่า 150,000 ร้าน และมีสินค้ากว่า 2 
ล้านรายการ 
รางวัล 
2546
True received a disclosure award 2003 from the securities 
and exchange commission of Thailand. 
2547 
ร า ง วัล บ ริษัท ที่มีศัก ย ภ าพ เชิง แ ข่ง ขัน ที่โ ด ด เด่น ที่สุด (Best 
Competitive Carrier) จาก Telecom Asia Magazine ประจาปี 2547 
ท รู เ ป็น บ ริษั ท ไ ท ย บ ริษั ท แ ร ก ที่ ไ ด้ รับ ร า ง วัล นี้ 
จากการประกาศรางวัลเป็นครั้งที่ 7 
Disclosure Award 
ในฐานะที่เป็นบริษัทด้านเทคโนโลยีที่มีการกากับดูแลกิจการและบรรษัท 
ภิบาล ที่ดี ทรูเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ชั้นนาของไทย 
ที่ ไ ด้รับ ร า ง วัล นี้ติด ต่อ กัน เป็น ปีที่ 2 ทั้ ง นี้จ า ก ก า ร สา ร ว จ โ ด ย 
สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ภายใต้การสนับสนุน 
จ า ก ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ( ต . ล . ท ) 
และสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ 
(สานักงาน กลต.) 
รางวัล Technology Fast 500 Asia Pacific Company Awards 
ท รู ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล 
บริษัทสื่อสารโทรคมนาคมที่สร้างสรรค์นวัตกรรมต่อเนื่องและเจริญเติบโ 
ตอย่างรวดเร็ว ประจาปี 2547 จากบริษัท Deloitte Touche Tohmatsu 
Super Brand 2 0 0 4 ท รูไ ด้รับ ก า ร คัด เลือ ก จ า ก ผู้บ ริโ ภ ค ใ ห้เป็น 
Thailand Superbrand ประเภทบริษัทผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคม 
จากผลการสารวจ Asia Superbrand ของ Readers’ Digest ปี 2547 
2548
ทรูได้รับรางวัล บริษัทที่มีศักยภาพเชิงแข่งขันที่โดดเด่นที่สุด 
(Best Competitive Carrier) จ า ก Telecom Asia ป ร ะ จา ปี 2 5 4 8 
โดยได้รับรางวัลนี้ติดต่อกันเป็นปีที่ 2 
ทรูได้รับคัดเลือกจากผู้บริโภคให้เป็น Thailand Superbrand 
ติด ต่อ กัน เป็น ปีที่ 2 จ า ก ผ ล ก า ร สา ร ว จ Asia Superbrand ข อ ง 
Readers’ Digest ปี 2548 
ทรูได้รับคัดเลือกให้เป็น “Most Promising Service Provider” 
จาก Frost & Sullivan Asia Pacific Technology Awards 2005 
ทรูได้รับรางวัล B.A.D. (Bangkok Art Directors Association) 
สาหรับกราฟฟิก ดีไซน์ หมวดปฏิทิน ปี 2548 
ทรูได้รับรางวัล เว็บไซต์ที่มีสถิติการเยี่ยมชมสูงสุดในหมวดธุรกิจ 
จัดโดย NECTEC 
ท รูไ ด้รับ ร า ง วัล ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ดีเด่น ด้า น ส วัส ดิก า ร 
จากกระทรวงแรงงาน 
2550 
โฆษณาชุด "ปาติหาน" รับรางวัล "สื่อสร้างสรรค์สุขภาพจิต" 
สาขาโฆษณาโทรทัศน์ จากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข 
โ ฆ ษ ณ า ชุด " ท า ดี ใ ห้พ่ อ ดู " ไ ด้ รับ ร า ง วัล Best Award 
ป ร ะเภ ท สื่อ โ ฆ ษณ าเทิด ทูน ใ น ห ล ว ง แ ล ะโฆ ษณ าชุด "ป าติห าน " 
รับ รางวัล Silver Award ป ระเภทโทรค มน าค ม อุป กรณ์สานัก งาน 
และบริการ ในงานประกวดโฆษณา Adman Awards & Symposium 
2007 จาก สมาคม โฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย 
บริษัท ทรู ทัช จากัด ผู้ให้บริการ "ศูนย์บริการลูกค้าครบวงจร" 
รั บ ร า ง วั ล ช น ะ เ ลิ ศ ป ร ะ เ ภ ท Best Outsource Call Center 
จากการส่งผลงานของลูกค้าจากสายการบินนกแอร์ เข้าประกวด 2007
Thailand National Call Center Awards จ า ก The Call Centre 
Industry Association of Thailand (CCIA) 
ออนทรูไลฟ์ (OnTM TrueLife) รับรางวัลชนะเลิศจากสาขา Media 
and Entertainment ในการประกวดการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านต่างๆ 
ข อ ง โ ค ร ง ก า ร Thailand ICT Award 2 0 0 7 
จ า ก ก ร ะท ร ว ง เท ค โ น โล ยีส า ร ส น เท ศ แ ล ะก า ร สื่อ ส า ร , SIPA แ ล ะ 
สมาคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ (เอทีซีไอ) 
อ อ น ท รูไ ล ฟ์ ( onTM TrueLife) รั บ ร า ง วั ล Merit Award 
จากการประกวดแข่งขันระดับ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หรือ Asia Pacific 
ICT Alliance (APICTA) Awards ห ม ว ด สื่อ แ ล ะ บัน เทิง จ า ก Asia 
Pacific ICT Alliance 
สื่อ Online Shark Hunter Game ช น ะ ก า ร ป ร ะ ก ว ด TDMA 
Awards 2007 รับรางวัล Silver Award ประเภท Interactive/Website 
จาก สมาคมนักการตลาดแบบตรงไทย 
รายการเกมส์เก๋า จาก G2 ช่องเกมแห่งแรกของไทย ทางทรูวิชั่นส์ 
โ ด ย บ ริษัท ท รู ดิ จิต อ ล เ อ็น เ ต อ ร์เ ท น เ ม้น ท์ จา กัด 
รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 8 ในสาขาวิทยุโทรทัศน์ ในฐานะ 
ร า ย ก า ร ดีเด่น ที่ใ ห้ส า ร ะ ค ว า ม รู้ ค ว า ม บัน เทิง แ ก่เย า ว ช น จ า ก 
สมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 
2551 
ช่องรายการ Gsquare ทางทรูวิชั่นส์ ช่องเกมแห่งแรกของไทย 
ได้รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 9 ในสาขาวิทยุโทรทัศน์ 
ป ร ะ เ ภ ท อ ง ค์ ก ร ดี เ ด่ น ป ร ะ จ า ปี 2 5 5 0 
จากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True
ประวัติ True

More Related Content

What's hot

กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
Seminar telecomunication
Seminar   telecomunicationSeminar   telecomunication
Seminar telecomunicationpurithem
 
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475Thongkum Virut
 
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิตหน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิตวุฒิชาติ มาตย์นอก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียtimtubtimmm
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาThongsawan Seeha
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
Truecorporation
TruecorporationTruecorporation
Truecorporation
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
Seminar telecomunication
Seminar   telecomunicationSeminar   telecomunication
Seminar telecomunication
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
การปกครองของไทยตั้งแต่อดีตจนถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475
 
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิตหน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
หน่วย4 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 

Similar to ประวัติ True

ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1Tn' Nam
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community societySirirat Yimthanom
 
True move
True moveTrue move
True moveTn' Nam
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plansiriporn pongvinyoo
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตอิ่' เฉิ่ม
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตVee PK
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Software Park Thailand
 
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมAec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมKhommie Treeruk
 

Similar to ประวัติ True (20)

ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
True move
True moveTrue move
True move
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 
D T A C
D T A CD T A C
D T A C
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
7 eleven
7 eleven7 eleven
7 eleven
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)บริษัท  การบินไทย จำกัด (มหาชน)
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
Smart Industry Vol.16/2011 "อุตสาหกรรมท่องเที่ยว น่านน้ำสีน้ำเงิน ของซอฟต์แวร...
 
