SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
รายวิชา พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รหัส ว30161
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
              ปีการศึกษา 2555

            เรื่อง โครงสร้างของเซลล์
         (Cell Structure/Cell organells)
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=GVrVO4PfmiE
เข้าถึงวันที่ 20 / 4 / 55


       ภาพจาลอง แสดงโครงสร้างภายในของเซลล์
สาระสาคัญ
      Cellเ (เซลล์) เป็นโครงสร้างและหน่วยทางานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
แทบทุกชนิด ในบางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิต
(Building blocks of life) สิ่งมีชีวิตบางชนิดเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
(Unicellular organism) เช่น แบคทีเรีย ยีสต์ แต่สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ เช่น
รา สาหร่าย พืช สัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular organism)
      ระบบการทางานเพื่อความอยู่รอดของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมดเกิดขึน     ้
ภายในเซลล์ และภายในเซลล์ยังประกอบด้วยข้อมูลทางพันธุกรรม
(Hereditary information) ซึ่งจาเป็นสาหรับการควบคุมการทางานของ
เซลล์ และการส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์รุ่นต่อไป
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต



มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ
หน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแล
สิ่งมีชีวิต


ตัวชี้วัดช่วงชั้น
1. สืบค้นข้อมูล อธิบายและทดลอง เกี่ยวกับลักษณะที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

วิเคราะห์ เปรียบเทียบ รูปร่าง หน้าที่ของเซลล์จุลชีพ เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
รวมถึงบทบาทของออร์แกเนลชนิดต่าง ๆ ในเซลล์ ลักษณะ ความแตกต่างของ
สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะไม่เป็นเซลล์ เป็นเซลล์เดียว เป็นเซลล์ที่รวมเป็นกลุ่ม และ
เป็นกลุ่มเซลล์ที่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เปรียบเทียบโครงสร้างของเซลล์โปรคาริโอตและเซลล์ยูคาริโอตได้
2. เปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
3. อธิบายลักษณะของโครงสร้าง(Organells)ของเซลล์ได้
4. บอกหน้าที่ของโครงสร้างของเซลล์ได้
5. บอกตาแหน่งของโครงสร้างของเซลล์ได้
แบบทดสอบก่อนเรียน




1. เพราะเหตุใด Prokaryotic cell โดยทั่วไปมีขนาดเล็กกว่า Eukaryotic cell
    ก. มี Cytoskeleton ช่วยในการเคลื่อนที่ของสาร
    ข. Eukaryotic cell มีโครโมโซมมากกว่า
    ค. Eukaryotic cell มี DNA อยู่ในนิวเคลียส
    ง. Membrane system ของ Eukaryotic cell มีพื้นที่ผิวเพื่อแลกเปลี่ยน
       สารอาหารและเอนไซม์
ตารางเปรียบเทียบส่วนประกอบและออร์แกเนลเซลล์แบคทีเรีย เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม และเซลล์ปากใบ

                  โครงสร้าง     เซลล์แบคทีเรีย   เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม   เซลล์ปากใบ
                     A                *                   /                 /
                     B                /                   /                 /
                     C                *                   /                 *
                     D                *                   *                 /
                     E                *                   *                 /


             2. A B และ C คือออร์แกเนลล์ใด
                ก. ผนังเซลล์         ไรโบโซม                  ไลโซโซม
                ข. กอลจิบอดี เยื่อหุ้มเซลล์                   ไมโทคอนเดรีย
                ค. นิวคลีโอลัส ไรโบโซม                        เซนทริโอล
                ง. เยื่อหุ้มนิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์          เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม
ตารางแสดงการเปรียบเทียบออร์แกเนลล์ในสิ่งมีชวิตทั้ง 3 ชนิด
                                           ี

   ออร์แกเนลล์   สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 1   สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 2   สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 3
       A                  /                      -                      /

       B                  /                      /                      -

       C                  /                      /                      -

       D                  -                      /                      -

       E                  /                      /                      /




  3. สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 1 , 2 และ 3 ควรเป็นข้อใด
         ก. แบคทีเรีย            สัตว์ พืช
         ข. แบคทีเรีย            พืช    สัตว์
         ค. พืช                  สัตว์ แบคทีเรีย
         ง. สัตว์                พืช    แบคทีเรีย
4. โครงสร้างที่มีส่วนเกี่ยวข้องของการไหลเวียนของไซโทพลาสซึม
ก. Centrole Microtubule Microfilament
ข. Mitochondria Microtubule Microfilament
ค. Microfilament Centriole Endoplasmic reticulum
ง. Mitochondria Microtubule Endoplasmic reticulum


5. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่เป็นความจริง
ก. Lysosome จะพบจานวนมากปริมาณกระเพาะอาหาร
ข. เซลล์โพรคาริโอต มีไรโบโซมขนาด 50S และ 30S รวมกันได้เป็น 80S
ค. Chloroplast ประกอบด้วย Thylakoid หลายอันเรียงซ้อนกัน และ Stroma
ง. Contractile vacuole ทาหน้าที่ขับนาที่มากเกินพอ และควบุคมสมดุลนาภายในเซลล์
7. โครงสร้างใดต่อไปนีที่มีการจัดเรียงตัวเหมือนกัน
  ก. Centriole , Cilia
  ข. Basal body , Cilia
  ค. Basal body , Centriole
  ง. Flagellum , Spindle fiber


6. ในการสร้างเอนไซม์อะไมเลสจากเซลล์ต่อมนาลาย เพื่อส่งไปยังที่ปากสาหรับ
ย่อยสารอาหารจาพวกแป้ง ข้อใดเรียงลาดับการสร้างเอนไซม์อะไมเลส ได้ถูกต้อง
   ก. Golgi complex/ RER/ SER/ Cell membrane
   ข. RER/ Cell membrane/ SER/ Golgi complex
   ค. RER/ SER/ Golgi complex/ Secretory vesicles
   ง. RER / Golgi complex / SER/ Secretory vesicles
นักวิทยาศาสตร์จาแนกเซลล์ออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่

1. เซลล์โปรคาริโอต (Prokaryotic cell) เป็นเซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
ได้แก่ เซลล์ของแบคทีเรีย และสาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียว




 ที่มา : https://sites.google.com/site/prapasara/p7-1    ที่มา : https://sites.google.com/site/prapasara/p7-1
 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555                                  เข้าถึงวันที่ 3/3/2555

              รูปแบคทีเรียรูปท่อน                       รูปสาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียว(สไปรูไรนา)
โครงสร้างของเซลล์ โปรคาริโอต (Prokaryote)

                                                                    1. แคปซูล (Capsule)
                                                                    2. ผนังเซลล์ (Cell wall )
                                                6                   3. เยื่อหุ้มเซลล์
                                                                    (Cytoplasmic Membrane )
                                                                    4. ไรโบโซม (Ribosome)
                                                                    5. พิลไล (Pilli)
                                                                    6. นิวคลีออยด์ (Nucleoid)
                                                                    7. เฟลกเจลล (Flagella)

ที่มา : http://student.nu.ac.th/u46410320/Procaryotic%20cell.html
เข้าถึงวันที่ 4/3/2555
1. แคปซูล (Capsule)
                                                                เป็นโครงสร้างชั้นนอกสุดของเซลล์
                                                                ซึ่งมีลักษณะเป็นวุ้น ป้องกันสิ่งที่จะเป็น
                                                                อันตราย ช่วยให้แบคทีเรียเกาะติดกับ
                                                                พื้นผิวใดๆได้ เพิ่มศักยภาพในการ
                                                                เจริญเติบโตและก่อโรคของแบคทีเรีย
                                                                เพิ่มความ สามารถในการเจริญเติบโต

                                                                2. ผนังเซลล์ (Cell wall )
                                                                อยู่ระหว่างแคปซูลและเยื่อหุ้มเซลล์
                                                                ประกอบด้วย Peptidoglycan , Murein ,
                                                                Mucopeptide หรือ Glycosaminopeptide
                                                                ช่วยให้เซลล์แบคทีเรียสามารถคงรูปร่างได้
ที่มา : http://www.hepatit.com/en/the-bacterial-cellular.html
                                                                ป้องกันและรักษาความดันภายในเซลล์
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
3. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane )
                                                                                      เป็นเยื่อบางๆ 2 ชั้นประกบกันบางส่วนจะ
                                                                                      ยื่นเข้าไปในเซลล์ เรียกว่า มีโซโซม
                                                                                      (Mesosome) โครงสร้างนี้จึงเกี่ยวข้องกับ
                                                                                      การจาลองตัวเองของ DNA และการหายใจ
                                                                                      ของเซลล์

                                                                                      4. ไรโบโซม (Ribosome)
                                                                                      มีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ มีหน่วยย่อย
                                                                                      2 ส่วนคือ 30s และ 50s ในขณะที่มีการ
                                                                                      สร้างโปรตีน หน่วยย่อยจะมารวมกัน
                                                                                      เป็น ไรโบโซม 70s มีหน้าที่ สังเคราะห์
                                                                                      โปรตีน
ที่มา : http://www.healthhype.com/microorganisms-types-harmful-effects-on-human-body-pictures.html
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
5. นิวคลีออยด์ (Nucleoid)
เป็นบริเวณที่มีสีจางๆ มักอยู่ตรงกลาง
เซลล์บริเวณนี้เป็นที่อยู่ของโครโมโซม
ของแบคทีเรียประกอบด้วย โมเลกุลของ
DNA ที่มีลักษณะเป็นวงกลม ความหนา
ของสาย DNA ประมาณ 3-5 นาโนเมตร
                                         ที่มา : http://www.healthhype.com/microorganisms-types-harmful
                                         -effects-on-human-body-pictures.html
                                         เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
 6. พลาสมิด(Plasmid)
 เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของ
 แบคทีเรีย ลักษณะของ พลาสมิดเป็น
 DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่
 สามารถจาลองตัวเองได้และสามารถ
 ถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้ควบคุม
 การสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์ บาง
 ชนิดควบคุมการดื้อต่อยาปฏิชีวนะต่าง      ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/348081
                                         เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
7. พิลไล/พิลลัส (Pilli / Pillus )

                                                                                         ช่วยให้แบคทีเรียมีคุณสมบัติ
                                                                                         ในการยึดเกาะกับผิวเซลล์อื่น ๆ
                                                                                         เช่น เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว
                                                                                         เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้แบคทีเรีย
ที่มา : http://www.nature.com/nrmicro/journal/v4/n7/fig_tab/nrmicro1443_F5.html          สามารถเจริญบน Host ได้
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
                                                                                         Sex pilli ทาหน้าที่เกี่ยวกับ
                                                                                         การถ่ายทอดสารพันธุกรรม
                                                                                         โดยการ Conjugation




ที่มา : http://faculty.ccbcmd.edu/courses/bio141/lecguide/unit1/prostruct/u1fig23.html
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
คอนจูเกชั่น (Conjugation)
                                             คือการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
                                             ของแบคทีเรีย โดยการถ่ายทอด
                                             DNA ของ Plasmid ใน เซลล์
                                             ผู้ให้ (Doner cell ) ให้กับเซลล์ผู้รับ
                                             (Recipient cell ) ผ่าน Sex pilli
                                             หลังการ Conjugation ทาให้
                                             Recipient cell (New doner)มี
                                             คุณสมบัติเหมือนกับ Doner cell

                                             Plasmid ที่ New doner ได้รับการ
                                             ถ่ายทอดมาจาก Old Doner cell
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Pilus
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
8. แฟลกเจลลา (Flagella)
กาเนิดจากเซลล์เมมเบรนและติดยึดกับเซลล์เมมเบรนและผนังเซลล์ตรงบริเวณ
ส่วนเบซัลบอดี (basal body) ที่ยึดกับฐาน ที่อยูใต่เยื่อหุ้มเซลล์ในไซโทพลาซึม
                                              ่

