SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
TQF:
          Thai Qualifications Framework
          for Higher Education

 ผศ.ดร.อิศรา ก้านจ ักร
 อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร




issara.kan@gmail.com
anuchalive@gmail.com
Faculty of Education, Khon Kean University
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

                           Learning and Innovation skill

                                  Technology skill

                                    Thinking skill



                           พ ัฒนาคนในชาติให้มปญญาหรือความ
                                                     ี ั
                                             ื่
                           รอบรู ้ โดยเชอมโยงฐานความรูจากชวต้       ี ิ
                                   ่ ี ่        ั
                           จริงทีมอยูในสงคมเข้าก ับฐานความรูใน    ้
                           หล ักวิชาอย่างบูรณาการ กระตุนให้ใฝรู ้
                                                              ้      ่
  ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่          ่
                           และสงเสริมให้เกิดการแลกเปลียน        ่
                           เรียนรู ้ เพือสร้างสรรค์นว ัตกรรมและ
                                         ่
      สาค ัญของ                                       ้
                           องค์ความรูใหม่ๆมาใชในการพ ัฒนา
                                           ้
  แผนพ ัฒนาเศรษฐกิจ        ประเทศทีมนคงและยงยืน
                                        ่ ่ั      ่ั
        ั
   และสงคมแห่งชาติ
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

             ึ
  พ.ร.บ.การศกษา                         หมวด 6 มาตรฐาน          มาตรา 47
   แห่งชาติ พ.ศ.                          และการประก ัน     กาหนดให้มระบบ
                                                                       ี
       2542                                        ึ
                                        คุณภาพการศกษา           การประก ัน
                                                            คุณภาพการศกษา ึ
                                                               เพือพ ัฒนา
                                                                    ่
                                                               คุณภาพและ
เ พื่ อ ใ ห้ เ ป น ไ ป ต า ม
                   ็                                            มาตรฐาน
มาตรฐานการอุ ด มศ ึก ษา                  กรอบมาตรฐาน
                                                                  ึ
                                                            การศกษาทุกระด ับ
แ ล ะ เ พื่ อ เ ป น ก า ร ป ร ะ ก น
                 ็                ั           คุณวุฒ ิ
                                                            ประกอบด้วยระบบ
คุณ ภาพของบ ัณฑิต ในแต่                             ึ
                                         ระด ับอุดมศกษา
                                                                การประก ัน
ละระด ับคุณวุฒและสาขา/ิ                    แห่งชาติขน  ึ้
สาขาวิช า รวมท ง เพื่อ ใช ้้ั
                                                             คุณภาพภายใน
เ ป น ห ล ัก ใ น ก า ร จ ัด ท า
    ็                                                         และระบบการ
มาตรฐานด้านต่างๆ เพือให้       ่                             ประก ันคุณภาพ
ก า ร จ ั ด ก า ร ศ ึ ก ษ า มุ่ ง สู่                            ภายนอก
เป าหมายเดีย วก น ในการ
  ้                      ั
ผ ลิ ต บ ั ณ ฑิ ต ไ ด้ อ ย่ า ง มี
คุณภาพ
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

 หล ักการสาค ัญ
  1. เป นเครือ งมือ ในการน าแนวนโยบายการพ ฒ นาคุณ ภาพและ
       ็     ่                             ั
                         ึ
มาตรฐานการว ด การศ ก ษาตามที่ก าหนดใน พ.ร.บ.การศ ก ษา
                   ั                                 ึ
                 ่                       ึ
แห่งชาติฯ ในสวนทีเกียวก ับมาตรฐานการอุดมศกษาและการประก ัน
                     ่ ่
               ึ      ่             ึ
คุณภาพการศกษาสูการปฏิบ ัติในสถานศกษาอย่างเปนรูปธรรม
                                             ็

  2. มุงเน้นที่ Learning
       ่                           ึ่ ็             ิ
                         Outcomes ซงเปนมาตรฐานขนตาเชง
                                               ั้ ่
คุณภาพเพือประก ันคุณภาพบ ัณฑิต
            ่

    3. มุ่ ง ประมวลกฎเกณฑ์แ ละประกาศต่ า ง ๆ ที่เ กี่ย วก บ เรื่อ ง
                                                           ั
                                                        ื่
หล ักสูตรและการจ ัดการเรียนการสอนเข้าไว้ดวยก ันและเชอมโยงให้
                                         ้
เปนเรืองเดียวก ัน
  ็    ่
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