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมAec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
 

ประวัติ True

  • 1. TRUE MOVE บ ริษัท ก่อ ตั้ง ขึ้น ค รั้ง แ ร ก ใ น เดือ น พ ฤ ศ จิก า ย น 2 5 3 3 ในฐานะผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานภายใต้สัญญาร่วมการงานและร่วม ล ง ทุน กับ บ ริษัท ทีโ อ ที จ า กัด (ม ห า ช น ) ( “ทีโ อ ที”) ใ น ปี 2 5 3 6 บ ริ ษั ท ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ส ถ า น ะ เ ป็ น บ ริ ษั ท ม ห า ช น แ ล ะ เข้า จ ด ท ะ เบีย น ใ น ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะเท ศ ไ ท ย ใ น ชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2 5 3 6 มีชื่ อ ย่อ ห ลัก ท รัพ ย์ว่า “TA” ใ น เ ดือ น เ ม ษ า ย น 2 5 4 7 บ ริษัท ไ ด้มีก า ร ป รับ เ ป ลี่ ย น ภ า พ ลัก ษ ณ์ ภ า ย ใ ต้แ บ ร น ด์ท รู แ ล ะ ไ ด้เป ลี่ย น ชื่อ เป็น บ ริษัท ท รู ค อ ร์ป อ เร ชั่น จ า กัด (ม ห าช น ) มีชื่อย่อหลักทรัพย์ว่า “TRUE” นอกจากนี้บริษัทยังได้รับอนุญาตให้เปิดบริการเสริมต่างๆ เช่น บริการโทรศัพท์สาธารณะและบริการอื่นๆ เพิ่มเติม โดยในปี 2542 บริษัทได้เปิดให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานพกพา WE PCT และในปี 2 5 4 4 บ ริ ษั ท ( ผ่ า น บ ริ ษั ท ย่ อ ย ) ไ ด้ เ ปิด ใ ห้บ ริก า ร โ ค ร ง ข่า ย สื่อ ส า ร ข้อ มูล ค ว า ม เ ร็ว สูง ซึ่งประกอบด้วยบริการ ADSL และบริการ Cable Modem และในปี 2546 ได้เปิดให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไร้สายหรือบริการ Wi-Fi ใ น ปี 2 5 5 0 บริษัทย่อยได้เปิดให้บริการโครงข่ายอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศและเปิ ดให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศในปี 2551
  • 2. ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทได้เข้าถือหุ้น ในบริษัทกรุงเทพ อิน เ ต อ ร์เ ท เ ล เ ท ค จา กัด ( ม ห า ช น ) ห รือ “BITCO” (ซึ่งเป็นบริษัทที่ถือหุ้นในบริษัท ทีเอ ออเร้นจ์ จากัด) ในอัตราร้อยละ 4 1 .1 ซึ่ง นับ เป็น ก า ร เริ่ม เข้า สู่ธุร กิจ โ ท ร ศัพ ท์เค ลื่อ น ที่ ทั้ง นี้ ทีเอ ออ เร้น จ์ได้เปิด ให้บ ริก ารอ ย่างเต็มรูป แ บ บ ใน เดือน มีน าค ม 2 54 5 แ ล ะ ไ ด้ เ ป ลี่ ย น ชื่ อ เ ป็ น “ท รู มูฟ ” เ มื่ อ ต้ น ปี 2 5 4 9 บริษัทได้เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นใน BITCO มากขึ้นตามลาดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นใน BITCO คิดเป็นร้อยละ 9 3 .4 ต่อ ม าใ น เดือ น ธัน ว า ค ม 2 5 5 0 เค รือ เจ ริญ โภ ค ภัณ ฑ์ (ซีพี) ส นับ ส นุน ธุร กิจ ท รูมูฟ ผ่า น วิธีก า ร ซื้ อ หุ้น เพิ่ ม ทุน ข อ ง BITCO ทาให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทใน BITCO ลดลงเป็นอัตราร้อยละ 7 5 . 3 ใ น ข ณ ะ ที่ ซี พี มีสัด ส่ว น ก า ร ถือ หุ้ น ใ น BITCO เพิ่มขึ้นเป็นอัตราร้อยละ 23.9 ในเดือนมิถุนายน 2552 บริษัทได้ซื้อคืนหุ้น BITCO จานวน 6 พั น ล้ า น หุ้ น จ า ก ซี พี ทาให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นในทรูมูฟเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 98.9 ในเดือนมกราคม 2549 บริษัทได้เข้าซื้อหุ้น ยูบีซี จาก MIH ทั้งหมด และต่อมาได้ดาเนินการเข้าซื้อหุ้นสามัญจากรายย่อย (Tender Offer) ทาให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้นทางอ้อมในยูบีซี ร้อยละ 91.8 ภายหลังการเข้าซื้อหุ้นจากผู้ถือหุ้นรายย่อย เสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซี ได้เปลี่ยนชื่อเป็นทรูวิชั่นส์ เมื่อต้นปี 2550 บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) ผู้ น า ค อ น เ ว อ ร์ เ จ น ซ์ ไ ล ฟ์ ส ไ ต ล์ ซึ่ ง เ ชื่ อ ม โ ย ง ทุ ก บ ริ ก า ร พ ร้ อ ม พั ฒ น า โ ซ ลู ชั่ น ตอบสนองตรงใจลูกค้าทุกกลุ่มเป้าหมาย
  • 3. ธุร กิจ ห ลัก ข อ ง ก ลุ่ ม ท รูป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ท รูมูฟ ผู้ใ ห้บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์เค ลื่อ น ที่ร า ย ใ ห ญ่อัน ดับ ส า ม ข อ ง ป ร ะ เท ศ ท รู อ อ น ไ ล น์ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตและบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ตรายใหญ่ที่สุดของป ร ะ เ ท ศ ร ว ม ทั้ ง เ ป็น ผู้ ใ ห้บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์ พื้ น ฐ า น ร า ย ใ ห ญ่ที่ สุด ใ น เ ข ต ก รุง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ ป ริม ณ ฑ ล แ ล ะ ท รู วิ ชั่ น ส์ ผู้ให้บริการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิกทั่วประเทศรายเดียวของปร ะเทศไทย นอกจากนี้ยังมีอีก 2 ธุรกิจหลัก คือ ทรูมันนี่ ซึ่งให้บริการ E-Commerce แ ล ะ ท รูไ ล ฟ์ ซึ่ ง ใ ห้บ ริก า ร ดิจิต อ ล ค อ น เท น ท์ต่า ง ๆ สาหรับกลุ่มทรู และทรู คอฟฟี่ ทรู ได้รับก ารสนับ สนุน จากเครือเจริญโภคภัณ ฑ์ (ซีพี) ก ลุ่ม ธุรกิจ ด้าน ก ารเกษ ต รค รบ วงจ รที่ให ญ่ที่สุด ใน ภูมิภ าค เอ เชีย ซึ่ ง ถื อ หุ้ น ท รู ใ น สั ด ส่ ว น ร้ อ ย ล ะ 5 8 . 2 มีทุนจดทะเบียนที่เรียกชาระแล้วทั้งสิ้น 77,757 ล้านบาท ณ วันที่ 18 มี น า ค ม ปี 2 5 5 2 และปัจจุบันทรูเป็นหนึ่งในแบรนด์ที่แข็งแกร่งและได้รับการยอมรับในปร ะเทศไทย ใน ปี 2552 กลุ่มบ ริษัททรูมีรายได้รวม 63 พันล้าน บาท (ร ว ม ค่า เชื่อ ม โ ย ง โ ค ร ง ข่า ย ) แ ล ะ มีสิน ท รัพ ย์ทั้ ง ห ม ด ก ว่า 2 0 0 พันล้านบาท โดยมีพนักงานประจาทั้งสิ้น 14,641 คน
  • 4. ท รู ผู้ น า ค อ น เว อ ร์เจ น ซ์ไ ล ฟ์ส ไ ต ล์ร า ย เดีย ว ข อ ง ไ ท ย ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ บรอดแบนด์ โทรศัพท์พื้นฐาน บริการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก และบริการ Wi-Fi พ ร้อ ม บ ริก ารด้าน อีค อ ม เมิร์ซ แ ล ะดิจิต อ ล ค อ น เท น ท์ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย พัน ธกิจ ข องก ลุ่มท รู คือ ก ารนาค วาม รู้ ข้อมูล ข่าวส าร ส า ร ะ แ ล ะ ค ว า ม บั น เ ทิ ง ต่ า ง ๆ รวมทั้งความสะดวกสบายเพื่อคนไทยทั่วประเทศตลอดจนเยาวชนของช า ติ โ ด ย มุ่ง มั่น ที่ จ ะ ส ร้า ง คุณ ค่า ใ ห้กับ ผู้ถือ หุ้น ลูก ค้า อ ง ค์ก ร และพนักงาน แ ก่น แ ท้ซึ่ ง เ ป็น ที่ ม า ข อ ง วิสัย ทั ศ น์ข อ ง บ ริษัท คือ คุ ณ ค่ า ค ว า ม เ ป็ น ท รู ที่แสดงออกในชีวิตประจาวันและเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประกอบด้วย ส ร้า ง ส ร ร ค์ : เ ร า พ ย า ย า ม เ ส า ะ ห า แ น ว คิด ใ ห ม่ๆ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ห ม่ ๆ ซึ่งจะนามาซึ่งผลิตภัณฑ์และบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ เอาใจใส่: เราทุ่มเทเอาใจใส่ทาในสิ่งที่เหมาะที่ควรเพื่อลูกค้า เพื่อนร่วมงาน และคู่ค้าของเรา ก ล้า คิด ก ล้า ท า : เร า ป ฏิบัติง า น ด้ว ย ค ว า ม เด็ด เดี่ ย ว ประเมินความเสี่ยงอย่างสุขุมและเรียนรู้จากข้อผิดพลาด เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ : เรามุ่งมั่นดาเนินธุรกิจภายใต้การกากับดูแลกิจการที่ดี มีความซื่อสัตย์ สื่อสารอย่างตรงไปตรงมา และรับผิดชอบในการกระทาของเรา ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ทาให้ทรูมีเอกลักษณ์โดดเด่นและ แ ต ก ต่ า ง จ า ก ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ร า ย อื่ น ๆ ด้วยการผสานบริการสื่อสารครบวงจรเข้ากับคอนเทนท์ที่หลากหลาย น อ ก จ า ก นี้ ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ยังเป็นปัจจัยหลักในการเพิ่มยอดผู้ใช้บริการ
