SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
การประเมินผู้เรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
โครงการอบรมการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาเพื่อ พัฒนาเทคนิคการสอนของบุคลากรในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ณ ห้องประชุมตึกปฎิบัติการคณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้น ๓ ห้อง ๑๐๓๐๑ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 
โครงการอบรมการประเมินคุณภาพผู้เรียน
กรอบคุณวุฒิมาตรฐานวิชาชีพ
ประเด็นสนทนา 
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) 
- หมวด 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้นักศึกษา - หมวด 5 แผนการสอนและการประเมินผล - หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 
- หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการ ของรายวิชา 
- กลยุทธ์การสอน
ตัวอย่างการประเมินหมวดที่ 4 มคอ.3 
1) .................................................................................................... 2) .................................................................................................... 3) .................................................................................................... 1) .................................................................................................... 2) .................................................................................................... 3) .................................................................................................... 1) .................................................................................................... 2) .................................................................................................... 3) ....................................................................................................
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่งต้อง สอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อ มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้ 1 สรุปสั้นๆ เกี่ยวกับความรู้ หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา 2 คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการสอนที่จะใช้ในรายวิชาเพื่อพัฒนาความรู้ หรือทักษะใน ข้อ 1 3 วิธีการที่จะใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชานี้เพื่อ ประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 
1. คุณธรรม จริยธรรม 
2. ความรู้ 
3. ทักษะทางปัญญา 
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 
6. ทักษะปฏิบัติ 
สิ่งที่ต้องพัฒนา , วิธีการสอน , วิธีการประเมินผล
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 
สัปดาห์ที่ 
หัวข้อการสอน/รายละเอียด 
จานวน ชั่วโมง 
กิจกรรมการสอน/ สื่อการสอน 
อาจารย์ผู้สอน 
1 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศในองค์กร 
- ความหมายและองค์ประกอบระบบสารสนเทศ 
- ระบบสารสนเทศเชิงธุรกิจ 
- การพัฒนาระบบสารสนเทศ 
- จริยธรรมและปัจจัยทางสังคม (การดักจับ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์) 
- การใช้ระบบสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 
3 
บรรยาย ยกตัวอย่าง 
ประกอบ อภิปราย กลุ่มจาก กรณีศึกษา 
1. แผนการสอน ระบุหัวข้อ/รายละเอียด สัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการ สอน (ซึ่งต้องสอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต) กิจกรรมการเรียนการสอนและ สื่อที่ใช้ รวมทั้งอาจารย์ผู้สอน ในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ) 
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้หัวข้อย่อย แต่ละหัวข้อตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของ รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของ หลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมิน และสัดส่วนของการประเมิน 
www.prachyanun.com 
กิจกรรม 
ผลการเรียนรู้ 
วิธีการประเมิน 
สัปดาห์ที่ ประเมิน 
สัดส่วนของ การประเมิน
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 
1. ตาราและเอกสารหลัก ระบุตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาจาเป็นต้อง ศึกษาเพิ่มเติม 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาควรศึกษา เพิ่มเติม