 หล ักการสาค ัญ
       ็    ่          ื่      ่ ี   ิ
  4. เปนเครืองมือการสอสารทีมประสทธิภาพในการสร้างความเข้าใจ
              ่ั      ่ ้ ี่ ่         ่     ่  ี   ่    ึ
  และความมนใจในกลุมผูทเกียวข้อง/มีสวนได้สวนเสย เชน น ักศกษา
                 ้                 ั
  ผูปกครอง ผูประกอบการ ชุมชน สงคมและสถาบ ันอืน ๆ ทงในและ
    ้                                             ่   ั้
  ต่างประเทศเกียวก ับคุณล ักษณะของบ ัณฑิตทีคาดว่าจะพึงมี
                   ่                       ่

  5. มุงให้คณวุฒหรือปริญญาของสถาบ ันใด ๆ ของประเทศไทยเปนที่
       ่    ุ   ิ                                                  ็
                                             ึ
  ยอมร ับและเทียบเคียงก ันได้ในสถาบ ันอุดมศกษาทีดทงในและ
                                                ่ ี ั้
                                           ึ
  ต่างประเทศ โดยเปิ ดโอกาสให้สถาบ ันอุดมศกษาสามารถจ ัดหล ักสูตร
  ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายโดยมนใจถึง      ่ั
                       ่ึ
  คุณภาพของบ ัณฑิตซงจะมีมาตรฐานผลการเรียนรูตามทีมงหว ัง
                                                 ้     ่ ุ่
                     ี
  สามารถประกอบอาชพได้อย่างมีความสุขและภาคภูมใจเปนทีพงพอใจ
                                                    ิ   ็      ่ ึ
  ของนายจ้าง

      ่                    ี ิ
  6. สงเสริมการเรียนรูตลอดชวต
                      ้
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education
        มาตรฐานผลการเรียนรู(Domains of Learning)
                           ้
                                                      ึ
      การเรียนรู ้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒระดับอุดมศกษาแห่งชาติกาหนด
                                           ิ
       มาตรฐานผลการเรียนรู ้ทีคาดหวังให ้บัณฑิตมี อย่างน ้อย 5 ด ้าน ดังนี้
                              ่


                    ด้านคุณธรรม จริยธรรม


                    ด้านความรู ้


                    ด้านท ักษะทางปัญญา

                                   ั
                    ด้านท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและ
                    ความร ับผิดชอบ

                                            ิ            ื่
                    ด้านท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร
                              ้
                    และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education
         มาตรฐานผลการเรียนรู(Domains of Learning)
                            ้

                                                   ั
 (1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การพัฒนานิสยในการประพฤติ
         ุ                                     ้     ่
 อย่างมีคณธรรม จริยธรรม และด ้วยความรับผิดชอบทังในสวนตนและ
  ่                               ี ี ิ
 สวนรวม ความสามารถในการปรับวิถชวตในความขัดแย ้งทางค่านิยม การ
           ั                    ี                ่
 พัฒนานิสยและการปฏิบตตนตามศลธรรม ทังในเรืองสวนตัวและสงคม
                      ั ิ                ้   ่          ั

 (2) ด้านความรู ้ หมายถึง ความสามารถในการเข ้าใจ การนึกคิด และการ
 นาเสนอข ้อมูล การวิเคราะห์และจาแนกข ้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี
 ตลอดจนกระบวนการต่างๆ และสามารถเรียนรู ้ด ้วยตนเองได ้

 (3) ด้านท ักษะทางปัญญา หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์
                 ้
 สถานการณ์และใชความรู ้ ความเข ้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และ
                                                              ิ
 กระบวนการต่างๆ ในการคิดวิเคราะห์และการแก ้ปั ญหา เมือต ้องเผชญกับ
                                                     ่
 สถานการณ์ใหม่ๆ ทีไม่ได ้คาดคิดมาก่อน
                   ่
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education
        มาตรฐานผลการเรียนรู(Domains of Learning)
                           ้

                         ั
 (4) ด้านท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความร ับผิดชอบ
 หมายถึง ความสามารถในการทางานเป็ นกลุม การแสดงถึงภาวะผู ้นา
                                      ่
                              ั
 ความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม ความสามารถในการวางแผนและ
 รับผิดชอบในการเรียนรู ้ของตนเอง