  • 5. และทาให้ลูกค้ามีความผูกพันกับบริการและสามารถใช้ผลิตภัณฑ์และบ ริก า ร ต่ า ง ๆ ข อ ง ก ลุ่ ม ไ ด้ อ ย่า ง เ ต็ ม ป ร ะ สิท ธิภ า พ เราเชื่อมั่นว่ายุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์จะให้คุณค่าแก่ลูกค้าได้มากยิ่ง ขึ้ น ตลอดจนจะสร้างความเติบโตและเพิ่มรายได้แก่บริษัททั้งในระยะกลางแ ละระยะยาว ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ไลฟ์สไตล์ได้รับการตอบรับเป็นอ ย่ า ง ดี จ า ก ค ร อ บ ค รั ว ผู้ ใ ช้ บ ริ ก า ร ไ ท ย โ ด ย จา น ว น ผู้ใ ช้ผ ลิต ภัณ ฑ์ แ ล ะ บ ริก า ร ข อ ง ก ลุ่ม ท รูตั้ ง แ ต่ 2 ราย ก ารขึ้น ไป เติบ โตอย่างรวด เร็ว ดังแส ด งใน แผ น ภ าพ ด้าน ล่าง จานวนครัวเรือนทั่วประเทศที่ใช้ผลิตภัณฑ์และบริการของกลุ่มทรูตั้งแต่ 2 รายการขึ้นไป
  • 6. บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) วิสัยทัศน์ (Vision) การเป็นผู้ให้บริการด้านการสื่อสารครบวงจรและมุ่งตอบสนองต่อลู ก ค้ า เ ป็ น ห ลั ก อีกทั้งยังเป็นผู้ให้บริการหนึ่งเดียวของประเทศที่ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐ า น ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ไ ร้ส า ย อิน เ ท อ ร์เ น็ต ค ว า ม เ ร็ว สูง และผลิตภัณฑ์และบริการด้านเนื้อหาต่างๆอย่างหลากหลาย พันธะกิจ (Mission) แนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประกอบด้วย เชื่อถือได้ - เราซื่อตรงและให้เกียรติทุกคนและร่วมกันทางานเพื่อความสาเร็จร่ วมกัน - เราสื่อสารอย่างซื่อตรงและเน้นถึงประโยชน์ของบริษัทเป็นสาคัญ - เราพยายามทาในสิ่งที่เหมาะที่ควรเพื่อลูกค้าของเรา - เราพร้อมจะตัดสินใจและรับผิดชอบในการกระทาของเรา สร้างสรรค์ - เราพยายามเสาะหาแนวคิดใหม่ๆ และวิธีการใหม่ๆ ซึ่งจะนามาซึ่งผลิตภัณฑ์และบริการที่เปี่ยมด้วยคุณภาพ
  • 7. - เราแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเพื่อเสริมสร้างความเข้มแ ข็งในการทางานร่วมกัน - เราทางานด้วยความท้าทายซึ่งทาให้ธุรกิจของเราพัฒนาไปสู่ควา มก้าวหน้าเหนือผู้อื่น เอาใจใส่ - เราเชื่อมั่นว่าพนักงานของเราคือสินทรัพย์ที่มีค่ายิ่งของบริษัท - เราตั้งใจจะทางานร่วมกันด้วยความสามัคคีและมอบสิ่งที่ถูก ที่ควรให้กับลูกค้า เพื่อนร่วมงาน และคู่ค้าของเรา - เราปฏิบัติต่อผู้อื่นในลักษณะเดียวกับที่เราอยากให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อเร า - เรายอมรับผลงานและยินดีในความสาเร็จของกันและกัน - เราสร้างสัมพันธภาพที่ยั่งยืนกับคู่ค้าของเรา กล้าคิดกล้าทา - เรามีความปรารถนาที่แน่วแน่เพื่อพัฒนาบริษัทของเราและเป็นผู้ นาในตลาดการค้า - เราปฏิบัติงานด้วยความเด็ดเดี่ยว ประเมินความเสี่ยงอย่างสุขุมและเรียนรู้จากข้อผิดพลาด - เราตระหนักดีว่าโอกาสเกิดจากความรับผิดชอบและความรู้สึกเป็นเ จ้าของในงานนั้นๆ เป้าหมาย (Goal)
  • 8. ก า ร เ ป็ น ผู้ นา Convergence lifestyle enabling ผ่านบริการทั้งหมดของกลุ่มซึ่งมีครบวงจร ไม่ว่าจะเป็น Wire line หรือ Wireless ตั้งแต่โทรศัพท์พื้นฐาน, WE PCT บรอดแบนด์, อินเทอร์เน็ต แ ล ะ ร ว ม ไ ป ถึง ก า ร ใ ห้บ ริก า ร เ ค เ บิ้ล ทีวี บ ริก า ร ต่า ง ๆ เห ล่า นี้ เป็นช่องทางที่จะทาให้เราสามารถเติมเต็มชีวิตของลูกค้าทุกกลุ่มให้ครบ ถ้ ว น ร ว ม ถึ ง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร โ ซ ลู ชั น ท า ง ธุ ร กิ จ ทั้งแก่ลูก ค้าอ งค์ก รและลูกค้า SME, วิเค ราะห์ทัศน ภาพ Scenario Analysis และการวิเคราะห์สถานการณ์ โครงสร้างการจัดการ
  • 9. คณะกรรมการของบริษัท ณ วัน ที่ 1 มิถุน า ย น 2 5 5 4 ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริษัท ฯ ป ร ะ ก อ บ ด้ว ย บุค ค ล ผู้ท ร ง คุณ วุฒิ จา น ว น ร ว ม ทั้ ง สิ้น 1 5 ท่า น ประกอบด้วย (1) กรรมการที่เป็นผู้บริหาร (Executive Directors) จานวน 4 ท่าน (2) กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร (Non-Executive Directors) จานวน 11 ท่าน ประกอบด้วย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จานวน 5 ท่าน หรือเท่ากับ ร้อยละ 33.3 ของจานวนกรรมการทั้งคณะ - ก ร ร ม ก า ร ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง ไ ม่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ป ร ะ จา ซึ่งรวมตัวแทนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จานวน 6 ท่าน คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2554 มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม ตาแหน่ง จานวนครั้งที่เข้าร่วม ประชุม คณะกรรมการบริษัท ในปี 2553 1/ 1. น า ย วิ ท ย า เวชชาชีวะ ก ร ร ม ก า ร อิส ร ะ แ ล ะ ประธานคณะกรรมการตรว จสอบ 8/8 2. ด ร . โ ก ศ ล เพ็ชร์สุวรรณ์ ก ร ร ม ก า ร อิส ร ะ แ ล ะ กรรมการตรวจสอบ 8/8
  • 10. 3. น า ย โ ช ติ โภควนิช ก ร ร ม ก า ร อิส ร ะ แ ล ะ กรรมการตรวจสอบ 7/8 4. น า ย ฮ า ร า ล ด์ ลิงค์ กรรมการอิสระ 6/8 5. น า ย เ ร วั ต ฉ่าเฉลิม กรรมการอิสระ 7/7 2/ 6. น า ย ธ นิ น ท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการ 4/8 7. ด ร . อ า ช ว์ เตาลานนท์ รองประธานกรรมการ 6/8 8. น า ย เ ฉ ลี ย ว สุวรรณกิตติ รองประธานกรรมการ 8/8 9. ศาสตราจารย์พิเศ ษอธึก อัศวานันท์ รองประธานกรรมการ และ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านก ฎหมาย 8/8 10. น า ย ศุ ภ ชั ย เจียรวนนท์ ก ร ร ม ก า ร ก ร ร ม ก า ร ผู้จัด ก า ร ใ ห ญ่ และประธานคณะผู้บริหาร 8/8 11. น า ย สุ ภ กิ ต เจียรวนนท์ กรรมการ 2/8 12. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้อา น ว ย ก า ร บ ริห า ร - การลงทุนกลุ่ม 7/8 13. น า ย วิเช า ว น์ รักพงษ์ไพโรจน์ กรรมการ กรรมการผู้จัดกา ร แ ล ะ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านป ฏิ บั ติ ก า ร – โครงข่ายและเทคโนโลยี 8/8
  • 11. 14. น า ย อ า รุ ง สรรพสิทธิ์วงศ์ กรรมการ 8/8 15. น า ย ณ ร ง ค์ เจียรวนนท์ กรรมการ 2/8 หมายเหตุ 1/ ใน ปี 2553 คณ ะก รรม การบ ริษัท มีการป ระชุม รวมทั้งสิ้น จา น ว น 8 ค รั้ ง น อ ก จ า ก นี้ บ ริ ษั ท ฯ มีก า ร กา ห น ด ไ ว้ใ น น โ ย บ า ย ก า ร กา กับ ดู แ ล กิจ ก า ร ใ ห้ ก ร ร ม ก า ร ที่ มิ ใ ช่ ผู้ บ ริ ห า ร สามารถที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจาเป็นโดยไม่มีกรรมการที่เ ป็นผู้บริหารหรือฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม เพื่ออภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ย ว กับ ก า ร จัด ก า ร ห รือ เรื่อ ง ที่อ ยู่ใ น ค ว า ม ส น ใ จ ซึ่ง ใ น ปี 2 5 5 3 มีการประชุมในลักษณะดังกล่าวจานวน 1 ครั้ง 2 / ก่ อ น ที่ น า ย เ ร วั ต ฉ่า เ ฉ ลิ ม จะได้รับการแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ ในปี 2553 บริษัทฯ ได้มีการประชุมคณะกรรมการ ไปแล้ว จานวน 1 ครั้ง คานิยาม ก ร ร ม ก า ร ที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห า ร ห ม า ย ถึ ง กรรมการที่ดารงตาแหน่งเป็นผู้บริหารและมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหาร งานประจาของบริษัทฯ ก ร ร ม ก า ร ที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห า ร ห ม า ย ถึ ง กรรมการที่มิได้ดารงตาแหน่งเป็นผู้บริหารและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ บริหารงานประจาของบริษัทฯ อาจจะเป็นหรือไม่เป็นกรรมการอิสระก็ได้ ก ร ร ม ก า ร อิ ส ร ะ ห ม า ย ถึ ง ก ร ร ม ก า ร ผู้ ซึ่ ง เ ป็ น อิ ส ร ะ จ า ก ผู้ ถือ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ และเป็นอิสระจากความสัมพันธ์อื่นใดที่จะมากระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่ า ง อิ ส ร ะ แ ล ะ มี คุ ณ ส ม บั ติ ดั ง ต่ อ ไ ป นี้