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น จากผู้ สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น 3. การปรับปรุงการสอน อธิบายกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น คณะ/ภาควิชามีการ กาหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนไว้อย่างไรบ้าง การวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นต้น 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการ ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวน สอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสาหรับรายวิชาที่ แตกต่างกัน หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา อธิบาย กระบวนการในการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง คุณภาพ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 
3. การแสดงแผนที่การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐาน ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อแสดงถึงความร่วมมือกันของ คณาจารย์ในหลักสูตรในการเพื่อพัฒนามาตรฐานผลการ เรียนรู้ให้แก่นักศึกษา
การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 
คุณลักษณะพิเศษ 
กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา 
ด้านการเป็นผู้ประกอบการ 
กาหนดให้มีรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเป็น ผู้ประกอบการ เพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างธุรกิจ การบริหารจัดการ และ นาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ประยุกต์ใช้ในองค์กร 
ด้านบุคลิกภาพ 
มีการสอดแทรก เรื่องการแต่งกาย การเข้าสังคม เทคนิค การเจรจาสื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
และการวางตัวในการทางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง สาหรับใช้ในการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ และ ใช้ใน กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ก่อนที่นักศึกษาจะสาเร็จการศึกษา 
ด้านคุณธรรม จริยธรรม 
มีการสอดแทรกในแต่ละวิชา โดยสอนให้มีจิตสานึก 
มีคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมอันดีงาม
หมวดที่ 4 : การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 
ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 
นักศึกษาต้องปฏิบัติตามระเบียบวินัยขั้นพื้นฐาน เช่น การเข้าเรียนตามเวลาที่ กาหนด การทางานตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ ปฏิบัติตน เป็นสมาชิกของกลุ่มที่ดีสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของตนเอง การ ยอมรับฟังความคิดเห็น และเคารพสิทธิของบุคคลอื่น มีความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งต่อตนเองและบุคคลอื่น ไม่ทาการทุจริตในการสอบ ไม่ทาการลอก เลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยปราศจากการอ้างอิง 
อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุก รายวิชาให้มีความเหมาะสมกลมกลืนกับเนื้อหาที่สอน รวมถึงการประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี อาจารย์อาจมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การประกาศเกียรติคุณยกย่องนักศึกษาที่ทาความดี มีความ เสียสละ และสร้างคุณประโยชน์แก่สังคม
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 
1. ประเมินจากพฤติกรรมความมีวินัยและความพร้อม เพรียงในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 2. ประเมินจากพฤติกรรมการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้น เรียน การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมายในระยะเวลาที่ กาหนด 3. ประเมินจากการกระทาการทุจริตในการสอบ 4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย ฯลฯ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 
การจัดกิจกรรมเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย มีกิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และเน้นหลักการทาง ทฤษฎี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของแต่ละรายวิชาตลอดจน เนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ โดยใช้การสอนแบบผู้เรียนเป็น สาคัญ การสอนแบบตั้งคาถาม การมอบหมายงานให้คิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เช่น เชิญ ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ เฉพาะเรื่อง เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ที่หลากหลายเป็นการต่อ ยอดจากองค์ความรู้เดิม การศึกษาดูงานนอกสถานที่
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 
1. การทดสอบย่อย 2. การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน 4. ประเมินจากรายงาน/บันทึกการเรียนรู้ของนักศึกษา/ โครงการ/อื่น ๆ ที่นักศึกษาจัดทา ฯลฯ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา 
1. กรณีศึกษา 