 (5) ด้านท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร และการใช ้
                              ิ           ื่
 เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์เชง    ิ
                            ้
 ตัวเลข ความสามารถในการใชเทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิต ิ
                   ื่                             ้
 ความสามารถในการสอสารทังการพูด การเขียน และการใชเทคโนโลยี
                         ้
 สารสนเทศ
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


                          มาตรฐานคุณวุฒสาขา/สาขาวิชา
                                       ิ


                                     มคอ.1
        รายงานผลการ                                    กรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ
 ดาเนินการของหล ักสูตร                                 รายละเอียดของ
                           มคอ.7             มคอ.2
                                                       หล ักสูตร

      รายงานผลการ
      ดาเนินการของ
        ประสบการณ์
                                    มคอ.                 รายละเอียดของ
                         มคอ.6                   มคอ.3   รายวิชา
          ภาคสนาม


             รายงานผลการ                         รายละเอียดของ
                                 มคอ.5   มคอ.4
      ดาเนินการของรายวิชา                        ประสบการณ์ภาคสนาม
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

องค์ประกอบของ มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
(course specification)
   หมวดที่ 1 ข้อมูลทวไป
                    ่ั
   หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและว ัตถุประสงค์
                  ่
   หมวดที่ 3 ล ักษณะและการดาเนินการ
                                           ึ
   หมวดที่ 4 การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา
                                   ้
   หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
   หมวดที่ 6 ทร ัพยากรประกอบการเรียนการสอน
   หมวดที่ 7 การประเมินและปร ับปรุงการดาเนินการ
   ของรายวิชา
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

              หมวดที่ 1 ข้อมูลทวไป
                               ่ั
                  ื่
  1. รห ัสและชอรายวิชา
  2. จานวนหน่วยกิต
  3. หล ักสูตรและประเภทของรายวิชา
      • หล ักสูตร ........................
      • หมวดวิชา/กลุมวิชา/วิชา (บ ังค ับ/เลือก)...............
                           ่
  4. อาจารย์ผร ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผสอน
               ู้                             ู้
      • ระบุใครเปนผูร ับผิดชอบ/ผูประสานงาน/ผูสอน
                     ็   ้                 ้      ้
      • ใครสอนกลุมไหน หมูไหน
                       ่           ่
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

             หมวดที่ 1 ข้อมูลทวไป
                              ่ั
                   ึ     ั้
  5. ภาคการศกษา/ชนปี ทีเรียน  ่
                                ึ
         • ระบุตามแผนการศกษาของหล ักสูตร ทีเขียนไว้ใน
                                                 ่
          มคอ. 2 หมวดที่ 3 ข้อ 3.1.4 แสดงแผนการศกษาึ
  6. รายวิชาทีตองเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี)
                  ่ ้
  7. รายวิชาทีตองเรียนพร้อมก ัน (Co-requisites)
                 ่ ้
  8. สถานทีเรียน
               ่
         • ระบุสถานทีทกแห่ง ทงในและนอกทีตงหล ักของคณะ
                      ่ ุ         ั้        ่ ั้
           /วิทยาล ัย
  9. ว ันทีจ ัดทาหรือปร ับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครงล่าสุด
           ่                                         ั้
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

   หมวดที 2. จุดมุงหมาย และว ัตถุประสงค์
                  ่
 1. จุดมุงหมายของรายวิชา (ระบุให้ครอบคลุม TQF 5 ด้าน)
          ่
              ่         ึ
         • เพือให้น ักศกษามีความรู ้ ความเข้าใจ ในเรืองอะไรบ้าง
                                                       ่
         • มีท ักษะ ความสามารถทีจะทาอะไรได้บาง
                                 ่               ้
 2. ว ัตถุประสงค์ในการพ ัฒนา/ปร ับปรุงรายวิชา
         • มีการเปลียนแปลง มีความจาเปน อะไรทีทาให้ตองมี
                      ่                     ็      ่     ้
 การพ ัฒนา/ปร ับปรุงรายวิชานี้
         • มีการพ ัฒนา/ปร ับปรุงใหม่ในเรืองอะไรบ้าง
                                              ่
                                          ่          ึ
         • หากพ ัฒนา/ปร ับปรุงแล้วจะสงผลต่อน ักศกษาอย่างไร
                                       ิ่ ่
         • ในการพ ัฒนา/ปร ับปรุง มีสงทีจะทา อะไรบ้าง เพือจะ่
 ให้บรรลุว ัตถุประสงค์ในการพ ัฒนา/ปร ับปรุงนี้
                                                             14
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