  • 12. ซึ่งมีความเข้มงวดมากกว่าข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน ในเรื่องสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ( 1 ) ถื อ หุ้ น ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ย ล ะ 0 . 7 5 ของจานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของทรู บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บ ริษัท ร่วม ผู้ถือ หุ้น ราย ให ญ่ ห รือ ผู้มีอาน าจค วบ คุมข อ งท รู ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลูก จ้า ง พ นัก ง า น ที่ ป รึก ษ า ที่ ไ ด้ เ งิน เ ดื อ น ป ร ะ จา ห รือผู้มีอาน าจค วบ คุมข องท รู บ ริษัท ให ญ่ บ ริษัท ย่อย บ ริษัท ร่วม บ ริ ษั ท ย่ อ ย ลา ดั บ เ ดี ย ว กั น ผู้ ถื อ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ ห รื อ ข อ ง ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวั นที่ได้ รับการแต่งตั้ง ( 3 ) ไ ม่เ ป็น บุค ค ล ที่ มีค ว า ม สัม พั น ธ์ท า ง ส า ย โ ล หิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่ส ม ร ส พี่น้อ ง แ ล ะ บุต ร ร ว ม ทั้ง คู่ส ม ร ส ข อ ง บุต ร ข อ ง ผู้บ ริห า ร ผู้ ถื อ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอานาจควบคุมของ ทรู หรือบริษัทย่อย (4 ) ไม่มีห รือเคย มีความสัมพัน ธ์ทางธุรกิจกับท รู บ ริษัทให ญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอานาจควบคุมของทรู ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของต น ร ว ม ทั้ ง ไ ม่ เ ป็ น ห รื อ เ ค ย เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ห รือ ผู้มีอา น า จ ค ว บ คุม ข อ ง ผู้ที่มีค ว า ม สัม พัน ธ์ท า ง ธุร กิจ กับ ท รู บ ริษัท ใ ห ญ่ บ ริษัท ย่อ ย บ ริษัท ร่ว ม ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ ห รื อ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวั นที่ได้ รับการแต่งตั้ง “ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง ธุ ร กิ จ ” ต า ม ว ร ร ค ห นึ่ ง รวมถึงการทารายการทางการค้าที่กระทาเป็นปกติ เพื่อประกอบกิจการ
  • 13. ก า ร เ ช่ า ห รื อ ใ ห้ เ ช่ า อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ร า ย ก า ร เ กี่ ย ว กั บ สิ น ท รั พ ย์ ห รื อ บ ริ ก า ร หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วย การรับหรือให้กู้ยืม ค้า ป ร ะ กัน ก า ร ใ ห้สิน ท รัพ ย์เ ป็น ห ลัก ป ร ะ กัน ห นี้ สิน ร ว ม ถึ ง พ ฤ ติ ก า ร ณ์ อื่ น ท า น อ ง เ ดี ย ว กั น ซึ่งเป็นผลให้ทรูหรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องชาระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของทรูหรือตั้งแต่ยี่สิบล้าน บ า ท ขึ้ น ไ ป แ ล้ ว แ ต่ จา น ว น ใ ด จ ะ ต่า ก ว่ า ทั้ ง นี้ การคานวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคานวณมูลค่าของรา ย ก า ร ที่ เ กี่ ย ว โยงกันตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในก า ร ท า ร า ย ก า ร ที่ เ กี่ ย ว โ ย ง กั น โ ด ย อ นุ โ ล ม แ ต่ ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ภ า ร ะ ห นี้ ดั ง ก ล่ า ว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทา ง ธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของทรู บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บ ริษัท ร่ว ม ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ ห รือ ผู้มีอา น า จ ค ว บ คุม ข อ ง ท รู แ ล ะ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ห รือ หุ้น ส่ว น ข อ ง สา นัก ง า น ส อ บ บัญ ชี ซึ่ ง มีผู้ส อ บ บัญ ชีข อ ง ท รู บ ริษัท ใ ห ญ่ บ ริษัท ย่อ ย บ ริษัท ร่ว ม ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ ห รื อ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู สั ง กั ด อ ยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวั นที่ได้ รับการแต่งตั้ง ( 6 ) ไ ม่เ ป็น ห รือ เ ค ย เ ป็น ผู้ใ ห้บ ริก า ร ท า ง วิช า ชีพ ใ ด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไ ด้รับ ค่าบ ริก ารเกิน ก ว่าส อ งล้าน บ าท ต่อ ปีจ ากท รู บ ริษัท ใ ห ญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอานาจควบคุมของทรู แ ล ะ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ มี นั ย ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ห รือ หุ้ น ส่ว น ข อ ง ผู้ ใ ห้บ ริก า ร ท า ง วิช า ชีพ นั้ น ด้ ว ย เ ว้น แ ต่ จ ะ ไ ด้ พ้ น จ า ก ก า ร มีลัก ษ ณ ะ ดั ง ก ล่า ว ม า แ ล้ว ไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง
  • 14. ( 7 ) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของ ท รู ผู้ ถื อ หุ้ น ร า ย ใ ห ญ่ ห รื อ ผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ( 8 ) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิ จการ ของทรูหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ป รึ ก ษ า ที่ รั บ เ งิ น เ ดื อ น ป ร ะ จา หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบ ริ ษั ท อื่ น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับ กิจการ ของทรูหรือบริษัทย่อย ( 9 ) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกั บการดาเนินงานของทรู ( 1 0 ) ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็นไปตามข้ อ (1) - (9) แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตัด สิน ใจใน ก ารด าเนิน กิจก ารข องท รู บ ริษัท ให ญ่ บ ริษัท ย่อ ย บ ริษัท ร่ว ม บ ริษัท ย่อ ย ลา ดั บ เ ดี ย ว กัน ผู้ถือ หุ้น ร า ย ใ ห ญ่ ห รื อ ผู้ มี อา น า จ ค ว บ คุ ม ข อ ง ท รู โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ ( 1 1 ) ในกรณีที่เป็นบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริก า ร ท า ง วิช า ชีพ เ กิน มูล ค่า ที่ กา ห น ด ใ น ข้อ ( 4 ) ห รือ ( 6 ) ใ ห้ บุ ค ค ล ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ รั บ ก า ร ผ่อนผันข้อห้ามการมีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริกา ร ท า ง วิ ช า ชี พ เ กิ น มู ล ค่ า ดั ง ก ล่ า ว ห า ก คณ ะก ร ร ม ก า ร บ ริษัท ไ ด้พิจ า รณ า ต า ม ห ลัก ใ น ม า ต ร า 8 9 /7 แห่งพ ระราช บัญ ญัติห ลักท รัพ ย์แล ะตล าด ห ลักท รัพ ย์ พ.ศ. 253 5
  • 15. แ ล้ ว มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า การแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่และการให้ ค ว า ม เ ห็ น ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ และจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนกาหน ด ใ น ห นั ง สื อ เ ชิ ญ ป ร ะ ชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ในวาระพิจารณาแต่งตั้งกรรมการอิสระ อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณ ะกรรมการบริษัทมีอาน าจและห น้าที่จัดการบริษัทฯ ใ ห้เป็น ไ ป ต า ม วัต ถุป ร ะ ส ง ค์ ข้อ บัง คับ แ ล ะ ม ติที่ป ร ะ ชุม ผู้ถือ หุ้น ใ น ส่ ว น ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ฯ นั้ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร มี อา น า จ ห น้ า ที่ ตั ด สิ น ใ จ แ ล ะ ดู แ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ เว้นแต่เรื่องที่กฎหมายกาหนดให้ต้องได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้ น น อ ก จ า ก นั้ น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนห รือ บุคคลอื่นใด ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งแทนคณะกรรมการได้ อ ย่า ง ไ ร ก็ต า ม ก า ร ตั ด สิน ใ จ ใ น ก า ร ด า เ นิน ง า น ที่ สา คัญ อ า ทิ เ ช่ น ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ ก า ร กู้ ยื ม ที่ มี นั ย สา คั ญ ฝ่ายบริหารจะต้องนาเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ ช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสต่อคณะกรร มการบริษัทผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถทาการร้องเรียนหรือแจ้งเบาะ แส (โดยจะได้รับการเก็บรักษาข้อมูลไว้เป็นความลับ) เกี่ยวกับการทุจริต ป ร ะ พ ฤ ติ มิช อ บ ห รือ ก า ร ก ร ะ ท า ผิด จ ร ร ย า บ ร ร ณ ธุร กิจ ต่อ คณ ะก ร ร ม ก า ร บ ริษัท ฯ โด ย ผ่า น คณ ะก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้ ตามที่อยู่ดังนี้ - จ ด ห ม า ย อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ : auditcommittee@truecorp.co.th - จดหมายส่งทางไปรษณีย์:
  • 16. - เรียน คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร์ ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โ ด ย ห น่ ว ย ง า น เ ล ข า นุ ก า ร บ ริ ษั ท ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป็น เ ล ข า นุก า ร ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ จ ะ เ ป็ น ผู้ ดู แ ล รั บ ผิ ด ช อ บ ใน การรวบรวมและนาส่งเรื่องร้องเรียน ห รือการแจ้งเบาะแสต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาและดาเนินการต่อไป ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุปผลการดาเนินการและนาเสนอรายงา นต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นรายไตรมาส เงื่อนไขในการรับเรื่องร้องเรียนหรือการแจ้งเบาะแส: - ไม่รับบัตรสนเท่ห์ - ผู้ร้องเรียน/ผู้แจ้งเบาะแส ต้องระบุชื่อและนามสกุลจริง โ ด ย บ ริษัท ฯ จ ะ เ ก็บ รัก ษ า ข้อ มูล ไ ว้เ ป็น ค ว า ม ลับ ซึ่งจะรับรู้ได้เฉพาะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรร มการตรวจสอบเท่านั้น - เ รื่อ ง ที่ ไ ม่เ กี่ย ว ข้อ ง ต่า ง ๆ ดัง ตัว อ ย่า ง ด้า น ล่า ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะไม่รับดาเนินการให้: - การสมัครงาน - แบบสารวจ หรือ การขอรับข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ - การเสนอขายสินค้าหรือบริการ - การขอรับบริจาคหรือการสนับสนุนต่างๆ คณะกรรมการชุดย่อย: - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ
  • 17. - คณะกรรมการด้านการเงิน - คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิจาน วน 3 ท่าน มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม ตาแหน่ง จานวนครั้งที่เข้าร่วมป ระชุม คณะกรรมการตรวจสอ บ ในปี 2553 1/ 1. นายวิทยา เวชชา ชีวะ ประธานคณะกรรมการตรว จสอบ 7/7 2. ด ร . โ ก ศ ล เพ็ชร์สุวรรณ์ กรรมการตรวจสอบ 7/7 3. นายโชติ โภควนิ ช กรรมการตรวจสอบ 7/7 หมายเหตุ 1/ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จานวน 7 ค รั้ ง โ ด ย ที่ เ ป็ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม กั บ ผู้ ส อ บ บั ญ ชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย จานวน 1 ครั้ง อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ
  • 18. คณ ะก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ มีบ ท บ า ท แ ล ะอา น า จ ห น้า ที่รับ ผิด ช อ บ ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริษัทฯมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเ พียงพอ 2. ส อ บ ท า น ใ ห้บ ริษัท ฯ มีร ะบ บ ก า ร ค ว บ คุม ภ า ย ใ น ( internal control) แ ล ะร ะบ บ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น ( internal audit) ที่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เ ลิก จ้า ง หัว ห น้า ห น่ว ย ง า น ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทฯปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ ข้อ กา ห น ด ข อ ง ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิ จ า ร ณ า คั ด เ ลื อ ก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทาหน้าที่เป็นผู้สอบบั ญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว ร ว ม ทั้ ง เ ข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม กั บ ผู้ ส อ บ บั ญ ชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ ง ท า ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ เ พื่ อ ใ ห้ มั่ น ใ จ ว่ า ร า ย ก า ร ดั ง ก ล่ า ว สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 6. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในร า ย ง า น ป ร ะ จา ปีข อ ง บ ริษัท ฯ ซึ่ ง ร า ย ง า น ดั ง ก ล่า ว จ ะ ไ ด้ล ง น า ม โ ด ย ป ร ะธ า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
  • 19. o ก ) ค ว า ม เ ห็น เ กี่ย ว กับ ค ว า ม ถูก ต้ อ ง ค ร บ ถ้ว น เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ o ข ) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใ นของบริษัทฯ o ค ) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ แ ล ะ ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ ข้อ กา ห น ด ข อ ง ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะ เท ศ ไ ท ย ห รื อ ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ธุรกิจของบริษัทฯ o ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี o จ ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโย ชน์ o ฉ) จานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน o ช ) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไ ด้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) o ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทฯ 7. ป ฏิ บัติ ก า ร อื่น ใ ด ต า ม ที่ ก ฎ ห ม า ย กา ห น ด ห รือ คณะกรรมการของบริษัทฯจะมอบหมาย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา ห น ด ค่า ต อ บ แ ท น แ ล ะ ส ร ร ห า ก ร ร ม ก า ร ทาหน้าที่พิจารณาการกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการและประธานค ณ ะ ผู้บ ริห า ร ร ว ม ทั้ง พิจ า รณ า ก ลั่น ก ร อ ง ก า ร ส ร ร ห า ก ร ร ม ก า ร ก่อนนาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ มีรายนามดังต่อไปนี้
  • 20. รายนาม 1/ จานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากร รมการ ในปี 2553 2/ 1. นายธนินท์ เจียรวนน ท์ 0/1 2. นายสุภกิต เจียรวนน ท์ 1/1 3. นายอารุง สรรพสิทธิ์ วงศ์ 1/1 4. นายโชติ โภควนิช - หมายเหตุ 1/ ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุม ภ า พั น ธ์ 2 5 5 4 ไ ด้ มีม ติ แ ต่ ง ตั้ ง น า ย โ ช ติ โ ภ ค ว นิช ก ร ร ม ก า ร อิ ส ร ะ แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ เข้าเป็นสมาชิกในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมกา ร ทดแทน นายไฮนริช ไฮมส์ 2 / ใ น ปี 2 5 5 3 คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการมีการประชุม จานวน 1 ครั้ง
  • 21. คณะกรรมการด้านการเงิน ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการด้านการ เงิน และ มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม จานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการด้านการเงิน ในปี 2553 2/ 1. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 5/5 2. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ 5/5 3. นายอารุง สรรพสิทธิ์วงศ์ 5/5 4. นายโชติ โภควนิช - หมายเหตุ 1/ ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุม ภ า พั น ธ์ 2 5 5 4 ไ ด้ มีม ติ แ ต่ ง ตั้ ง น า ย โ ช ติ โ ภ ค ว นิช ก ร ร ม ก า ร อิ ส ร ะ แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ เข้าเป็นสมาชิกในคณะกรรมการด้านการเงิน ทดแทน นายเย้นส์ บี. เบสไซ 2/ ในปี 2553 คณะกรรมการด้านการเงินมีการประชุม จานวน 5 ครั้ง คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริษัทในการกาหนดและทบทวนนโยบายก า ร กา กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ข อ ง บ ริ ษั ท