2. สอนแบบตั้งคาถาม และอาจารย์ให้ข้อมูลป้อนกลับ 
3. มอบหมายงานให้ค้นคว้า เขียนรายงาน และนาเสนอในชั้นเรียน 
4. จัดกิจกรรม อภิปรายกลุ่ม แสดงความคิดเห็น โดยให้นักศึกษาได้ มีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ในองค์ความรู้ใหม่ เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสปฏิบัติจริง 
5. ทบทวนบทเรียนเดิม เชื่อมโยงสู่บทเรียนใหม่ 
ฯลฯ
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา 
ประเมินตามความเป็นจริงจากผลงานและการปฏิบัติ ของนักศึกษา เช่น แบบฝึกหัด รายงานการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา ตรวจเนื้อหาของรายงานการค้นคว้า และ การอ้างอิงเอกสารในรายงานการค้นคว้า การใช้ภาษา ในเอกสารรายงาน การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการ นาเสนอผลงาน สังเกตการอภิปราย การแสดงความ คิดเห็น การตอบคาถาม หรือการใช้แบบทดสอบ เป็นต้น
กลยุทธ์ในการสอนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 
1. มอบหมายงานกลุ่ม 2. จัดให้มีกิจกรรม การอภิปราย และแสดงความคิดเห็น 3. การมอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านบทเรียนล่วงหน้า แล้วนามาถ่ายทอดให้เพื่อนฟังในชั้นเรียน 4. จัดให้มีภาคปฏิบัติในรายวิชา 5. การแนะนาหรือให้บทเรียนในชั้นปีแรกที่เน้นย้าในชั้นปี ที่สูงขึ้น
กลยุทธ์การประเมินผลด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรม การอภิปราย การแสดงออก ของนักศึกษาในการนาเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน การสอบปฏิบัติ หรือนักศึกษาประเมินเพื่อนร่วมกลุ่ม กิจกรรม เป็นต้น
กลยุทธ์การสอน 
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสาร สน กลยุทธ์ที่ใช้ เช่น 
1. การใช้สื่อเคลื่อนไหว 
2. การมอบหมายงานเดี่ยว/กลุ่ม 
3. การจัดให้มีรายวิชาโครงการ 
4. การมอบหมายให้ค้นคว้า เขียนรายงานและนาเสนองาน
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ 
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมินจากการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการนาเสนอผลงาน หรือการ นาเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศสตร์ และสถิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 2. ประเมินจากความสามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสาร ในเอกสารรายงาน และการนาเสนอผลงานปากเปล่า 3. ประเมินจากการสังเกต การอภิปราย การร่วมแสดงความคิดเห็น การตอบ คาถาม อธิบายข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ กรณีศึกษา ต่าง ๆ ที่มีการนาเสนอต่อชั้นเรียน เป็นต้น
Curriculum Mapping 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 
www.prachyanun.com 
รายวิชา 
1. คุณธรรม จริยธรรม 
2. ความรู้ 
3. ทักษะทาง ปัญญา 
4. ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 
5. ด้านทักษะ การวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 
1 
2 
3 
4 
5 
1 
2 
3 
4 
5 
1 
2 
3 
4 
5 
1 
2 
3 
4 
5 
1 
2 
3 
4 
5 
MTH 101 แคลคูลัสและเรขาคณิต วิเคราะห์ 1 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
MTH 102 แคลคูลัสและเรขาคณิต วิเคราะห์ 2 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
MTH 201 พีชคณิตเชิงเส้นและแคลคูลัส เวกเตอร์ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
MTH 202 สมการเชิงอนุพันธ์ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 
ระดับคะแนน (GRADE) 
ค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิต 
ผลการศึกษา 
ก หรือ A 
ข+ หรือ B+ 
ข หรือ B 
ค+ หรือ C+ 
ค หรือ C 
ง+ หรือ D+ 
ง หรือ D 
ต หรือ F 
ถ หรือ W 
ม.ส. หรือ I 
พ.จ. หรือ S 
ม.จ. หรือ U 
ม.น. หรือ AU 
4.00 
3.50 
3.00 
2.50 
2.00 
1.50 
1.00 
0 
- 
- 
- 
- 
- 
ดีเยี่ยม (Excellent) 
ดีมาก (Very Good) 
ดี (Good) 
ดีพอใช้ (Fairly Good) 
พอใช้ (Fair) 
อ่อน (Poor) 
อ่อนมาก (Very Poor) 
ตก (Fail) 
ถอนรายวิชา (Withdrawn) 
ไม่สมบูรณ์ (Incomplete) 
เป็นที่พอใจ (Satisfactory) 
ไม่เป็นที่พอใจ (Unsatisfactory) 
ไม่นับหน่วยกิต (Audit) 
www.prachyanun.com
บทสรุป 
•การประเมินผู้เรียนด้านคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ แห่งชาติมี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ •การประเมินจะอิงตาม มคอ.3 และ มคอ.5 ที่อาจารย์ผู้สอน ได้กาหนดไว้ในรายวิชา 
•กลยุทธ์ในการสอนและการประเมินจะมาจาก Curriculum Mapping ที่กาหนดไว้
คาถาม
Thank you !
Thank You 
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข 
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
prachyanun@hotmail.com http://www.prachyanun.com 081-7037515