    หมวดที่ 3. ล ักษณะและการดาเนินการ
 1. คาอธิบายรายวิชา
    ลอกตามทีระบุไว้ในหล ักสูตร
              ่
           ่ั    ่ ้ ่         ึ
 2. จานวนชวโมงทีใชตอภาคการศกษา (คานวณตามหน่วยกิต)

                                  การฝึ กปฏิบ ัติ/งาน   การศกษา ึ
 บรรยาย         สอนเสริม
                                 ภาคสนาม/การฝึ กงาน     ด้วยตนเอง
   ่ ่ั
 กีชวโมง           ไม่ม ี / มี         ไม่ม ี / มี         ่ ่ั
                                                         กีชวโมง
           ตามความต้องการของ
                 ึ
            น ักศกษาเฉพาะราย




                                                              15
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

    หมวดที่ 3. ล ักษณะและการดาเนินการ
              ่ั         ั
 3. จานวนชวโมงต่อสปดาห์ทอาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนา
                               ี่
                       ึ
 ทางวิชาการแก่น ักศกษาเปนรายบุคคล
                             ็
           ่ ่ั
       • กีชวโมงต่อสปดาห์  ั
             ้ ิ ี                  ื่
       • ใชวธการใดในการติดต่อสอสาร เชน      ่
                 – ประกาศเวลาให้คาปรึกษาทีหน้าห้องทางาน
                                          ่
                 – แจ้งในเว็บไซต์
                 – โทรน ัดหมายล่วงหน้า
                 – เปนต้น
                     ็


                                                          16
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

                                         ึ
 หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา
                                 ้

         • เขียนผลการเรียนรูในแต่ละด้าน
                            ้


         • สอดคล้องก ับ Curriculum Mapping และ
           ธรรมชาติรายวิชานี้

         • สอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 2 ข้อ 1
           จุดมุงหมายของรายวิชา
                ่


                                                 17
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education



    ผลการเรียนรู ้ (Learning Outcomes) คืออะไร?


                                  ิ่ ่
    • ผลการเรียนรู ้ หมายถึง สงทีพ ัฒนาขึน้
                  ึ
      ในต ัวน ักศกษา ทงจากการเรียนใน
                         ั้
      ห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหล ักสูตร
            ั               ึ
      ปฏิสมพ ันธ์ก ับน ักศกษาอืน ก ับอาจารย์
                                ่
                              ้
      ประสบการณ์ทเกิดขึนในชวงเวลาที่
                      ี่            ่
        ึ
      ศกษาอยูในมหาวิทยาล ัย
                ่
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


               ผลการเรียนรู ้
           (Learning Outcomes)
  • ผลการเรียนรู ้ ต้องว ัดได้ และครอบคลุมถึง
                                    ้
    – สาระความรู ้ ความเข้าใจในเนือหาวิชา
    – ท ักษะหรือความสามารถในการนาความรูไปใช ้ ้
                                          ื่
    – พฤติกรรม ท ัศนคติ แนวคิด ความเชอ อุปนิสย  ั
  • สกอ. กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรูอย่างน้อย 5
                                   ้
    ด้าน (เอกสารแนบท้ายประกาศ คกอ. เรืองแนวทาง
                                      ่
    การปฏิบ ัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ
                ึ
    ระด ับอุดมศกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552)
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

            การเรียนรู ้ 5 ด้าน
        (5 Domains of Learning)
  1. คุณธรรม จริยธรรม (คิดดี ทาดี ร ับผิดชอบการกระทา)
  2. ความรู ้ (รู ้ เข้าใจ)
  3. ท ักษะทางปัญญา (ความสามารถในการปฏิบ ัติ วิเคราะห์
       ั
     สงเคราะห์ และประเมิน)
                       ั
  4. ท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความร ับผิดชอบ
               ั
     (มนุษยสมพ ันธ์ ความร ับผิดชอบการทางาน/การ
     พ ัฒนาตนเอง)
  5. ท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร และการใช ้
                              ิ       ื่
     เทคโนโลยีสารสนเทศ (สน ับสนุนการเรียนรูดานอืนๆ
                                            ้ ้  ่
     และการประกอบอาชพ)      ี
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการ
                 ประเมินผล
       3. แผนทีแสดงการกระจายความร ับผิดชอบ
               ่
                                          ่
          ต่อผลการเรียนรู ้ จากหล ักสูตรสูรายวิชา
          (Curriculum mapping, Curriculum
          alignment)
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