  • 22. ตลอดจนดูแลให้บริษัทมีการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวอย่างเหมาะสม และ มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม 1/ จานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ ในปี 2553 2/ 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ 4/4 2. ดร.โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ 4/4 3. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 3/4 หมายเหตุ 1/ ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 5 4 ไ ด้ มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง และ ปรับเปลี่ยนตาแหน่งสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อยของ นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ ดังนี้ จ า ก เดิม ที่เป็น ส ม า ชิก ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ป รับ เ ป ลี่ ย น เ ป็น ส ม า ชิก ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ และ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด้ า น ก า ร เ งิน 2 / ใ น ปี 2 5 5 3 คณะกรรมการกากับดูแลกิจการ มีการประชุม จานวน 4 ครั้ง คณะผู้บริหารของบริษัท ณ วัน ที่ 1 มิถุน า ย น 2 5 5 4 ผู้บ ริห า ร ข อ ง บ ริษัท ฯ มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม ตาแหน่ง 1. นายศุภชัย เจียรวนนท์ ก ร ร ม ก า ร ก ร ร ม ก า ร ผู้จัด ก า ร ใ ห ญ่ แ ล ะ ประธานคณะผู้บริหาร
  • 23. 2. นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ ก ร ร ม ก า ร ก ร ร ม ก า ร ผู้ จัด ก า ร แ ล ะ หัว ห น้า ค ณ ะ ผู้บ ริห า ร ด้ า น ป ฏิ บัติ ก า ร – โครงข่ายและเทคโนโลยี 3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้อา น ว ย ก า ร บ ริห า ร - การลงทุนกลุ่ม 4. ศาสตราจารย์พิเศษ อธึก อัศวานันท์ ร อ ง ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านกฎหมาย 5. นายวิลเลี่ยม แฮริส ผู้ อา น ว ย ก า ร บ ริ ห า ร ด้ า น พั ฒ น า ธุร กิจ ร ะ ห ว่า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ผู้ ช่ว ย ก ร ร ม ก า ร ผู้ จัด ก า ร ใ ห ญ่ /ประธานคณะผู้บริหาร 6. นายนพปฎล เดชอุดม หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการเงิน 7. นายธิติฏฐ์ นันทพัฒน์สิริ ผู้อานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย์ ทีวี 8. นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุข ผู้อานวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอร์เจนซ์ และ ผู้อานวยการบริหาร - ด้านลูกค้าองค์กรธุรกิจ 9. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย์ ผู้ อา น ว ย ก า ร บ ริ ห า ร - ด้านลูกค้าองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่และบริการระห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ หัว ห น้า ค ณ ะ ผู้บ ริห า ร ด้า น ป ฏิบัติก า ร - เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหารลูกค้า หมายเหตุ
  • 24. " ผู้ บ ริ ห า ร " ใ น หั ว ข้ อ นี้ มีค ว า ม ห ม า ย ต า ม ที่กา ห น ด โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กา กับ ต ล า ด ทุน ซึ่ ง ห ม า ย ถึง ก ร ร ม ก า ร ก ร ร ม ก า ร ผู้ จัด ก า ร ใ ห ญ่ ผู้ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ร ะ ดั บ บ ริ ห า ร สี่ ร า ย แ ร ก นั บ ต่ อ จ า ก ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร ใ ห ญ่ ล ง ม า และผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่ากัีบผู้ดารงตาแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกร าย บ ริ ษั ท ท รู ค อ ร์ ป อ เ ร ชั่ น จ า กั ด ( ม ห า ช น ) ผู้ น า ค อ น เ ว อ ร์ เ จ น ซ์ ไ ล ฟ์ ส ไ ต ล์ นาเสนอบริการและโซลูชั่นด้านการสื่อสารโทรคมนาคมอย่างคร บวงจร ธุรกิจหลักของทรูแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ True Online ท รูอ อ น ไ ล น์ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์ พื้ น ฐ า น แ ล ะบ ริก า ร เส ริม ต่า ง ๆ เช่น บ ริก า ร โ ท ร ศัพ ท์ส า ธ า รณ ะ เป็น ต้น น อ ก จ า ก นี้ ยัง ร ว ม ถึง บ ริก า ร อิน เ ท อ ร์เ น็ต แ ล ะ บ ร อ ด แ บ น ด์ บริการโครงข่ายข้อมูล และบริการ WE PCT
  • 25. ทรูออนไลน์เป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานรายใหญ่ที่สุดในเขต ก รุงเท พ มห าน ค รแ ล ะป ริมณ ฑ ล โค รงข่าย โท รศัพ ท์พื้น ฐ าน ข อ ง ทรูเป็นโครงข่ายใยแก้วนาแสงที่ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย นอกจากนี้ ก ลุ่ ม ท รูยัง เ ป็น ผู้ ใ ห้บ ริก า ร อิน เ ท อ ร์เ น็ต แ ล ะ บ ริก า ร บ ร อ ด แ บ น ด์ ร า ย ใ ห ญ่ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ร ว ม ทั้ ง เ ป็น ผู้ใ ห้บ ริก า ร ร า ย ใ ห ญ่ใ น ธุร กิจ รับ -ส่ง ข้อ มูล ยิ่ ง ไ ป ก ว่ า นั้ น ยั ง ใ ห้ บ ริ ก า ร เ ส ริ ม ต่ า ง ๆ สาหรับลูกค้าทั่วไปและลูกค้าธุรกิจซึ่งใช้บริการโทรศัพท์พื้นฐานและบริ การอินเทอร์เน็ตของบริษัท บริการโทรศัพท์พื้นฐาน  บ ริ ก า ร โ ท ร ศั พ ท์ พื้ น ฐ า น ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจานวน 2.6 ล้านเลขหมาย  บ ริ ก า ร โ ท ร ศั พ ท์ ส า ธ า ร ณ ะ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจานวน 26,000 ตู้  บริการเสริมอื่นๆ ได้แก่ บริการรับฝากข้อความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริการรับสายเรียกซ้อน (Call Waiting) บริการสนทนา 3 ส า ย (Conference Call) บ ริก า ร โ อ น เ ล ข ห ม า ย ( Call Forwarding) บ ริ ก า ร เ ล ข ห ม า ย ด่ ว น ( Hot Line) บ ริ ก า ร ย่ อ เ ล ข ห ม า ย ( Abbreviated Dialing) บ ริก า ร โ ท ร ซ้า อัต โ น มัติ ( Automatic Call Repetition) บ ริก า ร จา กัด ก า ร โ ท ร อ อ ก (Outgoing Call Barring) บริการตู้สาขาอัตโนมัติระบบต่อเข้าตรง (Direct Inward Dialing - DID) บ ริ ก า ร เ ล ข ห ม า ย นา ห มู่ ( Hunting Line) โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network - ISDN) บ ริ ก า ร Televoting ซึ่งเป็นบริการที่ช่วยให้รับสายโทรศัพท์เรียกเข้าที่มีระยะเวลาสั้น ๆ ในจานวนสูงมากๆ บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) และ บริการประชุมผ่านสายโทรศัพท์ (Voice Conference)