                                                 มีลักษณะเป็นเส้นยาวกลวง
                                                 เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
                                                 0.01-0.05 ไมโครเมตร มีความ
                                                 ยาวแตกต่างกันไปตั้งแต่
                                                 1-70 ไมโครเมตร ช่วยในการ
                                                 เคลื่อนที่พบเฉพาะใน
                                                 แบคทีเรีย พวกที่สามารถ
                                                 เคลื่อนที่ได้ ของแบคทีเรีย
ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Flagellum
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
9. Endospore (เอนโดสปอร์)
                                                                                 เป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรีย
                                                                                 แกรมบวก ซึ่งเกิดขึ้นภายในเซลล์
                                                                                 และสร้างได้ 1 สปอร์ต่อ 1 เซลล์
                                                                                 ทาให้แบคทีเรียมีความทนทานต่อ
                                                                                 สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้
                                                                                 จะไม่ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ แต่ถือ
                                                                                 ว่าเป็นการดารงชีพ

                                                                                     Endospore ที่สร้างขึ้น
                                                                                     ในซลล์ของ แบคทีเรีย
ที่มา : http://micro.cornell.edu/cals/micro/research/labs/angert-lab/endo2.cfm
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
2. เซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic cell )
เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสารพันธุกรรม ได้แก่ เซลล์ของ โปรโตซัว
สาหร่าย รา พืช สัตว์




  รูป โปรโตซัว (พารามีเซียม)            รูปสาหร่ายสีเขียว                      รูปราดาที่ขึ้นบนขนมปัง
ที่มา : http://phetchaburi-    ที่มา : http://www.blink.co.th/t_list_   ที่มา : http://www.foodnetworksolution.com/
fightingfish.blogspot.com/     detail.php?type=1&id=45&ln=              vocab/wordcap/Rhizopus
2008/08/paramecium.html        เข้าถึงวันที่ 4/3/55                     เข้าถึงวันที่ 4/3/55
เข้าถึงวันที่ 4/3/55
Eukaryotic cell Structure                                                    โครงสร้างของเซลล์ Eukaryote
                               (Animals             Cell)                                     Animal cell (เซลล์สัตว์)
                                                                                           1. ไลโซโซม (Lysosome)
                                                                                           2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane )

                                      16                                                   3. ไมโครฟิลาเมนต์ (Microfilament)
                    1                                             15
                                                                                           4. ไมโทคอนเดรียa (Mitochondri)
                                                                                           5. เซนตริโอล (Centrioles)
2                                                                 14
                                                                                           6. ไมโครทิวบูล (Microtubules)
                                                                                           7. ไรโซโซม (Ribosome)
3                                                                13
                                                                                           8. กอลจิ แอบพาราตัส (Golgi Apparatus )
4
                                                                 12                        9. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดเรียบ
                                                                                           (Smooth Endoplasmic Reticulum)
5                                                                     11
                                                                                           10. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดขรุขระ
6                                                                                          (Rough Endoplasmic Reticulum)
                                                                                           11. นิวเคลียเอนวิโลป (Nuclear Envelope )
7                                              10
                                                                                           12. นิวเคลียส (Nucleus)
                8                     9                                                    13. โครมาติน (Chromatin)
                                                                                           14. นิวคลีโอลัสs (Nucleolu)
    ที่มา : http://www.triamudomsouth.ac.th/03_v/tanamon/structure%20of%20the%20cell.ppt
    เข้าถึงวันที่ 4/3/2555                                                                 15. เฟลกเจลลัม (Flagellum)
                                                                                           16. เพอรอกซิโซม (Peroxisome)
Eukaryotic cell Structure                                                          โครงสร้างของเซลล์Eukaryote
                            (Plants         Cell)                                           Plante (เซลล์พืช)
                                                                                       1. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดขรุขระ
                                              17                                       (Rough Endoplasmic Reticulum)
         1
                                                                                       2. โครมาติน (Chromatin)
2                                                            16
                                                                                       3. นิวเคลียส (Nucleus)
                                                                                       4. นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
3                                                            15
                                                                                       5. ผนังเซลล์(Cell Wall)
4                                                                                      6. ไมโครฟิลาเมนต์ (Microfilament)
                                                             14                        7. เพอรอกซิโซมe (Peroxisom)
                                    1
5                                                                                      8. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดเรียบ
                                                             13
                                                                                       (Smooth Endoplasmic Reticulum)
6                                                                                      9. เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane)
                                                                                       10. กอลจิ แอบพาราตัส (Golgi Apparatus )
                                                        12                             11. พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata)
7
                                                                                       12. เวนทรัล แวคูโอล (Central Vacuole)
8                                                       11                             13. ไมโครทิวบูล (Microtubules)
                                                                                       14. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
     9                                         10                                      15. เฟลกเจลลัม (Flagellum)
                                                                                       16. ไรโซโซม (Ribosome)
ที่มา : http://www.triamudomsouth.ac.th/03_v/tanamon/structure%20of%20the%20cell.ppt
                                                                                       17. นิวเคลียเอนวิโลป (Nuclear Envelope )
เข้าถึงวันที่ 4/3/2555
โครงสร้างและองค์ประกอบของเซลล์ (Cell Structure and Organelles)

1 ผนังเซลล์(Cell Wall)
                                                             เป็นส่วนที่หุ้ม อยู่นอกของเยื่อหุ้มเซลล์
                                                            อีกชั้นหนึ่ง มีคุณสมบัติยอมให้สาร
                                                            เกือบทุกชนิด ผ่านได้ ทาหน้าที่ เพิ่ม
                                                            ความแข็งแรง และป้องกันอันตราย
                                                            ให้กับเซลล์ของพืช


ที่มา : http://student.nu.ac.th/u46410288/cell%20wall.htm
เข้าถึงวันที่ 4/3/55

ประกอบขึ้นด้วย เซลลูโลส (Cellulose)
เป็นส่วนใหญ่ รองมาเป็น เพคติน (Pectin)
ซูเบอริน (Suberin) และลิกนิน (Lignin)                       ที่มา : http://micro.magnet.fsu.edu/cells/plants/cellwall.html
                                                            เข้าถึงวันที่ 4/3/55
ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com.
                                       เข้าถึงวันที่ 4/3/55
ชนิดของ ผนังเซลล์พืช

ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell wall ) เกิดขึ้นครั้งแรกขณะที่เซลล์มีการเจริญเติบโต
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell wall ) เกิดขึ้นภายหลังเซลล์ปฐมภูมิหยุดการเจริญแล้ว
โดยจะพอกทับผนังเซลล์ปฐมภูมิ ทาให้ผนังเซลล์มีความแข็งแรงมากขึ้น สุดท้ายเซลล์จะตาย
เช่น ไฟเบอร์
2. พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata)


                                               เป็นช่องว่างเล็กจานวนมาก ที่อยู่บน
                                               ผนังเซลล์ซึ่งอาจจะอยู่รวมกันอย่าง
                                               หนาแน่น ถึง 1 ล้านช่องต่อตาราง
                                               มิลลิเมตร

                                               ช่วยทาหน้าที่เชื่อมเซลล์ที่อยู่
                                               ใกล้เคียงกัน เพื่อช่วยในการขน
                                               ถ่ายสิ่ง ๆ ต่างๆ ระหว่างเซลล์พืช
                                               เช่น สารอาหาร น้า ฮอร์โมน
ที่มา : http://mycozynook.com/101RGCh4OH.htm
เข้าถึงวันที่ 5/3/55
3. เยื่อหุ้มเซลล์ (plasma membrane/Cell membrane)

                                                                       ประกอบด้วย
                                                                       ฟอสโฟลิปิด(Phospholipid)
                                                                       2 ชั้น เรียงตัวกันแบบหันด้านหัว
                                                                       ออกหันทางด้านหางเข้าหากัน
                                                                       เรียกว่า ฟอสโฟลิปิดไบเลเยอร์
                                                                       (Phospholipid bilayer)
                                                                       นอกจากนี้ยังประกอบด้วย
                                                                       ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein)
                                                                       โปรตีนโมเลกุล (Protein)
                                                                        โคเลสเตอรัล (Cholesterol)

ที่มา : http://homepage.smc.edu/colavito_mary/biology4/Cells-F05.ppt
                                                                       มีหน้าที่ คัดเลือกสารผ่าน
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555                                                 เข้า – ออก ระหว่างภายใน
                                                                       และภายนอกเซลล์
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=moPJkCbKjBs&feature=related
 เข้าถึงวันที่ 14/3/2555


     ภาพจาลองแสดงโครงสร้างทางเคมีของเยื่อหุ้มเซลล์
และการคัดเลือกสารเข้า - ออก ระหว่างภายในและภายนอกเซลล์
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?feature=endscreen&v=Rl5EmUQdkuI&NR=1
    เข้าถึงวันที่ 5355

     ภาพจาลองแสดงโครงสร้างทางเคมีของเยื่อหุ้มเซลล์
และการคัดเลือกสารเข้า - ออก ระหว่างภายในและภายนอกเซลล์
รอยต่อของเซลล์ (Cell Junction)
                                                                                ชนิด ของ Cell Junction
เยื่อหุ้มเซลล์จะทาหน้าที่ยึดกลุ่มของเซลล์
เข้าด้วยกัน ทาให้เกิดรอยต่อของเซลล์                                        Tight junction:
เพื่อให้เซลล์มีการสื่อสารกันได้                                            กั้นไม่ให้สารไหลผ่านระหว่างเซลล์
                                                                           พบภายในลาไส้ เซลล์บุท่อไต และกระเพาะ
                                                                           ปัสสาวะ
                                                                           Adhering junction (desmosome):
                                                                           เชื่อมเยื่อหุ้มเพื่อให้เกิดความ
                                                                           แข็งแรง มีเส้นใยยึดติดอยู่ พบบริเวณเนื้อเยื่อที่
                                                                           ต้องยึดติดกัน เช่น
                                                                           ผิวหนัง
                                                                           Gap junction:
                                                                           ช่องเล็กๆระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกันทาให้สาร
                                                                           ผ่านได้พบในเซลล์ประสาท หัวใจ กล้ามเนื้อ
                                                                           เรียบ
ที่มา : http://cellbiology.med.unsw.edu.au/units/science/lecture0808.htm
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
4. นิวเคลียร์ เอนวิโลป (Nuclear envelope )
                                                                  Nuclear envelope มีลักษณะดังนี้
                                                                  เป็นเยื่อ 2 ชั้น ได้แก่
                                                                  เยื่อหุ้มชั้นนอก (Outer nuclear membrane )
                                                                  และ เยื่อหุ้มชั้นใน (Inner nuclear membrane )
                                                                  มีช่องว่างตรงกลางกว้างประมาณ 20-40 nm
                                                                  มีรู (Nuclear pores) แทรกอยู่ทั่วไป
                                                                  เป็นทางให้สารต่างๆ โดยเฉพาะ RNA
                                                                  ผ่านเข้าออกได้
ที่มา : http://www.mhhe.com/biosci/pae/botany/uno/graphics/uno01pob/vrl/images/0071.gif
เข้าถึงวันที่ 5 / 3 / 2555
ภายในนิวเคลียส บรรจุสารพันธุกรรม
                                                                                            ที่อยู่ในรูปของโมเลกุล DNA ที่จับกับ
                                                                                            โมเลกุลของโปรตีน เป็นโครโมโซม
                                                                                            (Chlomosome) มีหน้าที่ควบคุม
                                                                                            กิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์

ที่มาภาพที่ 1 http://www.cerritos.edu/charbut/AP150/lec_otl/150%20Ch3-Cell.ppt
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
ที่มาภาพที่ 2 : http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/dna/chapter/chapter1chromosomegene.htm
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
5. นิวคลีโอลัส (Nucleolus)

                                                                   มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็ก อยู่ใน
                                                                   นิวเคลียส ในหนึ่งเซลล์อาจมี 1 หรือ 2
                                                                   เม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว
                                                                   ประกอบด้วย Nucleolar organizers และ
                                                                   Ribosome ที่กาลังสร้างขึ้น