More Related Content

Similar to การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาK S
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยprachid007
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...drkulthida
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Denpong Soodphakdee
 
T hink ttt
T hink tttT hink ttt
T hink tttkrutip
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
รูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติ
รูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติรูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติ
รูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติPrachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์DrJoe Weawsorn
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 

Similar to การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf (20)

แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
701w2
701w2701w2
701w2
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
 
AECT W1 704
AECT W1 704AECT W1 704
AECT W1 704
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
 
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา  หลักสูตรสารสนเทศศา...
การพัฒนาคุณภาพดุษฎีบัณฑิตและความเป็นสากลของการจัดการศึกษา หลักสูตรสารสนเทศศา...
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
T hink ttt
T hink tttT hink ttt
T hink ttt
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
รูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติ
รูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติรูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติ
รูปแบบการสอนแบบมุ่งสมรรถนะด้านทักษะปฏิบัติ
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
University curriculum
University curriculumUniversity curriculum
University curriculum
 
University curriculim
University curriculimUniversity curriculim
University curriculim
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 

More from Prachyanun Nilsook

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationPrachyanun Nilsook
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfPrachyanun Nilsook
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตPrachyanun Nilsook
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationPrachyanun Nilsook
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์Prachyanun Nilsook
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2Prachyanun Nilsook
 