  • 26. บริการโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต (Voice over Internet Protocol - VoIP)  บ ริ ก า ร เ น็ ต ท อ ล์ ค ซึ่ ง ใ ห้บ ริก า ร ทั้ ง ใ น ร ะ บ บ ร า ย เ ดือ น แ ล ะ ร ะ บ บ เ ติม เ งิน โดยเปิดให้บริการทั้งการโทรระหว่างประเทศและการโทรภายในป ระเทศ  บริการเน็ตทอล์ค สามารถใช้ได้ทั้งการโทรจากเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์พื้นฐาน และโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริการบรอดแบนด์และอินเทอร์เน็ต  บริการบรอดแบนด์สาหรับลูกค้าทั่วไปผ่าน 2 เทคโนโลยี คือ Cable Modem และ DSL ด้วยความเร็วสูงสุด 16 Mbps  จุด ใ ห้บ ริก า ร อิน เท อ ร์เน็ต ไ ร้ส า ย ค ว า ม เร็ว สูง ก ว่า 1 7 ,0 0 0 จุดทั่วประเทศ  บ ริก า ร เ ส ริม อื่น ๆ เ ช่น บ ริก า ร IPTV บ ริก า ร WhiteNet (เพื่อกลั่นกรองและสกัดจับภาพและสื่อบนอินเทอร์เน็ตที่ไม่เหมาะส ม สา ห รับ เ ย า ว ช น ) แ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม Norton Anti-Virus (เพื่อตรวจจับและกาจัดไวรัสแบบอัตโนมัติ) บริการโครงข่ายข้อมูล (Data Services)  บ ริ ก า ร ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ใ น ลั ก ษ ณ ะ โ ซ ลู ชั่ น ทั้งบริการด้านเสียงและข้อมูลไปด้วยกันผ่านเทคโนโลยีต่างๆ ประกอบด้วย บริการโครงข่ายข้อมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) บ ริก า ร MPLS (Multi-protocol Label Switching) บริการ Metro Ethernet รวมทั้ง บริการวงจรเช่าผ่านเครือข่าย IP (IP based leased line)  บ ริ ก า ร ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร โ ค ร ง ข่ า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ ค รื อ ข่ า ย ข้ อ มู ล ที่ ผ ส ม ผ ส า น บ ริก า ร จัด ก า ร ป ร ะ สิท ธิภ า พ ข อ ง เ ค รือ ข่า ย การบริหารข้อผิดพลาด และ การกาหนดค่าต่างๆ ของเครือข่าย
  • 27.  บริการศูนย์อินเทอร์เน็ต ดาต้า เซ็นเตอร์ (Internet Data Center - IDC) ซึ่งเป็นบริการด้านความปลอดภัยสาหรับลูกค้าที่เป็นองค์กรธุรกิจข นาดใหญ่ บริการโทรศัพท์พื้นฐานใช้นอกสถานที่ (Personal Communication Telephone - WE PCT)  บ ริ ก า ร WE PCT เป็นบริการที่ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถพกพาโทรศัพท์บ้านไปใช้น อกบ้านได้ โดยใช้ หมายเลขเดียวกับโทรศัพท์บ้าน บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ  บริการโครงข่ายข้อมูลระหว่างประเทศ มี 3 รูปแบบบริการ คือ บ ริก า ร ว ง จ ร เช่า ส่ว น บุค ค ล ร ะ ห ว่า ง ป ร ะ เท ศ ( International Private Leased Circuit - IPLC) บ ริก ารวงจ รเช่าเส มือน ส่วน บุค ค ล ระห ว่างป ระเท ศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) แ ล ะ บ ริก า ร Virtual Node บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ  ทรูเปิดให้บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศอย่างเป็นทางก า ร ใ น ปี 2 5 5 1 โ ด ย ใ ห้บ ริก า ร ผ่า น ห ม า ย เ ล ข “0 0 6 ” ด้วยคุณภาพเสียงคมชัด ผ่านเทคโนโลยี TDM (Time Division Multiplexing) True Move ทรูมูฟ นาเสนอนวัตกรรมและระบบสื่อสารแบบไร้สาย เพื่อให้ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันและกัน ผ่านระบบการสื่อสาร ไร้สาย บนย่านความถี่ 1800 เมกะเฮิร์ตซ
  • 28. ผ่านรูปแบบการบริการล้าสมัยและมีคุณภาพสูงแก่ลูกค้า 15 ล้านราย ทั่วประเทศ วิสัยทัศน์ในการดาเนินธุรกิจของทรูมูฟ คือ การเป็นผู้นาในการสร้างไลฟ์สไตล์การสื่อสารแบบไร้สาย เพื่อให้ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันและกัน ตลอดจนเข้าถึงความรู้ ข้อมูล และสาระบันเทิง ทุกที่ ทุกเวลา ตามต้องการ ด้วยบริการที่เหนือกว่าทั้งในด้านพื้นที่เครือข่ายการให้บริการ คุณภาพ และการบริการที่เป็นเลิศ รวมทั้งการเป็นผู้นาบริการ 3G ในประเทศไทย บริการ Pre Pay  ผู้ใช้บริการสามารถเติมเงินแบบ “over-the-air” ผ่านตัวแทนกว่า 80,000 รายทั่วประเทศ หรือเติมเงินผ่านตู้โทรศัพท์สาธารณะกว่า 18,000 เครื่อง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และบริการการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยทรูมันนี่ บริการ Post Pay  ผู้ใช้บริการสามารถเลือกอัตราค่าบริการรายเดือนตามความต้องก าร บริการเสียง  บริการเสียง ประกอบด้วย บริการรับสายเรียกซ้อน บริการโอนสายเรียกเข้า บริการสนทนาสามสาย และบริการแสดงหมายเลขโทรเข้า และบริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศ บริการที่ไม่ใช่เสียง  ทรูมูฟให้บริการที่ไม่ใช่เสียงที่หลากหลาย ซึ่งประกอบด้วย บริการส่งข้อความไปยังผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น (SMS) บริการส่งข้อความเสียงไปยังผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และโทร ศัพท์พื้นฐาน (Voice SMS) บริการรับฝากข้อความ (Voicemail) บริการส่งภาพ ข้อความและเสียง
  • 29. ไปยังผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น (MMS) บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตบนมือถือผ่านทาง EDGE/GPRS บริการ คอนเทนท์มัลติมีเดีย และบริการเสียงรอสาย (Ring-back Tone) การจาหน่ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ  ทรูมูฟจัดจาหน่ายเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพสูง รวมทั้งอุปกรณ์ ตลอดจน พีดีเอโฟน และสมาร์ทโฟน จากบริษัทผู้ผลิตชั้นนา อาทิ iPhone และ BlackBerry  เครื่องโทรศัพท์ที่ทรูมูฟจัดจาหน่าย เป็นทั้งการจาหน่ายเครื่องเปล่าโดยไม่ผูกพันกับบริการใดๆ กับการจาหน่ายเครื่องโดยลูกค้าใช้แพ็คเกจรายเดือนจากทรูมูฟ บริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศ  ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จากต่างประเทศที่เดินทางมาเมืองไทย สามารถใช้บริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศผ่านโครงข่า ยของทรูมูฟ ในกรณีที่ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ของชาวต่างชาติรายนั้นๆ มีสัญญาโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศกับทรูมูฟ และในขณะเดียวกันผู้ใช้บริการทรูมูฟในประเทศไทยก็สามารถใ ช้บริการนี้ เมื่อเดินทางไปยังต่างประเทศได้อีกด้วย  ทรูมูฟเข้าร่วมเครือข่ายพันธมิตรกับคอนเน็กซัส โมบายล์ (Conexus Mobile Alliance) และทราเวลลิ่ง คอนเน็กซ์ (Travelling Connect) True visions ท รู วิ ชั่ น ส์ ( ชื่ อ เ ดิ ม ยู บี ซี ) คื อ ผู้นา ใ น ก า ร ใ ห้บ ริก า ร โ ท ร ทั ศ น์ร ะ บ บ บ อ ก รับ เ ป็น ส ม า ชิก ซึ่ ง ใ ห้ บ ริ ก า ร ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ ผ่ า น ดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสู่บ้านสมาชิก และผ่านโครงข่ายเคเบิล
  • 30. ช่องรายการในประเทศและต่างประเทศ  ท รู วิ ชั่ น ส์ นา เ ส น อ ค ว า ม บั น เ ทิ ง ด้ ว ย 8 6 ช่อ ง ร า ย ก า ร ชั้น นา ทั้ ง จ า ก ใ น ป ร ะ เท ศ แ ล ะ ต่า ง ป ร ะ เท ศ ซึ่งประกอบด้วย ภาพยนต์ (เช่น HBO, Cinemax, Star Movies แ ล ะ Hallmark) กี ฬ า ( เ ช่ น ESPN, Star Sports แ ล ะ ร า ย ก า ร ข อ ง ท รูวิชั่น ส์เอ ง ) ส า ร ะ บัน เทิง (เช่น History Channel, Discovery Channel แ ล ะ National Geographic) ข่า ว ( เ ช่น CNN, CNBC, Bloomberg แ ล ะ BBC World) แ ล ะ ซี รี ย์ ต่ า ง ๆ (ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรายการที่ทรูวิชั่นส์ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในป ระเทศไทย) รวมทั้งรายการจากสถานีโทรทัศน์ภาคปกติของไทย ( Free TV) แ ล ะ บ ริ ก า ร Pay Per View น อ ก จ า ก นี้ ท รูวิชั่น ส์ยัง ไ ด้รับ ลิข สิท ธิ์เพีย ง ผู้เ ดีย ว ใ น ป ร ะ เท ศ ไ ท ย ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ส ด ก า ร แ ข่ ง ขั น ฟุ ต บ อ ล พรีเมียร์ลีกของประเทศอังกฤษอีกด้วย แพ็คเกจรายเดือน  ท รูวิชั่น ส์ใ ห้บ ริก า ร แ พ็ค เก จ ร า ย เดือ น 4 แ พ็ค เก จ ไ ด้แ ก่ แพ็คเกจแพลทินัม (Platinum) ซึ่งเสนอช่องรายการทั้งหมด 86 ช่อง แพ็คเกจโกลด์ (Gold) มี 77 ช่อง แพ็คเกจซิลเวอร์ (Silver) มี 63 ช่อง และ ทรู โนว-เลจ มี 54 ช่อง  นอกจากนี้ ทรูวิชั่นส์ยังนาเสนอแพ็คเกจตามสั่ง (A-La-Carte) ซึ่งประกอบด้วย 10 ช่องรายการเช่น NHK, HBO, Disney และ Discovery บริการสาหรับลูกค้าระดับกลาง-ล่าง  ทรูวิชั่นส์เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วประเทศสามารถรับชมรายกา รข อ งท รูวิชั่น ส์ผ่าน ก ารส มัค รส ม าชิก แพ็ค เก จ ท รูไลฟ์ฟ รีวิว และฟรีทูแอร์ ซึ่งเป็นโปรโมชั่นระหว่างทรูมูฟและทรูวิชั่นส์