                                                                   Nucleolus ทาหน้าที่สร้าง Ribosome
                                                                   (Nucleolar organizers) เป็นส่วน
ที่มา : http://www.cartage.org.lb/en/themes/sciences/zoology/
animalphysiology/anatomy/animalcellstructure/nucleus/nucleus.htm
                                                                   พิเศษของโครโมโซมที่มียีนเกี่ยวกับ
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555                                             การสร้าง Ribosome อยู่หลายชุด)
6. โครโมโซม (Chromosomes)
                                                           อยู่ในนิวเคลียส ไมโตคอนเดรีย และคลอโรพ
                                                           ลาสต์ มีความจาเพาะทั้งขนาด รูปร่าง และ
                                                           จานวนในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด เป็นแหล่งบรรจุ
                                                           สารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ทาหน้าที่ควบคุม
                                                           กระบวนที่เกี่ยวกับกิจกรรมทั่ว ๆ ไปทางชีวเคมี
                                                           ภายในเซลล์ของ สิ่งมีชีวิต ไปจนถึงลักษณะปรากฏ
                                                           ที่พบเห็นหรือสังเกตได้ด้วยตา เช่น รูปร่างหน้าตา
                                                           ลักษณะของเส้นผม ลักษณะดวงตา เพศ และผิว
                                                           สีสันของดอกไม้ รสชาติของอาหารนานาชนิด
                                                           ล้วนแล้วแต่เป็นลักษณะที่บันทึกอยู่ในหน่วย
                                                           พันธุกรรมทั้งสิ้น
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1303
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
โครโมโซม(Cromosome) เกิดจากการ
                                                   รวมตัวของ DNA และโปรตีน
                                                   ฮีสโตนหลาย ๆ โมเลกุล ทาให้เกิดเป็น
                                                   โพลีนิวคลีโอโซม (Polynucleosome)
                         โครมาติน                  ขึ้นมา โพลีนวคลีโอโซมในสภาพ
                                                                ิ
                                                   ปกติ จะขดตัวแน่นเป็นเกลียว เรียกว่า
                    โซลีนอยด์                      โซลีนอยด์ (Solenoid) ระยะต่อมา
                                                   เรียกโครมาติน (Chromatin)
                                                   ระยะนี้จะเห็นเป็นเส้นใยจนกระทั่ง
                                                   ขดตัวแน่นที่สุดจะเห็นเป็นรูปร่าง
                                                   คล้ายกากบาท ระยะนี้จึงเรียกว่า
ที่มา : http://science.srru.ac.th/org/sci-         โครโมโซม
elearning/courseonline/4022503/chapter6-dna6.htm
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=eYrQ0EhVCYA
  เข้าถึงวันที่ 5/3/2555


ภาพจาลองการสร้างโครโมโซมจากโมเลกลุลของ                 DNA   ภายในนิวเคลียส
7. ไรโบโซม (Rhibosomes)




             ที่มา : http://biology4teachers.com/cells/cells.ppt
             เข้าถึงวันที่ 5/3/2555


เป็น organelles ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ทาหน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 ส่วนย่อย คือ ส่วน
ที่มีขนาดใหญ่ (Large Subunit) และ ส่วนที่มีขนาดเล็ก (Small Subunit)
สร้างจาก Nucleolus ในเซลล์ที่มีการสร้างโปรตีนสูงจะพบว่ามี Nucleolus
และ Ribosome เป็นจานวนมาก ตัวอย่าง เช่น ในเซลล์ตับของคน
Ribosome มี 2 ชนิดคือ
     1. Free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน
Cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอริซึมใน Cytoplasm
        2. Bound ribosomes เป็น Ribosome ที่เกาะอยู่
ด้านผิวนอกของ ER ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่จะถูกส่งต่อไปรวมกับ
Organelles อื่นๆ และโปรตีนที่จะถูกส่งออกไปใช้นอกเซลล์
ในเซลล์ที่สร้างโปรตีน เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมต่าง ๆ ที่สร้างน้าย่อย
หรือฮอร์โมน จะมี Bound ribosomes เป็นจานวนมาก
ภาพแสดงการสังเคราะห์
                                                       โปรตีนโดยมี DNA
                                                       ในนิวเคลียสควบคุมรหัส
                                                       ของโปรตีน และมี RNA
                                                       ลอกรหัส ของ DNA
                                                       ออกมายังไซโทพลาสซึม
                                                       เพื่อนารหัสไปสังเคราะห์
                                                       โปรตีนที่ไรโบโซม




ที่มา : http://mstream.popcornfor2.com/daisy-hey.wma
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=Ml0OqAUzEXU
       เข้าถึงวันที่ 5/3/2555

ภาพจาลองแสดงการสังเคราะห์โปรตีนโดยมี DNA ในนิวเคลียสควบคุมรหัสของโปรตีนและมี
RNA ลอกรหัส ของ DNA ออกมายังไซโทพลาสซึมเพื่อนารหัสไปสังเคราะห์โปรตีนที่ไรโบโซม
8. Endoplasmic reticulum /ER (เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม)

                                                                            ER เป็นส่วนที่เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้ม
                                                                            นิวเคลียส มี 2 ชนิด คือ
                                                                            6.1 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ
                                                                            (Rough endoplasmic reticulum)
                                                                            เรียกย่อ ๆ ว่า RER มี Ribosome มาเกาะ
                                                                            6.2 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดเรียบ
                                                                            (Smooth Endoplasmic Reticulum)
                                                                            เรียกย่อ ๆ ว่า SER ไม่มี ribosome มาเกาะ



ที่มา : http://http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com.
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
8.1 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ
         (Rough endoplasmic reticulum)

                                                                       RER หน้าที่
                                                                       สังเคราะห์โปรตีนร่วมกับ Ribosome
                                                                       แล้วส่งต่อให้ Golgi body เพื่อขนออก
                                                                       นอกเซลล์ เช่น สารพวกเอนไซม์
                                                                       ฮอร์โมน และ สารแอนติบอดี




ที่มา : http://legacy.owensboro.kctcs.edu/gcaplan/anat/study%20guide/api%20study%20guide%20d%20cell%20structures.htm
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
8.2 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดเรียบ
             (Smooth Endoplasmic Reticulum)

                                                                  SER มีหน้าที่
                                                                  - สังเคราะห์ ฟอสโฟไลปิด
                                                                  - สังเคราะห์ สเตอรอยด์ คลอเลสเทอรอล
                                                                  ซึ่งคลอเลสเทอรอล สามารถเปลี่ยนไปเป็น
                                                                  สเตอรอยด์ ฮอร์โมน คือแอนโทเจนและเอ
                                                                  สโทรเจนในระบบสืบพันธ์
                                                                  - ทาหน้าที่สังเคราะห์และเก็บไกลโคเจนใน
                                                                  เซลล์ตับ
                                                                  - กาจัดพิษยาที่เซลล์ตับ
ที่มา : http://legacy.owensboro.kctcs.edu/gcaplan/anat/study%20guide/api%20study%20guide%20d%20cell%20structures.htm
เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
9. กอลจิ คอมเพล็ก / กอลจิ บอดี้ / กอลจิ แอบพาราตัส
                            (Golgi complex / Golgi body / Golgi apparatus)

มีลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน                                 Golgi complex มีหน้าที่
เรียกว่า Golgi Cisternar บริเวณตรงกลาง                                - ทางานร่วมกับ RER ในการสังเคราะห์
เป็นท่อแคบและปลายสองข้างโป่งออก และ                                     สารประกอบคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน
มีกลุ่มของถุงกลม (Vesicles) อยู่รอบๆ                                    เช่น ไกลโคโปรตีน
Golgi Complex มีโครงสร้างที่เป็น 2 หน้า                               - ทาหน้าที่บรรจุผลิตภัณฑ์โปรตีนขนออก
คือ Cis face และ Trans face                                             นอกเซลล์
                                                                      - สร้างเยื่อหุ้มไลโซโซม (Lysosome) และ
   Trans                                                                เพอรอกซิโซม(Peroxisome) สร้าง
                                                                       อะโครโซม(Acrosome) ที่หัวอสุจิ

                                       Cis
  ที่มา : http://www.biologyjunction.com/cell%20structure%20revised.ppt
  เข้าถึงวันที่ 2 /3/2555
แสดงการทางานร่วมกันระหว่าง RERกับ Golgi complex

  Transport vesicles ที่ถูกสร้างมาจาก Rough ER เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ Golgi Complex ทางด้าน
  Cis Face ส่วน Trans Face เป็นด้านที่เว้าของถุงแบน เป็นด้านที่สร้าง Vesicles และหลุดออกไป

  Rough
Endoplasmic
 Reticulum

   Vesicle

     Golgi
                                                                                             Lysosome
   Apparatus



                                                                                            Vesicle
    Vesicle

                                                                                              Plasma
                                                                                             Membrane
                     ที่มา : http://homepage.smc.edu/colavito_mary/biology4/Cells-F05.ppt
                     เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=rvfvRgk0MfA
               เข้าถึงวันที่ 3/3/2555


ภาพจาลอง แสดงการทางานร่วมกันระหว่าง RERกับ Golgi complex โดย Transport
vesicles ที่ถูกสร้างมาจาก RER เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ Golgi complex ทางด้าน cis face
ส่วน trans face เป็นด้านที่เว้าของถุงแบน เป็นด้านที่สร้าง Vesicles และหลุดออกไป
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=K7yku3sa4Y8
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555


ภาพจาลองการสร้าง vessicle จาก Golgi complex
นอกจากนี้ Golgi complex ยังสร้าง Cell plate
เป็นผนังกั้นเซลล์ในขณะที่พืชเกิดการแบ่งเซลล์ ดังรูป
10. Lysosome (ไลโซโซม)
                                                                                           เป็น organelles ที่มีเยื่อหุ้มชั้น
                                                                                           เดียว สร้างจาก Golgi complex
                                                                                           เป็นแหล่งย่อยภายในเซลล์
                                                                                           (Intracellular digestion)
                                                                                            เกี่ยวข้องกับการย่อย
                                                                                            Organelles ในไซโตพลาสซึม
                                                                                            เพื่อนาสารต่างๆกลับมาใช้
                                                                                            สร้าง organelles ใหม่อีก
                                                                                            (Autophagy)

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/content/lysosome.html
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
ที่มา : http://www.cytochemistry.net/cell-biology/lysosome.htm
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555


     ไลโซโซมบรรจุเอนไซม์สาหรับย่อยสิ่งต่าง ๆ เช่น ย่อยแบคทีเรียที่เข้า
     มาในเซลล์ ย่อยสารอาหารที่นาเข้ามา ย่อย Organells อื่นที่หมดอายุ
     เพื่อนาสารกลับมาใช้ใหม่ หรือย่อยเซลล์ตัวเองในหางลูกอ๊อด
ภาพของ อมีบาที่กาลังกินอาหาร
                                                                       โดยวิธี Phagocytosis เกิดเป็น
                                                                       Food vacuole ซึ่งจะรวมกับ
                                                                       Lysosome เอ็นไซม์ใน Lysosome
                                                                       จะทาหน้าที่ย่อยอาหารนั้น

  ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=aWItglvTiLc&feature=related
  เข้าถึงวันที่ 3/3/2555

                                                                        Phagocytosis (ฟาโกไซโทซีส) คือ
                                                                        การยื่นเท้าเทียม(Pseudopodium)
                                                                        ที่เกิดจากการไหลเวียนของ
                                                                        Cytoplasm ของเซลล์ไปโอบล้อม
                                                                        อาหารทาให้เกิดเป็น Food vacuole
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=1cuaS2QKobA&feature=related
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=JnlULOjUhSQ&feature=related
           เข้าถึงวันที่ 3/3/2555


เซลล์เม็ดเลือดขาวของคน (macrophage) ก็สามารถทาลายสิ่งแปลกปลอมที่
เข้ามาในเซลล์ด้วยวิธี Phagocytosis และถูกย่อยโดย Lysosome ได้เช่นกัน
11. เพอรอกซิโซม (Peroxisomes) หรือ ไมโครบอดี้ (Micreobodies)
                                                                  เป็น organelles ที่พบใน
                                                                  เซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด
                                                                  มีลักษณะเป็นถุงที่มเี ยื่อหุ้ม
                                                                  ชั้นเดียว ภายในมี เอ็นไซม์
                                                                  ชนิดต่าง ๆ ทาหน้าที่
                                                                  เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือ
                                                                  ทาลาย Hydrogen peroxide
                                                                  (H2O2) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
                                                                  สารพิษขึ้นภายในเซลล์
 ที่มา : http://www.cytochemistry.net/cell-biology/lysosome.htm
 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
การสร้างหรือทาลาย Hydrogen peroxide (H2O2) ใน Peroxisomes

               RH2 + O2       Oxidase     R + H2O2
              2H2O2          catalase     2H2O + O2
 ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้าเกี่ยวข้องกับ
การทาลายพิษของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol


Peroxisomes ในพืชมีบทบาทสาคัญในกระบวนการเมตาบอลิสม์ของกรดไขมัน
คือ เปลี่ยนกรดไขมันที่สะสมอยู่ในเมล็ดพืช ให้เป็นคาร์โบไฮเดรต สาหรับใช้เป็น
แหล่งพลังงาน ในการงอกของเมล็ด
12. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)

                                                              Mitochondria มีเยื่อหุ้ม 2ชั้น คือ เยื่อหุ้มชั้นนอก
                                                              (Outer Membrane) มีลักษณะเรียบ ส่วน เยื่อหุ้มชั้นใน
                                                              (Inner Membrane ) จะมีการโป่งยื่นเข้าข้างในเรียกว่า
                                                              cristae เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่อง
                                                              ภายใน 2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อชั้นนอกและ
                                                              เยื่อชั้นใน (Intermembrane space) และช่องที่ถูก
                                                              ล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน (Mitochodrial matrix)


                                                              พบในยูคารีโอตเกือบทุกชนิด ยกเว้นเซลล์บางชนิด
                                                              เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง โดยเซลล์แต่ละเซลล์ มีจานวน
ที่มา : http://student.nu.ac.th/u46410320/mitochondria.html   ไมโตคอนเดรียไม่เท่ากัน โดยทั่วไป พบไมโตคอนเดรีย
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555                                        มาก ในเซลล์ที่มีอัตราเมตาโบลิซึมสูง เช่น เซลล์
                                                              กล้ามเนื้อหัวใจ เซลล์ต่อม เซลล์ที่กาลังเจริญเติบโต
                                                              เป็นต้น
ที่มา : http://www.tutorvista.com/biology/function-mitochondria#
                     เข้าถึงวันที่ 3/3/2555

หน้าที่
1. สร้างสารให้พลังงานสูง คือ ATP (Adenosine triphosphate)
2. ภายในเมทริกซ์มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในวัฏจักรเครปส์ ( Krebs cycle) และ กระบวนการ
Beta oxidation ของกรดไขมัน
3. มี DNA (Deoxyribonucleic acid) RNA (Ribonucleic acid) เอนไซม์ และไรโบโซม ที่ทาหน้าที่สังเคราะห์
โปรตีนขึ้นภายในออร์แกเนลล์
13. พลาสติด (Plastid)
         Plastid เป็นออร์แกเนลล์ที่มีขนาดใหญ่พบเฉพาะในพืช และสาหร่าย
(ยกเว้นสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน) ลักษณะของพลาสติดมีเนือเยื่อ 2 ชั้น และมี DNA
                                                      ้
อยู่ภายใน พลาสติดสามารถจาแนกได้เป็น 3 พวกใหญ่ ๆคือ




          ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../...
          เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
13.1 พลาสติดที่ไม่มีสี
 ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่มีสีขาวพบในเซลล์ตามส่วนของพืชที่
 ไม่ถูกแสงสว่าง เช่น รากใต้ดิน ลาต้นใต้ดิน หน้าที่เก็บสะสมอาหาร


 13.2 พลาสติดที่มีสี
13.2.1 โครโมพลาสต์ (chromoplast)
เป็นพลาสติดที่มีสีอื่น ๆ นอกจากสีเขียว
- แคโรทีน (Carotene) เป็นรงควัตถุสีแดงส้ม
- แซนโทฟิลล์l (Xanthophyl) เป็นรงควัตถุสีเหลืองเข้ม
- ไฟโคอีริทริน (Phycoerythrin) เป็นรงควัตถุสีแดง
- ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin ) เป็นรงควัตถุสีน้าเงิน

                                                      ที่มา : http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/Quest_color.html
                                                      เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
13.2.2. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast)                                Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่ง
                                                                 ของเซลล์พืชมีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น คือ เยื่อหุ้ม
                                                                 ชั้นนอก (Outer Membrane ) และ
                                                                 เยื่อหุ้มชั้นใน (Inner Membrane )
                                                                 หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า
                                                                 (Stroma) ภายในมีถุงแบนคือ
                                                                 ไทลาคอยด์ (Thylakoids) ซึ่งซ้อนกัน
                                                                 เป็นตั้งเรียกว่า กรานัม (Granum)
                                                                 มีรงควัตถุ(Pigment)สีเขียวที่เรียกว่า
                                                                 คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll ) ซึง   ่
ที่มา : http://amrita.vlab.co.in/?sub=3&brch=187&sim=878&cnt=1
                                                                 ประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของ
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555                                           สารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์
                                                                 ด้วยแสง
14. ระบบเส้นใยภายในเซลล์ (Cytoskeleton )

                                                                                   เป็นโปรตีนขนาดเล็กที่มารวมตัวกันเป็น
                                                                                   เส้นใย ทาหน้าที่ค้าจุนให้เซลล์คงรูปร่าง
                                                                                   อยู่ได้ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเปลี่ยน
                                                                                   รูปร่างของเซลล์ และการรวมตัวของ
                                                                                   เซลล์เป็นเนื้อเยื่อ การเคลื่อนไหวของ
                                                                                   เซลล์ รวมทั้งการยึดเหนี่ยวออร์กาเนลล์
                                                                                   ให้อยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม พบทั้งใน
                                                                                   โปรคาริโอตและยูคาริโอต


ที่มา : http://www.surin.rmuti.ac.th/agtcha/teacher/anatomy/cellaim/cell_skeleton.htm
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
ไมโครทูบูล (Microtubule)
                                                                          ประกอบด้วยโปรตีนชนิดทิวบูลิน
                                                                          (tubulin)จัดเรียงตัวเป็นท่อ (tubule)
                                                                          เป็นเส้นใยที่มีความแข็งที่สุด
                                                                          พบเป็นองค์ประกอบของส่วนยื่นของ
                                                                          เซลล์ประสาท และเป็นองค์ประกอบที่
                                                                          สาคัญในเซนโตรโซม และเซนตริโอล
ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../.   มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ
เข้าถึงวันที่ 2/3/2555.                                                   โครโมโซมระหว่างการแบ่งเซลล์การ
                                                                          เคลื่อนไหวของออร์การ์เนลล์ใน
                                                                          ไซโตพลาสซึม และการเคลื่อนไหว
                                                                          ของซีเลียและแฟลกเจลลา นอกจากนี้
                                                                          ในบางเซลล์จะเกี่ยวข้องกับการลาเลียง
                                                                          สาร เช่น ช่วยลาเลียงฮอร์โมนอินซูลิน
                                                                          ในเซลล์ตับอ่อน
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=PvDlilBgoSs&feature=related
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
ไมโครฟิลาเมนต์ (microfilament)
ประกอบด้วยโปรตีนมีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ
และบาง มักอยู่รวมกันเป็นมัดใน Cytoplasm
พบมากที่สุดในเซลล์ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ
หดตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยค้าจุน และให้ความ
แข็งแรงกับเซลล์ การเปลี่ยนรูปร่างของ
เซลล์ การแยกตัวของไซโตพลาสซึมใน
กระบวนการแบ่งเซลล์ควบคุมทิศทางการ
ไหลของไซโทพลาสซึม รวมทั้งการเคลื่อนที่
แบบอะมีบา (Ameboid movement)และการ
เกิดเท้าเทียม (Pseudopodia) ในเซลล์บาง
ชนิด
                                           ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../.
                                           เข้าถึงวันที่ 3/3/2555.
อินเตอร์มีเดียต ฟิลาเมนต์ (intermediate filament)

                                                             เป็นเส้นใยที่มีการพัฒนาอย่างมากใน
                                                             เซลล์ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่าง
                                                             ของเซลล์ ตรึงเยื่อหุ้มเซลล์ให้อยู่ตัว
                                                             พบเฉพาะในเซลล์ที่รวมตัวกันเป็น
                                                             เนื้อเยื่อหรืออยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
                                                             นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เกี่ยวกับการยึด
                                                             กันของไมโครฟิลาเมนท์ในเซลล์
                                                             กล้ามเนื้อและยังทาหน้าที่ค้าจุนแอก
                                                             ซอน (Axon) ของเซลล์ประสาทและ
  ที่มา : http://users.uma.maine.edu/SBaker/cells%20CR.ppt   ยังมีบทบาทในการสื่อสารระหว่าง
  เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
                                                             เซลล์ด้วย
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=FoDniO676Dw&feature=related
    เข้าถึงวันที่ 3/3/2555

ภาพจาลองแสดงโครงสร้างและการทางานของ Intermediate filament ที่ทาหน้าที่เป็นตัว
รับแรงดึง ได้แก่ เดสโมโซม (Desmosome) ที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่างของเซลล์
15. เซนตริโอล(Centriole)
                                                                       เป็นออร์แกเนลล์ทรงกระบอก 2 อัน Centriole
                                                                       แต่ละอันประกอบด้วยหลอดเล็ก ๆ เรียกว่า
                                                                       Microtubule เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 3
                                                                       หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม ส่วนบริเวณตรงกลางไม่
                                                                       มี Microtubule อยู่เลย จึงเรียกการเรียงตัวของ
                                                                       Microtubule แบบนี้ว่า 9+0 ( มี Microtubule
                                                                       ทั้งหมด 27 เส้น) พบเฉพาะในเซลล์สัตว์มี
                                                                       หน้าที่ในการแบ่งเซลล์ โดย Microtubule จะ
                                                                       สร้างเส้นใยสปินเดิล (Spindle fiber) ไปเกาะ
                                                                       ตรงกลาง (Centromere) ของโครโมโซม เพื่อดึง
ที่มา : http://micro.magnet.fsu.edu/cells/centrioles/centrioles.html
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555                                                 โครโมโซมให้แยกออกจากกัน
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=ATlUv-AGhEU&feature=related
       เข้าถึงวันที่ 3/3/2555



ภาพจาลองแสดงการทางานของ Centriole ในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัว
16. ซิเลีย(Cilia) และ เฟกเจลลัม (Flagellum)

                                                                     เป็น Organlles ที่มีเยื่อหุ้ม ประกอบด้วย
                                                                     Microtubule 20 เส้น เรียงตัวเป็นชุด
                                                                     ชุดละ 2เส้น ในรูปแบบ 9 + 2
                                                                     (มี microtubule ทั้งหมด 20 เส้น)
                                                                     ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของพวก
                                                                     โปรโตซัว ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์เดียว
                                                                     เช่น พารามีเซียม ยูกลีนา


ที่มา : http://faculty.sgc.edu/asafer/BIOL1107/chapt04_lecture.ppt
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
Cilia และ Flagellum ประกอบด้วย
                                                           Microtubule 20 เส้น เรียงตัวเป็น
                                                           ชุด ชุดละ 2เส้น ในรูปแบบ 9 + 2
                                                           Basal Body (เบซัล บอดี้) เป็นต้น
                                                           กาเนิดของซีเลียและเฟเจลลา
                                                           ประกอบด้วย Microtubule 27 เส้น
                                                           เรียงตัวเป็นชุด ชุดละ 3 เส้น ใน
                                                           รูปแบบ 9 + 0 เหมือน Centriole



ที่มา : http://www.oocities.org/truanson/Untitled-05.htm
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
เปรียบเทียบ Centriole และ Cilia




               โครงสร้าง 9 + 0                                                  โครงสร้าง 9+2
           ไม่มี plasma membrane                                            มี Plasma membrane

ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../...
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
ที่มา : http://o-o---preferred---tot-cnx1---v15---lscache3.c.youtube.com/videoplayback?algorithm=throttle-factor&burst
 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555



รูปภาพของโปรโตซัว (พารามีเซียม) ที่ใช้ Cilia ในการเคลื่อนที่
ที่มา : http://o-o---preferred---tot-cnx1---v13---lscache4.c.youtube.com/videoplayback?algorithm=throttle-factor&burst
   เข้าถึงวันที่ 3/3/2555

รูปภาพของโปรโตซัว (พารามีเซียม,วอติเซลลา) ที่ใช้ Cilia ในการเคลื่อนที่
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=fI7nEWUjk3A
     เข้าถึงวันที่ 3/3/2555