More from Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
 

การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf

  • 1. การประเมินผู้เรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • 2. โครงการอบรมการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาเพื่อ พัฒนาเทคนิคการสอนของบุคลากรในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ระหว่างวันที่ 3-4 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ณ ห้องประชุมตึกปฎิบัติการคณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้น ๓ ห้อง ๑๐๓๐๑ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ โครงการอบรมการประเมินคุณภาพผู้เรียน
  • 4. ประเด็นสนทนา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) - หมวด 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้นักศึกษา - หมวด 5 แผนการสอนและการประเมินผล - หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน - หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการ ของรายวิชา - กลยุทธ์การสอน
  • 5. ตัวอย่างการประเมินหมวดที่ 4 มคอ.3 1) .................................................................................................... 2) .................................................................................................... 3) .................................................................................................... 1) .................................................................................................... 2) .................................................................................................... 3) .................................................................................................... 1) .................................................................................................... 2) .................................................................................................... 3) ....................................................................................................
  • 6. หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่งต้อง สอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อ มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้ 1 สรุปสั้นๆ เกี่ยวกับความรู้ หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา 2 คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการสอนที่จะใช้ในรายวิชาเพื่อพัฒนาความรู้ หรือทักษะใน ข้อ 1 3 วิธีการที่จะใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชานี้เพื่อ ประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
  • 7. หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ทักษะปฏิบัติ สิ่งที่ต้องพัฒนา , วิธีการสอน , วิธีการประเมินผล
  • 8. หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล สัปดาห์ที่ หัวข้อการสอน/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการสอน/ สื่อการสอน อาจารย์ผู้สอน 1 บทที่ 1 ระบบสารสนเทศในองค์กร - ความหมายและองค์ประกอบระบบสารสนเทศ - ระบบสารสนเทศเชิงธุรกิจ - การพัฒนาระบบสารสนเทศ - จริยธรรมและปัจจัยทางสังคม (การดักจับ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์) - การใช้ระบบสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 3 บรรยาย ยกตัวอย่าง ประกอบ อภิปราย กลุ่มจาก กรณีศึกษา 1. แผนการสอน ระบุหัวข้อ/รายละเอียด สัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการ สอน (ซึ่งต้องสอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต) กิจกรรมการเรียนการสอนและ สื่อที่ใช้ รวมทั้งอาจารย์ผู้สอน ในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา
  • 9. หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ) 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้หัวข้อย่อย แต่ละหัวข้อตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของ รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของ หลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมิน และสัดส่วนของการประเมิน www.prachyanun.com กิจกรรม ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของ การประเมิน
  • 10. หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตาราและเอกสารหลัก ระบุตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาจาเป็นต้อง ศึกษาเพิ่มเติม 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาควรศึกษา เพิ่มเติม
  • 11. หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น จากผู้ สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น 3. การปรับปรุงการสอน อธิบายกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น คณะ/ภาควิชามีการ กาหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนไว้อย่างไรบ้าง การวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นต้น 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการ ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวน สอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสาหรับรายวิชาที่ แตกต่างกัน หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา อธิบาย กระบวนการในการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง คุณภาพ
  • 12. มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 3. การแสดงแผนที่การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐาน ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) เพื่อแสดงถึงความร่วมมือกันของ คณาจารย์ในหลักสูตรในการเพื่อพัฒนามาตรฐานผลการ เรียนรู้ให้แก่นักศึกษา
  • 13. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา ด้านการเป็นผู้ประกอบการ กาหนดให้มีรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเป็น ผู้ประกอบการ เพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างธุรกิจ การบริหารจัดการ และ นาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ประยุกต์ใช้ในองค์กร ด้านบุคลิกภาพ มีการสอดแทรก เรื่องการแต่งกาย การเข้าสังคม เทคนิค การเจรจาสื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง สาหรับใช้ในการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ และ ใช้ใน กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ก่อนที่นักศึกษาจะสาเร็จการศึกษา ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีการสอดแทรกในแต่ละวิชา โดยสอนให้มีจิตสานึก มีคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรมอันดีงาม
  • 14. หมวดที่ 4 : การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 15. กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาต้องปฏิบัติตามระเบียบวินัยขั้นพื้นฐาน เช่น การเข้าเรียนตามเวลาที่ กาหนด การทางานตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ ปฏิบัติตน เป็นสมาชิกของกลุ่มที่ดีสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของตนเอง การ ยอมรับฟังความคิดเห็น และเคารพสิทธิของบุคคลอื่น มีความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งต่อตนเองและบุคคลอื่น ไม่ทาการทุจริตในการสอบ ไม่ทาการลอก เลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยปราศจากการอ้างอิง อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุก รายวิชาให้มีความเหมาะสมกลมกลืนกับเนื้อหาที่สอน รวมถึงการประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดี อาจารย์อาจมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การประกาศเกียรติคุณยกย่องนักศึกษาที่ทาความดี มีความ เสียสละ และสร้างคุณประโยชน์แก่สังคม
  • 16. กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. ประเมินจากพฤติกรรมความมีวินัยและความพร้อม เพรียงในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 2. ประเมินจากพฤติกรรมการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้น เรียน การส่งงานตามที่ได้รับมอบหมายในระยะเวลาที่ กาหนด 3. ประเมินจากการกระทาการทุจริตในการสอบ 4. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย ฯลฯ
  • 17. กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ การจัดกิจกรรมเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย มีกิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และเน้นหลักการทาง ทฤษฎี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของแต่ละรายวิชาตลอดจน เนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ โดยใช้การสอนแบบผู้เรียนเป็น สาคัญ การสอนแบบตั้งคาถาม การมอบหมายงานให้คิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง เช่น เชิญ ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงเป็นวิทยากรบรรยายพิเศษ เฉพาะเรื่อง เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ที่หลากหลายเป็นการต่อ ยอดจากองค์ความรู้เดิม การศึกษาดูงานนอกสถานที่
  • 18. กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. การทดสอบย่อย 2. การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน 4. ประเมินจากรายงาน/บันทึกการเรียนรู้ของนักศึกษา/ โครงการ/อื่น ๆ ที่นักศึกษาจัดทา ฯลฯ
  • 19. กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา 1. กรณีศึกษา 2. สอนแบบตั้งคาถาม และอาจารย์ให้ข้อมูลป้อนกลับ 3. มอบหมายงานให้ค้นคว้า เขียนรายงาน และนาเสนอในชั้นเรียน 4. จัดกิจกรรม อภิปรายกลุ่ม แสดงความคิดเห็น โดยให้นักศึกษาได้ มีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ในองค์ความรู้ใหม่ เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสปฏิบัติจริง 5. ทบทวนบทเรียนเดิม เชื่อมโยงสู่บทเรียนใหม่ ฯลฯ
  • 20. กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ประเมินตามความเป็นจริงจากผลงานและการปฏิบัติ ของนักศึกษา เช่น แบบฝึกหัด รายงานการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา ตรวจเนื้อหาของรายงานการค้นคว้า และ การอ้างอิงเอกสารในรายงานการค้นคว้า การใช้ภาษา ในเอกสารรายงาน การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการ นาเสนอผลงาน สังเกตการอภิปราย การแสดงความ คิดเห็น การตอบคาถาม หรือการใช้แบบทดสอบ เป็นต้น
  • 21. กลยุทธ์ในการสอนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. มอบหมายงานกลุ่ม 2. จัดให้มีกิจกรรม การอภิปราย และแสดงความคิดเห็น 3. การมอบหมายงานให้นักศึกษาอ่านบทเรียนล่วงหน้า แล้วนามาถ่ายทอดให้เพื่อนฟังในชั้นเรียน 4. จัดให้มีภาคปฏิบัติในรายวิชา 5. การแนะนาหรือให้บทเรียนในชั้นปีแรกที่เน้นย้าในชั้นปี ที่สูงขึ้น
  • 22. กลยุทธ์การประเมินผลด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากพฤติกรรม การอภิปราย การแสดงออก ของนักศึกษาในการนาเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน การสอบปฏิบัติ หรือนักศึกษาประเมินเพื่อนร่วมกลุ่ม กิจกรรม เป็นต้น
  • 23. กลยุทธ์การสอน กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสาร สน กลยุทธ์ที่ใช้ เช่น 1. การใช้สื่อเคลื่อนไหว 2. การมอบหมายงานเดี่ยว/กลุ่ม 3. การจัดให้มีรายวิชาโครงการ 4. การมอบหมายให้ค้นคว้า เขียนรายงานและนาเสนองาน
  • 24. กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ประเมินจากการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการนาเสนอผลงาน หรือการ นาเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศสตร์ และสถิติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 2. ประเมินจากความสามารถในการใช้ภาษาในการสื่อสาร ในเอกสารรายงาน และการนาเสนอผลงานปากเปล่า 3. ประเมินจากการสังเกต การอภิปราย การร่วมแสดงความคิดเห็น การตอบ คาถาม อธิบายข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ กรณีศึกษา ต่าง ๆ ที่มีการนาเสนอต่อชั้นเรียน เป็นต้น
  • 25. Curriculum Mapping แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) www.prachyanun.com รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง ปัญญา 4. ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะ การวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 MTH 101 แคลคูลัสและเรขาคณิต วิเคราะห์ 1                MTH 102 แคลคูลัสและเรขาคณิต วิเคราะห์ 2                 MTH 201 พีชคณิตเชิงเส้นและแคลคูลัส เวกเตอร์                       MTH 202 สมการเชิงอนุพันธ์                 
  • 26. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา ระดับคะแนน (GRADE) ค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิต ผลการศึกษา ก หรือ A ข+ หรือ B+ ข หรือ B ค+ หรือ C+ ค หรือ C ง+ หรือ D+ ง หรือ D ต หรือ F ถ หรือ W ม.ส. หรือ I พ.จ. หรือ S ม.จ. หรือ U ม.น. หรือ AU 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0 - - - - - ดีเยี่ยม (Excellent) ดีมาก (Very Good) ดี (Good) ดีพอใช้ (Fairly Good) พอใช้ (Fair) อ่อน (Poor) อ่อนมาก (Very Poor) ตก (Fail) ถอนรายวิชา (Withdrawn) ไม่สมบูรณ์ (Incomplete) เป็นที่พอใจ (Satisfactory) ไม่เป็นที่พอใจ (Unsatisfactory) ไม่นับหน่วยกิต (Audit) www.prachyanun.com
  • 27. บทสรุป •การประเมินผู้เรียนด้านคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ แห่งชาติมี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ •การประเมินจะอิงตาม มคอ.3 และ มคอ.5 ที่อาจารย์ผู้สอน ได้กาหนดไว้ในรายวิชา •กลยุทธ์ในการสอนและการประเมินจะมาจาก Curriculum Mapping ที่กาหนดไว้
  • 30. Thank You รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ prachyanun@hotmail.com http://www.prachyanun.com 081-7037515