  • 31. True money ทรูมันนี่ให้บริการบัตรเติมเงินอิเล็คทรอนิกส์และเป็นตัวแทนรับชา ระค่าสินค้าและบริการ ทั้งสินค้าและบริการของกลุ่มทรู และบริการอื่นๆ อ า ทิ ค่ า ไ ฟ ฟ้ า ค่ า น้า ป ร ะ ป า รวมทั้งการชาระค่าบริการให้กับร้านค้าที่ทาธุรกรรมผ่านระบบอีคอมเมิร์ ซ เป็นต้น บัตรเงินสดทรูมันนี่  บั ต ร เ งิ น ส ด ท รู มั น นี่ ช่ว ย ใ ห้ผู้ใ ช้บ ริก า ร ท รูมูฟ แ ล ะ ก ลุ่ม ท รูส า ม า ร ถ เ ติม เ งิน แ ล ะ ชา ร ะ เ งิน ใ ห้กับ บ ริก า ร ต่ า ง ๆ ภ า ย ใ น ก ลุ่ม ท รู รวมทั้งชาระค่าสินค้าและบริการอื่นๆ ตัวแทนรับชาระและจัดเก็บค่าสินค้าและบริการ  ระบบชาระเงินออนไลน์  “WeBooking by TrueMoney” เป็น บ ริก า ร จ อ ง จ่า ย ค ร บ ว ง จ ร ด้วยจุดเด่น “จองง่าย จ่ายสะดวก รวดเร็ว หลายช่องทาง”  บ ริ ก า ร ท รู มั น นี่ เ อ็ ก ซ์ เ พ ร ส จุด รับ ชา ร ะ ค่า บ ริก า ร ผ่า น ร ะ บ บ แ ฟ ร น ไ ช ส์ โ ด ย ร่ว ม มือ กับ ธุร กิจ ค้า ป ลีก ใ ห้บ ริก า ร ค ร อ บ ค ลุม 2 ,0 0 0 จุดทั่วประเทศ บริการการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ทรูมูฟ (บริการทรูมันนี่)  เป็น บ ริก า ร ที่ อา น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ก่ผู้ใ ช้บ ริก า ร ท รูมูฟ ให้สามารถทาธุรกรรมทางการเงินต่างๆ บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทัชซิม  ซิ ม อั จ ฉ ริ ย ะ บ น โ ท ร ศั พ ท์ เ ค ลื่ อ น ที่ ท รู มู ฟ เพื่อชาระค่าบริการด้วยเทคโนโลยี RFID True life+ ท รู ไ ล ฟ์ เ ป็ น บ ริ ก า ร ดิ จิ ต อ ล ค อ น เ ท น ท์ และเป็นช่องทางที่ทาให้สามารถเข้าถึงชุมชนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่และ
  • 32. ชุ ม ช น อ อ น ไ ล น์ อีก ทั้ ง ยัง เป็น สื่อ สา ห รับ ธุร ก ร ร ม ร ะ ห ว่า ง ผู้บ ริโ ภ ค กับ ผู้บ ริโ ภ ค ธุรกิจกับผู้บริโภค และธุรกิจกับธุรกิจ พอร์ทัลออนไลน์  Truelife.com ใ ห้ บ ริ ก า ร ชุ ม ช น อ อ น ไ ล น์ ซึ่งผู้ใช้สามารถติดต่อและสื่อสารระหว่างกัน  Truelife.com มีค อ น เท น ท์ห ลัก 4 ป ร ะ เภ ท คือ ด น ต รี กีฬ า รายการโทรทัศน์และภาพยนตร์ เกมออนไลน์  กลุ่มทรูเป็นผู้ให้บริการเกมออนไลน์ชั้นนาของไทยหลายเกมด้วยกั น อ า ทิ Special Force, Lineage II, Guild Wars แ ล ะ Point Blank ทรูไลฟ์ช้อป  ท รู ไ ล ฟ์ ช้ อ ป เป็นสถานที่ที่ให้ลูกค้าได้สัมผัสกับประสบการณ์คอนเวอร์เจนซ์ไล ฟ ส ไ ต ล์ ด้ว ย ผ ลิต ภัณ ฑ์แ ล ะบ ริก า รห ล า ก ห ล าย ข อ งก ลุ่ม ท รู รวมไปถึงทรูคอฟฟี่ ทรูมิวสิค และบริการบรอดแบนด์ ทรูไลฟ์พลัส  ทรูไลฟ์พลัส เป็นการผสานผลิตภัณฑ์และบริการภายในกลุ่มทรู เพื่อนาเสนอแพ็คเกจที่ตรงใจตามไลฟ์สไตล์ของผู้ใช้บริการ บริการช้อปปิ้งออนไลน์  บ ริก า ร ช้อ ป ปิ้ ง อ อ น ไ ล น์ www.weloveshopping.com เป็นศูนย์รวมร้านค้าออนไลน์กว่า 150,000 ร้าน และมีสินค้ากว่า 2 ล้านรายการ รางวัล 2546
  • 33. True received a disclosure award 2003 from the securities and exchange commission of Thailand. 2547 ร า ง วัล บ ริษัท ที่มีศัก ย ภ าพ เชิง แ ข่ง ขัน ที่โ ด ด เด่น ที่สุด (Best Competitive Carrier) จาก Telecom Asia Magazine ประจาปี 2547 ท รู เ ป็น บ ริษั ท ไ ท ย บ ริษั ท แ ร ก ที่ ไ ด้ รับ ร า ง วัล นี้ จากการประกาศรางวัลเป็นครั้งที่ 7 Disclosure Award ในฐานะที่เป็นบริษัทด้านเทคโนโลยีที่มีการกากับดูแลกิจการและบรรษัท ภิบาล ที่ดี ทรูเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ชั้นนาของไทย ที่ ไ ด้รับ ร า ง วัล นี้ติด ต่อ กัน เป็น ปีที่ 2 ทั้ ง นี้จ า ก ก า ร สา ร ว จ โ ด ย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ภายใต้การสนับสนุน จ า ก ต ล า ด ห ลัก ท รัพ ย์แ ห่ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ( ต . ล . ท ) และสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (สานักงาน กลต.) รางวัล Technology Fast 500 Asia Pacific Company Awards ท รู ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล บริษัทสื่อสารโทรคมนาคมที่สร้างสรรค์นวัตกรรมต่อเนื่องและเจริญเติบโ ตอย่างรวดเร็ว ประจาปี 2547 จากบริษัท Deloitte Touche Tohmatsu Super Brand 2 0 0 4 ท รูไ ด้รับ ก า ร คัด เลือ ก จ า ก ผู้บ ริโ ภ ค ใ ห้เป็น Thailand Superbrand ประเภทบริษัทผู้ให้บริการด้านโทรคมนาคม จากผลการสารวจ Asia Superbrand ของ Readers’ Digest ปี 2547 2548
  • 34. ทรูได้รับรางวัล บริษัทที่มีศักยภาพเชิงแข่งขันที่โดดเด่นที่สุด (Best Competitive Carrier) จ า ก Telecom Asia ป ร ะ จา ปี 2 5 4 8 โดยได้รับรางวัลนี้ติดต่อกันเป็นปีที่ 2 ทรูได้รับคัดเลือกจากผู้บริโภคให้เป็น Thailand Superbrand ติด ต่อ กัน เป็น ปีที่ 2 จ า ก ผ ล ก า ร สา ร ว จ Asia Superbrand ข อ ง Readers’ Digest ปี 2548 ทรูได้รับคัดเลือกให้เป็น “Most Promising Service Provider” จาก Frost & Sullivan Asia Pacific Technology Awards 2005 ทรูได้รับรางวัล B.A.D. (Bangkok Art Directors Association) สาหรับกราฟฟิก ดีไซน์ หมวดปฏิทิน ปี 2548 ทรูได้รับรางวัล เว็บไซต์ที่มีสถิติการเยี่ยมชมสูงสุดในหมวดธุรกิจ จัดโดย NECTEC ท รูไ ด้รับ ร า ง วัล ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ดีเด่น ด้า น ส วัส ดิก า ร จากกระทรวงแรงงาน 2550 โฆษณาชุด "ปาติหาน" รับรางวัล "สื่อสร้างสรรค์สุขภาพจิต" สาขาโฆษณาโทรทัศน์ จากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โ ฆ ษ ณ า ชุด " ท า ดี ใ ห้พ่ อ ดู " ไ ด้ รับ ร า ง วัล Best Award ป ร ะเภ ท สื่อ โ ฆ ษณ าเทิด ทูน ใ น ห ล ว ง แ ล ะโฆ ษณ าชุด "ป าติห าน " รับ รางวัล Silver Award ป ระเภทโทรค มน าค ม อุป กรณ์สานัก งาน และบริการ ในงานประกวดโฆษณา Adman Awards & Symposium 2007 จาก สมาคม โฆษณาธุรกิจแห่งประเทศไทย บริษัท ทรู ทัช จากัด ผู้ให้บริการ "ศูนย์บริการลูกค้าครบวงจร" รั บ ร า ง วั ล ช น ะ เ ลิ ศ ป ร ะ เ ภ ท Best Outsource Call Center จากการส่งผลงานของลูกค้าจากสายการบินนกแอร์ เข้าประกวด 2007
  • 35. Thailand National Call Center Awards จ า ก The Call Centre Industry Association of Thailand (CCIA) ออนทรูไลฟ์ (OnTM TrueLife) รับรางวัลชนะเลิศจากสาขา Media and Entertainment ในการประกวดการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านต่างๆ ข อ ง โ ค ร ง ก า ร Thailand ICT Award 2 0 0 7 จ า ก ก ร ะท ร ว ง เท ค โ น โล ยีส า ร ส น เท ศ แ ล ะก า ร สื่อ ส า ร , SIPA แ ล ะ สมาคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ (เอทีซีไอ) อ อ น ท รูไ ล ฟ์ ( onTM TrueLife) รั บ ร า ง วั ล Merit Award จากการประกวดแข่งขันระดับ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หรือ Asia Pacific ICT Alliance (APICTA) Awards ห ม ว ด สื่อ แ ล ะ บัน เทิง จ า ก Asia Pacific ICT Alliance สื่อ Online Shark Hunter Game ช น ะ ก า ร ป ร ะ ก ว ด TDMA Awards 2007 รับรางวัล Silver Award ประเภท Interactive/Website จาก สมาคมนักการตลาดแบบตรงไทย รายการเกมส์เก๋า จาก G2 ช่องเกมแห่งแรกของไทย ทางทรูวิชั่นส์ โ ด ย บ ริษัท ท รู ดิ จิต อ ล เ อ็น เ ต อ ร์เ ท น เ ม้น ท์ จา กัด รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 8 ในสาขาวิทยุโทรทัศน์ ในฐานะ ร า ย ก า ร ดีเด่น ที่ใ ห้ส า ร ะ ค ว า ม รู้ ค ว า ม บัน เทิง แ ก่เย า ว ช น จ า ก สมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2551 ช่องรายการ Gsquare ทางทรูวิชั่นส์ ช่องเกมแห่งแรกของไทย ได้รับพระราชทานรางวัลเทพทอง ครั้งที่ 9 ในสาขาวิทยุโทรทัศน์ ป ร ะ เ ภ ท อ ง ค์ ก ร ดี เ ด่ น ป ร ะ จ า ปี 2 5 5 0 จากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์