รูปภาพของโปรโตซัว (ยูกลีนา) ที่ใช้ Flegellum ในการเคลื่อนที่
17. แวคูโอล (Vacuole)
เป็นถุงที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียวมีลักษณะเป็นก้อนกลมใส ๆ มีเยื่อบาง ๆ ล้อมรอบ แวคิวโอลเกิด
จากการหลุดขาดของ ER หรือ Golgi Complex มีหน้าที่หลากหลาย มองเห็นได้ชัดเจน ทา
หน้าที่ได้แตกต่างกันพบเฉพาะในพืช และพวกโปรโตซัว




   ที่มา : http://www.oocities.org/truanson/Untitled-06.htm
   เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
15.1 ฟูด แวคูโอล                                   15.2 คอนแทรกไทล์ แวคูโอล
  (Food Vacuole )ทาหน้าที่                           (Contractile Vacuole )
   สะสมอาหาร ในโปรโตซัว                              ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณน้าในโปรโตซัว




ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=a4aZE5FQ284   ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=9Ynm5ZOW59Q
เข้าถึงวันที่ 3/3/2555                               เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
15.3 เซนทรัล แวคูโอล (Central vacuole)หรือ โทโนพลาสต์ (Tonoplast)


                                                               Central vacuole ทาหน้าที่เก็บ
                                                               ของเหลว (Cell sap) ทาให้เซลล์
                                                               คงสภาพอยู่ได้
                                                               Sap vacuole ทาหน้าที่เก็บสารสี
                                                               ในเซลล์พืช




  ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/23740?page=0%2C11
  เข้าถึงวันที่ 3/3/2555

More Related Content

What's hot

โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
Aomiko Wipaporn
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
nokbiology
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
Wan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 

Viewers also liked

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Y'tt Khnkt
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
พัน พัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
พัน พัน
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
tarcharee1980
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
krunidhswk
 

Viewers also liked (20)

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
Cell
CellCell
Cell
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Cell
CellCell
Cell
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Microbiology
Microbiology Microbiology
Microbiology
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 

Similar to Cell.ppt25 copy

โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
itualeksuriya
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
supreechafkk
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
mu_nin
 
Brand s+summer+camp+2011_biology
Brand  s+summer+camp+2011_biologyBrand  s+summer+camp+2011_biology
Brand s+summer+camp+2011_biology
Anyamanee Kantawong
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
Oui Nuchanart
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Takky Pinkgirl
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
tarcharee1980
 

Similar to Cell.ppt25 copy (20)

โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Pat 2
Pat 2Pat 2
Pat 2
 
4
44
4
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
Brand s+summer+camp+2011_biology
Brand  s+summer+camp+2011_biologyBrand  s+summer+camp+2011_biology
Brand s+summer+camp+2011_biology
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่าเซลล์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 

Cell.ppt25 copy

  • 1. รายวิชา พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต รหัส ว30161 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 เรื่อง โครงสร้างของเซลล์ (Cell Structure/Cell organells)
  • 2. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=GVrVO4PfmiE เข้าถึงวันที่ 20 / 4 / 55 ภาพจาลอง แสดงโครงสร้างภายในของเซลล์
  • 3. สาระสาคัญ Cellเ (เซลล์) เป็นโครงสร้างและหน่วยทางานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต แทบทุกชนิด ในบางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิต (Building blocks of life) สิ่งมีชีวิตบางชนิดเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (Unicellular organism) เช่น แบคทีเรีย ยีสต์ แต่สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ เช่น รา สาหร่าย พืช สัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular organism) ระบบการทางานเพื่อความอยู่รอดของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมดเกิดขึน ้ ภายในเซลล์ และภายในเซลล์ยังประกอบด้วยข้อมูลทางพันธุกรรม (Hereditary information) ซึ่งจาเป็นสาหรับการควบคุมการทางานของ เซลล์ และการส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์รุ่นต่อไป
  • 4. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและ หน้าที่ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแล สิ่งมีชีวิต ตัวชี้วัดช่วงชั้น 1. สืบค้นข้อมูล อธิบายและทดลอง เกี่ยวกับลักษณะที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต
  • 5. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ รูปร่าง หน้าที่ของเซลล์จุลชีพ เซลล์พืช และเซลล์สัตว์ รวมถึงบทบาทของออร์แกเนลชนิดต่าง ๆ ในเซลล์ ลักษณะ ความแตกต่างของ สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะไม่เป็นเซลล์ เป็นเซลล์เดียว เป็นเซลล์ที่รวมเป็นกลุ่ม และ เป็นกลุ่มเซลล์ที่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อได้
  • 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบโครงสร้างของเซลล์โปรคาริโอตและเซลล์ยูคาริโอตได้ 2. เปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 3. อธิบายลักษณะของโครงสร้าง(Organells)ของเซลล์ได้ 4. บอกหน้าที่ของโครงสร้างของเซลล์ได้ 5. บอกตาแหน่งของโครงสร้างของเซลล์ได้
  • 7. แบบทดสอบก่อนเรียน 1. เพราะเหตุใด Prokaryotic cell โดยทั่วไปมีขนาดเล็กกว่า Eukaryotic cell ก. มี Cytoskeleton ช่วยในการเคลื่อนที่ของสาร ข. Eukaryotic cell มีโครโมโซมมากกว่า ค. Eukaryotic cell มี DNA อยู่ในนิวเคลียส ง. Membrane system ของ Eukaryotic cell มีพื้นที่ผิวเพื่อแลกเปลี่ยน สารอาหารและเอนไซม์
  • 8. ตารางเปรียบเทียบส่วนประกอบและออร์แกเนลเซลล์แบคทีเรีย เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม และเซลล์ปากใบ โครงสร้าง เซลล์แบคทีเรีย เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม เซลล์ปากใบ A * / / B / / / C * / * D * * / E * * / 2. A B และ C คือออร์แกเนลล์ใด ก. ผนังเซลล์ ไรโบโซม ไลโซโซม ข. กอลจิบอดี เยื่อหุ้มเซลล์ ไมโทคอนเดรีย ค. นิวคลีโอลัส ไรโบโซม เซนทริโอล ง. เยื่อหุ้มนิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม
  • 9. ตารางแสดงการเปรียบเทียบออร์แกเนลล์ในสิ่งมีชวิตทั้ง 3 ชนิด ี ออร์แกเนลล์ สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 1 สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 2 สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 3 A / - / B / / - C / / - D - / - E / / / 3. สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 1 , 2 และ 3 ควรเป็นข้อใด ก. แบคทีเรีย สัตว์ พืช ข. แบคทีเรีย พืช สัตว์ ค. พืช สัตว์ แบคทีเรีย ง. สัตว์ พืช แบคทีเรีย
  • 10. 4. โครงสร้างที่มีส่วนเกี่ยวข้องของการไหลเวียนของไซโทพลาสซึม ก. Centrole Microtubule Microfilament ข. Mitochondria Microtubule Microfilament ค. Microfilament Centriole Endoplasmic reticulum ง. Mitochondria Microtubule Endoplasmic reticulum 5. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่เป็นความจริง ก. Lysosome จะพบจานวนมากปริมาณกระเพาะอาหาร ข. เซลล์โพรคาริโอต มีไรโบโซมขนาด 50S และ 30S รวมกันได้เป็น 80S ค. Chloroplast ประกอบด้วย Thylakoid หลายอันเรียงซ้อนกัน และ Stroma ง. Contractile vacuole ทาหน้าที่ขับนาที่มากเกินพอ และควบุคมสมดุลนาภายในเซลล์
  • 11. 7. โครงสร้างใดต่อไปนีที่มีการจัดเรียงตัวเหมือนกัน ก. Centriole , Cilia ข. Basal body , Cilia ค. Basal body , Centriole ง. Flagellum , Spindle fiber 6. ในการสร้างเอนไซม์อะไมเลสจากเซลล์ต่อมนาลาย เพื่อส่งไปยังที่ปากสาหรับ ย่อยสารอาหารจาพวกแป้ง ข้อใดเรียงลาดับการสร้างเอนไซม์อะไมเลส ได้ถูกต้อง ก. Golgi complex/ RER/ SER/ Cell membrane ข. RER/ Cell membrane/ SER/ Golgi complex ค. RER/ SER/ Golgi complex/ Secretory vesicles ง. RER / Golgi complex / SER/ Secretory vesicles
  • 12. นักวิทยาศาสตร์จาแนกเซลล์ออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1. เซลล์โปรคาริโอต (Prokaryotic cell) เป็นเซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ เซลล์ของแบคทีเรีย และสาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียว ที่มา : https://sites.google.com/site/prapasara/p7-1 ที่มา : https://sites.google.com/site/prapasara/p7-1 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 รูปแบคทีเรียรูปท่อน รูปสาหร่ายสีน้าเงินแกมเขียว(สไปรูไรนา)
  • 13. โครงสร้างของเซลล์ โปรคาริโอต (Prokaryote) 1. แคปซูล (Capsule) 2. ผนังเซลล์ (Cell wall ) 6 3. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cytoplasmic Membrane ) 4. ไรโบโซม (Ribosome) 5. พิลไล (Pilli) 6. นิวคลีออยด์ (Nucleoid) 7. เฟลกเจลล (Flagella) ที่มา : http://student.nu.ac.th/u46410320/Procaryotic%20cell.html เข้าถึงวันที่ 4/3/2555
  • 14. 1. แคปซูล (Capsule) เป็นโครงสร้างชั้นนอกสุดของเซลล์ ซึ่งมีลักษณะเป็นวุ้น ป้องกันสิ่งที่จะเป็น อันตราย ช่วยให้แบคทีเรียเกาะติดกับ พื้นผิวใดๆได้ เพิ่มศักยภาพในการ เจริญเติบโตและก่อโรคของแบคทีเรีย เพิ่มความ สามารถในการเจริญเติบโต 2. ผนังเซลล์ (Cell wall ) อยู่ระหว่างแคปซูลและเยื่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย Peptidoglycan , Murein , Mucopeptide หรือ Glycosaminopeptide ช่วยให้เซลล์แบคทีเรียสามารถคงรูปร่างได้ ที่มา : http://www.hepatit.com/en/the-bacterial-cellular.html ป้องกันและรักษาความดันภายในเซลล์ เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 15. 3. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane ) เป็นเยื่อบางๆ 2 ชั้นประกบกันบางส่วนจะ ยื่นเข้าไปในเซลล์ เรียกว่า มีโซโซม (Mesosome) โครงสร้างนี้จึงเกี่ยวข้องกับ การจาลองตัวเองของ DNA และการหายใจ ของเซลล์ 4. ไรโบโซม (Ribosome) มีลักษณะเป็นเม็ดเล็ก ๆ มีหน่วยย่อย 2 ส่วนคือ 30s และ 50s ในขณะที่มีการ สร้างโปรตีน หน่วยย่อยจะมารวมกัน เป็น ไรโบโซม 70s มีหน้าที่ สังเคราะห์ โปรตีน ที่มา : http://www.healthhype.com/microorganisms-types-harmful-effects-on-human-body-pictures.html เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 16. 5. นิวคลีออยด์ (Nucleoid) เป็นบริเวณที่มีสีจางๆ มักอยู่ตรงกลาง เซลล์บริเวณนี้เป็นที่อยู่ของโครโมโซม ของแบคทีเรียประกอบด้วย โมเลกุลของ DNA ที่มีลักษณะเป็นวงกลม ความหนา ของสาย DNA ประมาณ 3-5 นาโนเมตร ที่มา : http://www.healthhype.com/microorganisms-types-harmful -effects-on-human-body-pictures.html เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 6. พลาสมิด(Plasmid) เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของ แบคทีเรีย ลักษณะของ พลาสมิดเป็น DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่ สามารถจาลองตัวเองได้และสามารถ ถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้ควบคุม การสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์ บาง ชนิดควบคุมการดื้อต่อยาปฏิชีวนะต่าง ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/348081 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 17. 7. พิลไล/พิลลัส (Pilli / Pillus ) ช่วยให้แบคทีเรียมีคุณสมบัติ ในการยึดเกาะกับผิวเซลล์อื่น ๆ เช่น เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้แบคทีเรีย ที่มา : http://www.nature.com/nrmicro/journal/v4/n7/fig_tab/nrmicro1443_F5.html สามารถเจริญบน Host ได้ เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 Sex pilli ทาหน้าที่เกี่ยวกับ การถ่ายทอดสารพันธุกรรม โดยการ Conjugation ที่มา : http://faculty.ccbcmd.edu/courses/bio141/lecguide/unit1/prostruct/u1fig23.html เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 18. คอนจูเกชั่น (Conjugation) คือการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ของแบคทีเรีย โดยการถ่ายทอด DNA ของ Plasmid ใน เซลล์ ผู้ให้ (Doner cell ) ให้กับเซลล์ผู้รับ (Recipient cell ) ผ่าน Sex pilli หลังการ Conjugation ทาให้ Recipient cell (New doner)มี คุณสมบัติเหมือนกับ Doner cell Plasmid ที่ New doner ได้รับการ ถ่ายทอดมาจาก Old Doner cell ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Pilus เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 19. 8. แฟลกเจลลา (Flagella) กาเนิดจากเซลล์เมมเบรนและติดยึดกับเซลล์เมมเบรนและผนังเซลล์ตรงบริเวณ ส่วนเบซัลบอดี (basal body) ที่ยึดกับฐาน ที่อยูใต่เยื่อหุ้มเซลล์ในไซโทพลาซึม ่ มีลักษณะเป็นเส้นยาวกลวง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.01-0.05 ไมโครเมตร มีความ ยาวแตกต่างกันไปตั้งแต่ 1-70 ไมโครเมตร ช่วยในการ เคลื่อนที่พบเฉพาะใน แบคทีเรีย พวกที่สามารถ เคลื่อนที่ได้ ของแบคทีเรีย ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Flagellum เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 20. 9. Endospore (เอนโดสปอร์) เป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรีย แกรมบวก ซึ่งเกิดขึ้นภายในเซลล์ และสร้างได้ 1 สปอร์ต่อ 1 เซลล์ ทาให้แบคทีเรียมีความทนทานต่อ สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ จะไม่ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ แต่ถือ ว่าเป็นการดารงชีพ Endospore ที่สร้างขึ้น ในซลล์ของ แบคทีเรีย ที่มา : http://micro.cornell.edu/cals/micro/research/labs/angert-lab/endo2.cfm เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 21. 2. เซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic cell ) เป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสห่อหุ้มสารพันธุกรรม ได้แก่ เซลล์ของ โปรโตซัว สาหร่าย รา พืช สัตว์ รูป โปรโตซัว (พารามีเซียม) รูปสาหร่ายสีเขียว รูปราดาที่ขึ้นบนขนมปัง ที่มา : http://phetchaburi- ที่มา : http://www.blink.co.th/t_list_ ที่มา : http://www.foodnetworksolution.com/ fightingfish.blogspot.com/ detail.php?type=1&id=45&ln= vocab/wordcap/Rhizopus 2008/08/paramecium.html เข้าถึงวันที่ 4/3/55 เข้าถึงวันที่ 4/3/55 เข้าถึงวันที่ 4/3/55
  • 22. Eukaryotic cell Structure โครงสร้างของเซลล์ Eukaryote (Animals Cell) Animal cell (เซลล์สัตว์) 1. ไลโซโซม (Lysosome) 2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane ) 16 3. ไมโครฟิลาเมนต์ (Microfilament) 1 15 4. ไมโทคอนเดรียa (Mitochondri) 5. เซนตริโอล (Centrioles) 2 14 6. ไมโครทิวบูล (Microtubules) 7. ไรโซโซม (Ribosome) 3 13 8. กอลจิ แอบพาราตัส (Golgi Apparatus ) 4 12 9. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum) 5 11 10. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดขรุขระ 6 (Rough Endoplasmic Reticulum) 11. นิวเคลียเอนวิโลป (Nuclear Envelope ) 7 10 12. นิวเคลียส (Nucleus) 8 9 13. โครมาติน (Chromatin) 14. นิวคลีโอลัสs (Nucleolu) ที่มา : http://www.triamudomsouth.ac.th/03_v/tanamon/structure%20of%20the%20cell.ppt เข้าถึงวันที่ 4/3/2555 15. เฟลกเจลลัม (Flagellum) 16. เพอรอกซิโซม (Peroxisome)
  • 23. Eukaryotic cell Structure โครงสร้างของเซลล์Eukaryote (Plants Cell) Plante (เซลล์พืช) 1. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดขรุขระ 17 (Rough Endoplasmic Reticulum) 1 2. โครมาติน (Chromatin) 2 16 3. นิวเคลียส (Nucleus) 4. นิวคลีโอลัส (Nucleolus) 3 15 5. ผนังเซลล์(Cell Wall) 4 6. ไมโครฟิลาเมนต์ (Microfilament) 14 7. เพอรอกซิโซมe (Peroxisom) 1 5 8. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ชนิดเรียบ 13 (Smooth Endoplasmic Reticulum) 6 9. เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma Membrane) 10. กอลจิ แอบพาราตัส (Golgi Apparatus ) 12 11. พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata) 7 12. เวนทรัล แวคูโอล (Central Vacuole) 8 11 13. ไมโครทิวบูล (Microtubules) 14. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) 9 10 15. เฟลกเจลลัม (Flagellum) 16. ไรโซโซม (Ribosome) ที่มา : http://www.triamudomsouth.ac.th/03_v/tanamon/structure%20of%20the%20cell.ppt 17. นิวเคลียเอนวิโลป (Nuclear Envelope ) เข้าถึงวันที่ 4/3/2555
  • 24. โครงสร้างและองค์ประกอบของเซลล์ (Cell Structure and Organelles) 1 ผนังเซลล์(Cell Wall) เป็นส่วนที่หุ้ม อยู่นอกของเยื่อหุ้มเซลล์ อีกชั้นหนึ่ง มีคุณสมบัติยอมให้สาร เกือบทุกชนิด ผ่านได้ ทาหน้าที่ เพิ่ม ความแข็งแรง และป้องกันอันตราย ให้กับเซลล์ของพืช ที่มา : http://student.nu.ac.th/u46410288/cell%20wall.htm เข้าถึงวันที่ 4/3/55 ประกอบขึ้นด้วย เซลลูโลส (Cellulose) เป็นส่วนใหญ่ รองมาเป็น เพคติน (Pectin) ซูเบอริน (Suberin) และลิกนิน (Lignin) ที่มา : http://micro.magnet.fsu.edu/cells/plants/cellwall.html เข้าถึงวันที่ 4/3/55
  • 25. ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com. เข้าถึงวันที่ 4/3/55 ชนิดของ ผนังเซลล์พืช ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell wall ) เกิดขึ้นครั้งแรกขณะที่เซลล์มีการเจริญเติบโต ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell wall ) เกิดขึ้นภายหลังเซลล์ปฐมภูมิหยุดการเจริญแล้ว โดยจะพอกทับผนังเซลล์ปฐมภูมิ ทาให้ผนังเซลล์มีความแข็งแรงมากขึ้น สุดท้ายเซลล์จะตาย เช่น ไฟเบอร์
  • 26. 2. พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) เป็นช่องว่างเล็กจานวนมาก ที่อยู่บน ผนังเซลล์ซึ่งอาจจะอยู่รวมกันอย่าง หนาแน่น ถึง 1 ล้านช่องต่อตาราง มิลลิเมตร ช่วยทาหน้าที่เชื่อมเซลล์ที่อยู่ ใกล้เคียงกัน เพื่อช่วยในการขน ถ่ายสิ่ง ๆ ต่างๆ ระหว่างเซลล์พืช เช่น สารอาหาร น้า ฮอร์โมน ที่มา : http://mycozynook.com/101RGCh4OH.htm เข้าถึงวันที่ 5/3/55
  • 27. 3. เยื่อหุ้มเซลล์ (plasma membrane/Cell membrane) ประกอบด้วย ฟอสโฟลิปิด(Phospholipid) 2 ชั้น เรียงตัวกันแบบหันด้านหัว ออกหันทางด้านหางเข้าหากัน เรียกว่า ฟอสโฟลิปิดไบเลเยอร์ (Phospholipid bilayer) นอกจากนี้ยังประกอบด้วย ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein) โปรตีนโมเลกุล (Protein) โคเลสเตอรัล (Cholesterol) ที่มา : http://homepage.smc.edu/colavito_mary/biology4/Cells-F05.ppt มีหน้าที่ คัดเลือกสารผ่าน เข้าถึงวันที่ 5/3/2555 เข้า – ออก ระหว่างภายใน และภายนอกเซลล์
  • 28. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=moPJkCbKjBs&feature=related เข้าถึงวันที่ 14/3/2555 ภาพจาลองแสดงโครงสร้างทางเคมีของเยื่อหุ้มเซลล์ และการคัดเลือกสารเข้า - ออก ระหว่างภายในและภายนอกเซลล์
  • 29. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?feature=endscreen&v=Rl5EmUQdkuI&NR=1 เข้าถึงวันที่ 5355 ภาพจาลองแสดงโครงสร้างทางเคมีของเยื่อหุ้มเซลล์ และการคัดเลือกสารเข้า - ออก ระหว่างภายในและภายนอกเซลล์
  • 30. รอยต่อของเซลล์ (Cell Junction) ชนิด ของ Cell Junction เยื่อหุ้มเซลล์จะทาหน้าที่ยึดกลุ่มของเซลล์ เข้าด้วยกัน ทาให้เกิดรอยต่อของเซลล์ Tight junction: เพื่อให้เซลล์มีการสื่อสารกันได้ กั้นไม่ให้สารไหลผ่านระหว่างเซลล์ พบภายในลาไส้ เซลล์บุท่อไต และกระเพาะ ปัสสาวะ Adhering junction (desmosome): เชื่อมเยื่อหุ้มเพื่อให้เกิดความ แข็งแรง มีเส้นใยยึดติดอยู่ พบบริเวณเนื้อเยื่อที่ ต้องยึดติดกัน เช่น ผิวหนัง Gap junction: ช่องเล็กๆระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกันทาให้สาร ผ่านได้พบในเซลล์ประสาท หัวใจ กล้ามเนื้อ เรียบ ที่มา : http://cellbiology.med.unsw.edu.au/units/science/lecture0808.htm เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 31. 4. นิวเคลียร์ เอนวิโลป (Nuclear envelope ) Nuclear envelope มีลักษณะดังนี้ เป็นเยื่อ 2 ชั้น ได้แก่ เยื่อหุ้มชั้นนอก (Outer nuclear membrane ) และ เยื่อหุ้มชั้นใน (Inner nuclear membrane ) มีช่องว่างตรงกลางกว้างประมาณ 20-40 nm มีรู (Nuclear pores) แทรกอยู่ทั่วไป เป็นทางให้สารต่างๆ โดยเฉพาะ RNA ผ่านเข้าออกได้ ที่มา : http://www.mhhe.com/biosci/pae/botany/uno/graphics/uno01pob/vrl/images/0071.gif เข้าถึงวันที่ 5 / 3 / 2555
  • 32. ภายในนิวเคลียส บรรจุสารพันธุกรรม ที่อยู่ในรูปของโมเลกุล DNA ที่จับกับ โมเลกุลของโปรตีน เป็นโครโมโซม (Chlomosome) มีหน้าที่ควบคุม กิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ ที่มาภาพที่ 1 http://www.cerritos.edu/charbut/AP150/lec_otl/150%20Ch3-Cell.ppt เข้าถึงวันที่ 5/3/2555 ที่มาภาพที่ 2 : http://www.il.mahidol.ac.th/emedia/dna/chapter/chapter1chromosomegene.htm เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 33. 5. นิวคลีโอลัส (Nucleolus) มีลักษณะเป็นเม็ดกลมขนาดเล็ก อยู่ใน นิวเคลียส ในหนึ่งเซลล์อาจมี 1 หรือ 2 เม็ด มองเห็นชัดขณะเซลล์ไม่มีการแบ่งตัว ประกอบด้วย Nucleolar organizers และ Ribosome ที่กาลังสร้างขึ้น Nucleolus ทาหน้าที่สร้าง Ribosome (Nucleolar organizers) เป็นส่วน ที่มา : http://www.cartage.org.lb/en/themes/sciences/zoology/ animalphysiology/anatomy/animalcellstructure/nucleus/nucleus.htm พิเศษของโครโมโซมที่มียีนเกี่ยวกับ เข้าถึงวันที่ 5/3/2555 การสร้าง Ribosome อยู่หลายชุด)
  • 34. 6. โครโมโซม (Chromosomes) อยู่ในนิวเคลียส ไมโตคอนเดรีย และคลอโรพ ลาสต์ มีความจาเพาะทั้งขนาด รูปร่าง และ จานวนในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด เป็นแหล่งบรรจุ สารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ทาหน้าที่ควบคุม กระบวนที่เกี่ยวกับกิจกรรมทั่ว ๆ ไปทางชีวเคมี ภายในเซลล์ของ สิ่งมีชีวิต ไปจนถึงลักษณะปรากฏ ที่พบเห็นหรือสังเกตได้ด้วยตา เช่น รูปร่างหน้าตา ลักษณะของเส้นผม ลักษณะดวงตา เพศ และผิว สีสันของดอกไม้ รสชาติของอาหารนานาชนิด ล้วนแล้วแต่เป็นลักษณะที่บันทึกอยู่ในหน่วย พันธุกรรมทั้งสิ้น ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1303 เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 35. โครโมโซม(Cromosome) เกิดจากการ รวมตัวของ DNA และโปรตีน ฮีสโตนหลาย ๆ โมเลกุล ทาให้เกิดเป็น โพลีนิวคลีโอโซม (Polynucleosome) โครมาติน ขึ้นมา โพลีนวคลีโอโซมในสภาพ ิ ปกติ จะขดตัวแน่นเป็นเกลียว เรียกว่า โซลีนอยด์ โซลีนอยด์ (Solenoid) ระยะต่อมา เรียกโครมาติน (Chromatin) ระยะนี้จะเห็นเป็นเส้นใยจนกระทั่ง ขดตัวแน่นที่สุดจะเห็นเป็นรูปร่าง คล้ายกากบาท ระยะนี้จึงเรียกว่า ที่มา : http://science.srru.ac.th/org/sci- โครโมโซม elearning/courseonline/4022503/chapter6-dna6.htm เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 36. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=eYrQ0EhVCYA เข้าถึงวันที่ 5/3/2555 ภาพจาลองการสร้างโครโมโซมจากโมเลกลุลของ DNA ภายในนิวเคลียส
  • 37. 7. ไรโบโซม (Rhibosomes) ที่มา : http://biology4teachers.com/cells/cells.ppt เข้าถึงวันที่ 5/3/2555 เป็น organelles ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ทาหน้าที่สร้างโปรตีน มี 2 ส่วนย่อย คือ ส่วน ที่มีขนาดใหญ่ (Large Subunit) และ ส่วนที่มีขนาดเล็ก (Small Subunit) สร้างจาก Nucleolus ในเซลล์ที่มีการสร้างโปรตีนสูงจะพบว่ามี Nucleolus และ Ribosome เป็นจานวนมาก ตัวอย่าง เช่น ในเซลล์ตับของคน
  • 38. Ribosome มี 2 ชนิดคือ 1. Free ribosomes ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่ใช้ใน Cytosol เช่น เอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้องกับเมตาบอริซึมใน Cytoplasm 2. Bound ribosomes เป็น Ribosome ที่เกาะอยู่ ด้านผิวนอกของ ER ทาหน้าที่สร้างโปรตีนที่จะถูกส่งต่อไปรวมกับ Organelles อื่นๆ และโปรตีนที่จะถูกส่งออกไปใช้นอกเซลล์ ในเซลล์ที่สร้างโปรตีน เช่น เซลล์ตับอ่อนหรือต่อมต่าง ๆ ที่สร้างน้าย่อย หรือฮอร์โมน จะมี Bound ribosomes เป็นจานวนมาก
  • 39. ภาพแสดงการสังเคราะห์ โปรตีนโดยมี DNA ในนิวเคลียสควบคุมรหัส ของโปรตีน และมี RNA ลอกรหัส ของ DNA ออกมายังไซโทพลาสซึม เพื่อนารหัสไปสังเคราะห์ โปรตีนที่ไรโบโซม ที่มา : http://mstream.popcornfor2.com/daisy-hey.wma เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 40. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=Ml0OqAUzEXU เข้าถึงวันที่ 5/3/2555 ภาพจาลองแสดงการสังเคราะห์โปรตีนโดยมี DNA ในนิวเคลียสควบคุมรหัสของโปรตีนและมี RNA ลอกรหัส ของ DNA ออกมายังไซโทพลาสซึมเพื่อนารหัสไปสังเคราะห์โปรตีนที่ไรโบโซม
  • 41. 8. Endoplasmic reticulum /ER (เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม) ER เป็นส่วนที่เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้ม นิวเคลียส มี 2 ชนิด คือ 6.1 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ (Rough endoplasmic reticulum) เรียกย่อ ๆ ว่า RER มี Ribosome มาเกาะ 6.2 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum) เรียกย่อ ๆ ว่า SER ไม่มี ribosome มาเกาะ ที่มา : http://http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com. เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 42. 8.1 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดขรุขระ (Rough endoplasmic reticulum) RER หน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนร่วมกับ Ribosome แล้วส่งต่อให้ Golgi body เพื่อขนออก นอกเซลล์ เช่น สารพวกเอนไซม์ ฮอร์โมน และ สารแอนติบอดี ที่มา : http://legacy.owensboro.kctcs.edu/gcaplan/anat/study%20guide/api%20study%20guide%20d%20cell%20structures.htm เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 43. 8.2 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมชนิดเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum) SER มีหน้าที่ - สังเคราะห์ ฟอสโฟไลปิด - สังเคราะห์ สเตอรอยด์ คลอเลสเทอรอล ซึ่งคลอเลสเทอรอล สามารถเปลี่ยนไปเป็น สเตอรอยด์ ฮอร์โมน คือแอนโทเจนและเอ สโทรเจนในระบบสืบพันธ์ - ทาหน้าที่สังเคราะห์และเก็บไกลโคเจนใน เซลล์ตับ - กาจัดพิษยาที่เซลล์ตับ ที่มา : http://legacy.owensboro.kctcs.edu/gcaplan/anat/study%20guide/api%20study%20guide%20d%20cell%20structures.htm เข้าถึงวันที่ 5/3/2555
  • 44. 9. กอลจิ คอมเพล็ก / กอลจิ บอดี้ / กอลจิ แอบพาราตัส (Golgi complex / Golgi body / Golgi apparatus) มีลักษณะเป็นถุงแบนหลายถุงเรียงซ้อนกัน Golgi complex มีหน้าที่ เรียกว่า Golgi Cisternar บริเวณตรงกลาง - ทางานร่วมกับ RER ในการสังเคราะห์ เป็นท่อแคบและปลายสองข้างโป่งออก และ สารประกอบคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน มีกลุ่มของถุงกลม (Vesicles) อยู่รอบๆ เช่น ไกลโคโปรตีน Golgi Complex มีโครงสร้างที่เป็น 2 หน้า - ทาหน้าที่บรรจุผลิตภัณฑ์โปรตีนขนออก คือ Cis face และ Trans face นอกเซลล์ - สร้างเยื่อหุ้มไลโซโซม (Lysosome) และ Trans เพอรอกซิโซม(Peroxisome) สร้าง อะโครโซม(Acrosome) ที่หัวอสุจิ Cis ที่มา : http://www.biologyjunction.com/cell%20structure%20revised.ppt เข้าถึงวันที่ 2 /3/2555
  • 45. แสดงการทางานร่วมกันระหว่าง RERกับ Golgi complex Transport vesicles ที่ถูกสร้างมาจาก Rough ER เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ Golgi Complex ทางด้าน Cis Face ส่วน Trans Face เป็นด้านที่เว้าของถุงแบน เป็นด้านที่สร้าง Vesicles และหลุดออกไป Rough Endoplasmic Reticulum Vesicle Golgi Lysosome Apparatus Vesicle Vesicle Plasma Membrane ที่มา : http://homepage.smc.edu/colavito_mary/biology4/Cells-F05.ppt เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 46. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=rvfvRgk0MfA เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 ภาพจาลอง แสดงการทางานร่วมกันระหว่าง RERกับ Golgi complex โดย Transport vesicles ที่ถูกสร้างมาจาก RER เคลื่อนที่เข้ามารวมกับ Golgi complex ทางด้าน cis face ส่วน trans face เป็นด้านที่เว้าของถุงแบน เป็นด้านที่สร้าง Vesicles และหลุดออกไป
  • 47. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=K7yku3sa4Y8 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 ภาพจาลองการสร้าง vessicle จาก Golgi complex
  • 48. นอกจากนี้ Golgi complex ยังสร้าง Cell plate เป็นผนังกั้นเซลล์ในขณะที่พืชเกิดการแบ่งเซลล์ ดังรูป
  • 49. 10. Lysosome (ไลโซโซม) เป็น organelles ที่มีเยื่อหุ้มชั้น เดียว สร้างจาก Golgi complex เป็นแหล่งย่อยภายในเซลล์ (Intracellular digestion) เกี่ยวข้องกับการย่อย Organelles ในไซโตพลาสซึม เพื่อนาสารต่างๆกลับมาใช้ สร้าง organelles ใหม่อีก (Autophagy) ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/45/2/cell/content/lysosome.html เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 50. ที่มา : http://www.cytochemistry.net/cell-biology/lysosome.htm เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 ไลโซโซมบรรจุเอนไซม์สาหรับย่อยสิ่งต่าง ๆ เช่น ย่อยแบคทีเรียที่เข้า มาในเซลล์ ย่อยสารอาหารที่นาเข้ามา ย่อย Organells อื่นที่หมดอายุ เพื่อนาสารกลับมาใช้ใหม่ หรือย่อยเซลล์ตัวเองในหางลูกอ๊อด
  • 51. ภาพของ อมีบาที่กาลังกินอาหาร โดยวิธี Phagocytosis เกิดเป็น Food vacuole ซึ่งจะรวมกับ Lysosome เอ็นไซม์ใน Lysosome จะทาหน้าที่ย่อยอาหารนั้น ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=aWItglvTiLc&feature=related เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 Phagocytosis (ฟาโกไซโทซีส) คือ การยื่นเท้าเทียม(Pseudopodium) ที่เกิดจากการไหลเวียนของ Cytoplasm ของเซลล์ไปโอบล้อม อาหารทาให้เกิดเป็น Food vacuole ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=1cuaS2QKobA&feature=related เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 52. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=JnlULOjUhSQ&feature=related เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 เซลล์เม็ดเลือดขาวของคน (macrophage) ก็สามารถทาลายสิ่งแปลกปลอมที่ เข้ามาในเซลล์ด้วยวิธี Phagocytosis และถูกย่อยโดย Lysosome ได้เช่นกัน
  • 53. 11. เพอรอกซิโซม (Peroxisomes) หรือ ไมโครบอดี้ (Micreobodies) เป็น organelles ที่พบใน เซลล์ยูคาริโอตเกือบทุกชนิด มีลักษณะเป็นถุงที่มเี ยื่อหุ้ม ชั้นเดียว ภายในมี เอ็นไซม์ ชนิดต่าง ๆ ทาหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการสร้างหรือ ทาลาย Hydrogen peroxide (H2O2) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด สารพิษขึ้นภายในเซลล์ ที่มา : http://www.cytochemistry.net/cell-biology/lysosome.htm เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 54. การสร้างหรือทาลาย Hydrogen peroxide (H2O2) ใน Peroxisomes RH2 + O2 Oxidase R + H2O2 2H2O2 catalase 2H2O + O2 ในเซลล์ตับพบมี peroxisomes ขนาดใหญ่ จึงเข้าใจว่าอาจมีหน้าเกี่ยวข้องกับ การทาลายพิษของสารต่างๆหลายชนิด เช่น alcohol Peroxisomes ในพืชมีบทบาทสาคัญในกระบวนการเมตาบอลิสม์ของกรดไขมัน คือ เปลี่ยนกรดไขมันที่สะสมอยู่ในเมล็ดพืช ให้เป็นคาร์โบไฮเดรต สาหรับใช้เป็น แหล่งพลังงาน ในการงอกของเมล็ด
  • 55. 12. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) Mitochondria มีเยื่อหุ้ม 2ชั้น คือ เยื่อหุ้มชั้นนอก (Outer Membrane) มีลักษณะเรียบ ส่วน เยื่อหุ้มชั้นใน (Inner Membrane ) จะมีการโป่งยื่นเข้าข้างในเรียกว่า cristae เยื่อหุ้มทั้งสองชั้นแบ่ง mitochondria เป็นช่อง ภายใน 2 ส่วน ได้แก่ ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อชั้นนอกและ เยื่อชั้นใน (Intermembrane space) และช่องที่ถูก ล้อมรอบอยู่ภายในเยื่อชั้นใน (Mitochodrial matrix) พบในยูคารีโอตเกือบทุกชนิด ยกเว้นเซลล์บางชนิด เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง โดยเซลล์แต่ละเซลล์ มีจานวน ที่มา : http://student.nu.ac.th/u46410320/mitochondria.html ไมโตคอนเดรียไม่เท่ากัน โดยทั่วไป พบไมโตคอนเดรีย เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 มาก ในเซลล์ที่มีอัตราเมตาโบลิซึมสูง เช่น เซลล์ กล้ามเนื้อหัวใจ เซลล์ต่อม เซลล์ที่กาลังเจริญเติบโต เป็นต้น
  • 56. ที่มา : http://www.tutorvista.com/biology/function-mitochondria# เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 หน้าที่ 1. สร้างสารให้พลังงานสูง คือ ATP (Adenosine triphosphate) 2. ภายในเมทริกซ์มีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในวัฏจักรเครปส์ ( Krebs cycle) และ กระบวนการ Beta oxidation ของกรดไขมัน 3. มี DNA (Deoxyribonucleic acid) RNA (Ribonucleic acid) เอนไซม์ และไรโบโซม ที่ทาหน้าที่สังเคราะห์ โปรตีนขึ้นภายในออร์แกเนลล์
  • 57. 13. พลาสติด (Plastid) Plastid เป็นออร์แกเนลล์ที่มีขนาดใหญ่พบเฉพาะในพืช และสาหร่าย (ยกเว้นสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน) ลักษณะของพลาสติดมีเนือเยื่อ 2 ชั้น และมี DNA ้ อยู่ภายใน พลาสติดสามารถจาแนกได้เป็น 3 พวกใหญ่ ๆคือ ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../... เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 58. 13.1 พลาสติดที่ไม่มีสี ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่มีสีขาวพบในเซลล์ตามส่วนของพืชที่ ไม่ถูกแสงสว่าง เช่น รากใต้ดิน ลาต้นใต้ดิน หน้าที่เก็บสะสมอาหาร 13.2 พลาสติดที่มีสี 13.2.1 โครโมพลาสต์ (chromoplast) เป็นพลาสติดที่มีสีอื่น ๆ นอกจากสีเขียว - แคโรทีน (Carotene) เป็นรงควัตถุสีแดงส้ม - แซนโทฟิลล์l (Xanthophyl) เป็นรงควัตถุสีเหลืองเข้ม - ไฟโคอีริทริน (Phycoerythrin) เป็นรงควัตถุสีแดง - ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin ) เป็นรงควัตถุสีน้าเงิน ที่มา : http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/Quest_color.html เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 59. 13.2.2. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) Chloroplast เป็น plastids ชนิดหนึ่ง ของเซลล์พืชมีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น คือ เยื่อหุ้ม ชั้นนอก (Outer Membrane ) และ เยื่อหุ้มชั้นใน (Inner Membrane ) หุ้มล้อมรอบของเหลวที่เรียกว่า (Stroma) ภายในมีถุงแบนคือ ไทลาคอยด์ (Thylakoids) ซึ่งซ้อนกัน เป็นตั้งเรียกว่า กรานัม (Granum) มีรงควัตถุ(Pigment)สีเขียวที่เรียกว่า คลอโรฟิลล์ (Chlorophyll ) ซึง ่ ที่มา : http://amrita.vlab.co.in/?sub=3&brch=187&sim=878&cnt=1 ประกอบด้วยเอ็นไซม์และโมเลกุลของ เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 สารที่ทาให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง
  • 60. 14. ระบบเส้นใยภายในเซลล์ (Cytoskeleton ) เป็นโปรตีนขนาดเล็กที่มารวมตัวกันเป็น เส้นใย ทาหน้าที่ค้าจุนให้เซลล์คงรูปร่าง อยู่ได้ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเปลี่ยน รูปร่างของเซลล์ และการรวมตัวของ เซลล์เป็นเนื้อเยื่อ การเคลื่อนไหวของ เซลล์ รวมทั้งการยึดเหนี่ยวออร์กาเนลล์ ให้อยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม พบทั้งใน โปรคาริโอตและยูคาริโอต ที่มา : http://www.surin.rmuti.ac.th/agtcha/teacher/anatomy/cellaim/cell_skeleton.htm เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 61. ไมโครทูบูล (Microtubule) ประกอบด้วยโปรตีนชนิดทิวบูลิน (tubulin)จัดเรียงตัวเป็นท่อ (tubule) เป็นเส้นใยที่มีความแข็งที่สุด พบเป็นองค์ประกอบของส่วนยื่นของ เซลล์ประสาท และเป็นองค์ประกอบที่ สาคัญในเซนโตรโซม และเซนตริโอล ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../. มีหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ เข้าถึงวันที่ 2/3/2555. โครโมโซมระหว่างการแบ่งเซลล์การ เคลื่อนไหวของออร์การ์เนลล์ใน ไซโตพลาสซึม และการเคลื่อนไหว ของซีเลียและแฟลกเจลลา นอกจากนี้ ในบางเซลล์จะเกี่ยวข้องกับการลาเลียง สาร เช่น ช่วยลาเลียงฮอร์โมนอินซูลิน ในเซลล์ตับอ่อน ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=PvDlilBgoSs&feature=related เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 62. ไมโครฟิลาเมนต์ (microfilament) ประกอบด้วยโปรตีนมีลักษณะเป็นท่อยาว ๆ และบาง มักอยู่รวมกันเป็นมัดใน Cytoplasm พบมากที่สุดในเซลล์ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ หดตัวของกล้ามเนื้อ ช่วยค้าจุน และให้ความ แข็งแรงกับเซลล์ การเปลี่ยนรูปร่างของ เซลล์ การแยกตัวของไซโตพลาสซึมใน กระบวนการแบ่งเซลล์ควบคุมทิศทางการ ไหลของไซโทพลาสซึม รวมทั้งการเคลื่อนที่ แบบอะมีบา (Ameboid movement)และการ เกิดเท้าเทียม (Pseudopodia) ในเซลล์บาง ชนิด ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../. เข้าถึงวันที่ 3/3/2555.
  • 63. อินเตอร์มีเดียต ฟิลาเมนต์ (intermediate filament) เป็นเส้นใยที่มีการพัฒนาอย่างมากใน เซลล์ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่าง ของเซลล์ ตรึงเยื่อหุ้มเซลล์ให้อยู่ตัว พบเฉพาะในเซลล์ที่รวมตัวกันเป็น เนื้อเยื่อหรืออยู่รวมกันเป็นกลุ่ม นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เกี่ยวกับการยึด กันของไมโครฟิลาเมนท์ในเซลล์ กล้ามเนื้อและยังทาหน้าที่ค้าจุนแอก ซอน (Axon) ของเซลล์ประสาทและ ที่มา : http://users.uma.maine.edu/SBaker/cells%20CR.ppt ยังมีบทบาทในการสื่อสารระหว่าง เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 เซลล์ด้วย
  • 64. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=FoDniO676Dw&feature=related เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 ภาพจาลองแสดงโครงสร้างและการทางานของ Intermediate filament ที่ทาหน้าที่เป็นตัว รับแรงดึง ได้แก่ เดสโมโซม (Desmosome) ที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคงรูปร่างของเซลล์
  • 65. 15. เซนตริโอล(Centriole) เป็นออร์แกเนลล์ทรงกระบอก 2 อัน Centriole แต่ละอันประกอบด้วยหลอดเล็ก ๆ เรียกว่า Microtubule เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มละ 3 หลอด มีทั้งหมด 9 กลุ่ม ส่วนบริเวณตรงกลางไม่ มี Microtubule อยู่เลย จึงเรียกการเรียงตัวของ Microtubule แบบนี้ว่า 9+0 ( มี Microtubule ทั้งหมด 27 เส้น) พบเฉพาะในเซลล์สัตว์มี หน้าที่ในการแบ่งเซลล์ โดย Microtubule จะ สร้างเส้นใยสปินเดิล (Spindle fiber) ไปเกาะ ตรงกลาง (Centromere) ของโครโมโซม เพื่อดึง ที่มา : http://micro.magnet.fsu.edu/cells/centrioles/centrioles.html เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 โครโมโซมให้แยกออกจากกัน
  • 66. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=ATlUv-AGhEU&feature=related เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 ภาพจาลองแสดงการทางานของ Centriole ในขณะที่เซลล์มีการแบ่งตัว
  • 67. 16. ซิเลีย(Cilia) และ เฟกเจลลัม (Flagellum) เป็น Organlles ที่มีเยื่อหุ้ม ประกอบด้วย Microtubule 20 เส้น เรียงตัวเป็นชุด ชุดละ 2เส้น ในรูปแบบ 9 + 2 (มี microtubule ทั้งหมด 20 เส้น) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของพวก โปรโตซัว ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์เดียว เช่น พารามีเซียม ยูกลีนา ที่มา : http://faculty.sgc.edu/asafer/BIOL1107/chapt04_lecture.ppt เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 68. Cilia และ Flagellum ประกอบด้วย Microtubule 20 เส้น เรียงตัวเป็น ชุด ชุดละ 2เส้น ในรูปแบบ 9 + 2 Basal Body (เบซัล บอดี้) เป็นต้น กาเนิดของซีเลียและเฟเจลลา ประกอบด้วย Microtubule 27 เส้น เรียงตัวเป็นชุด ชุดละ 3 เส้น ใน รูปแบบ 9 + 0 เหมือน Centriole ที่มา : http://www.oocities.org/truanson/Untitled-05.htm เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 69. เปรียบเทียบ Centriole และ Cilia โครงสร้าง 9 + 0 โครงสร้าง 9+2 ไม่มี plasma membrane มี Plasma membrane ที่มา : http://www. images.ppscience.multiply.multiplycontent.com/.../... เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 70. ที่มา : http://o-o---preferred---tot-cnx1---v15---lscache3.c.youtube.com/videoplayback?algorithm=throttle-factor&burst เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 รูปภาพของโปรโตซัว (พารามีเซียม) ที่ใช้ Cilia ในการเคลื่อนที่
  • 71. ที่มา : http://o-o---preferred---tot-cnx1---v13---lscache4.c.youtube.com/videoplayback?algorithm=throttle-factor&burst เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 รูปภาพของโปรโตซัว (พารามีเซียม,วอติเซลลา) ที่ใช้ Cilia ในการเคลื่อนที่
  • 72. ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=fI7nEWUjk3A เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 รูปภาพของโปรโตซัว (ยูกลีนา) ที่ใช้ Flegellum ในการเคลื่อนที่
  • 73. 17. แวคูโอล (Vacuole) เป็นถุงที่มีเยื่อหุ้มชั้นเดียวมีลักษณะเป็นก้อนกลมใส ๆ มีเยื่อบาง ๆ ล้อมรอบ แวคิวโอลเกิด จากการหลุดขาดของ ER หรือ Golgi Complex มีหน้าที่หลากหลาย มองเห็นได้ชัดเจน ทา หน้าที่ได้แตกต่างกันพบเฉพาะในพืช และพวกโปรโตซัว ที่มา : http://www.oocities.org/truanson/Untitled-06.htm เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 74. 15.1 ฟูด แวคูโอล 15.2 คอนแทรกไทล์ แวคูโอล (Food Vacuole )ทาหน้าที่ (Contractile Vacuole ) สะสมอาหาร ในโปรโตซัว ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณน้าในโปรโตซัว ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=a4aZE5FQ284 ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=9Ynm5ZOW59Q เข้าถึงวันที่ 3/3/2555 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555
  • 75. 15.3 เซนทรัล แวคูโอล (Central vacuole)หรือ โทโนพลาสต์ (Tonoplast) Central vacuole ทาหน้าที่เก็บ ของเหลว (Cell sap) ทาให้เซลล์ คงสภาพอยู่ได้ Sap vacuole ทาหน้าที่เก็บสารสี ในเซลล์พืช ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/23740?page=0%2C11 เข้าถึงวันที่ 3/3/2555