                    ต ัวอย่าง มคอ. 2
  แผนทีแสดงการกระจายความร ับผิดชอบต่อผลการเรียนรูจาก
       ่                                              ้
                    ่
         หล ักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)
   • ความร ับผิดชอบหล ัก            o ความร ับผิดชอบรอง

                                                                           5. ท ักษะการ
                                                             4. ท ักษะ
                                                                           วิเคราะห์เชงิ
                1.                             3. ท ักษะ           ั
                                                           ความสมพ ันธ์
                                                                            ต ัวเลข การ
  รายวิชา   คุณธรรม          2. ความรู ้         ทาง       ระหว่างบุคคล
                                                                              ื่
                                                                           สอสาร และ
            จริยธรรม                            ปัญญา        และความ
                                                                            เทคโนโลยี
                                                            ร ับผิดชอบ
                                                                            สารสนเทศ
            1   2    3   1     2   3       4   1   2   3   1   2   3   4   1   2   3     4




                                                                                    22
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

                                        ึ
หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา
                                ้

 1. คุณธรรม จริยธรรม
      1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีตองพ ัฒนา
                            ่ ้
      1.2 วิธการสอน
             ี
      1.3 วิธการประเมินผล
                   ี
 2. ความรู ้
      2.1 ความรูทตองได้ร ับ
                     ้ ี่ ้
      2.2 วิธการสอน
               ี
      2.3 วิธการประเมินผล
                 ี                      23
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

                                        ึ
หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา
                                ้
   3. ท ักษะทางปัญญา
          3.1 ท ักษะทางปัญญาทีตองพ ัฒนา
                               ่ ้
          3.2 วิธการสอน
                  ี
          3.3 วิธการประเมินผล
                    ี
                          ั
   4. ท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความร ับผิดชอบ
                            ั
          4.1 ท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความ
   ร ับผิดชอบทีตองพ ัฒนา
                ่ ้
          4.2 วิธการสอน
                      ี
          4.3 วิธการประเมินผล
                        ี

                                                        24
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

                                        ึ
หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา
                                ้

  5. ท ักษะวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร และการใช ้
                        ิ            ื่
  เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                 ิ           ื่
         5.1 ท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลขการสอสารและ
          ้
  การใชเทคโนโลยีทตองพ ัฒนา
                      ี่ ้
         5.2 วิธการสอน
                 ี
         5.3 วิธการประเมินผล
                   ี



                                                 25
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education




Active Learning in Higher Education




                                     26
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education



 การเปลียนกระบวนท ัศน์ของการจ ัดการเรียนรู ้
        ่

         กระบวนท ัศน์ของการจ ัดการเรียนรู ้

    เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง     เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง

   การสอน (Teaching)                 การเรียนรู(Learning)
                                               ้
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

 การเปลียนบทบาทของผูสอนและผูเรียน
        ่           ้       ้
  Changes in Teacher Role
  A shift from:                                    A shift to:
  Knowledge transmitter, primary source of         Learning facilitator, collaborator, coach,
  information, content expert, and source of all   mentor, knowledge navigator, and co-learner
  answers

  Teacher controls and directs all aspects of      Teacher gives students more options and
  learning                                         responsibilities for their own learning

  Changes in Student Role
  A shift from:                                    A shift to:

  Passive recipient of information.                Active participant in the learning process.

  Reproducing knowledge.                           Producing and sharing knowledge,
                                                   participating at times as expert.
  Learning as a solitary activity.                 Learning collaboratively with others
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


    What is Active learning?

  Active learning refers to techniques where students
  do more than simply listen to a lecture. Students are
  DOING something including discovering, processing,
  and applying information. Active learning "derives
  from two basic assumptions:
  (1) that learning is by nature an active endeavor
  (2) that different people learn in different ways
      (Meyers and Jones, 1993).
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education



       Students are involved in more than listening, less
 emphasis is placed on transmitting information and
 more on developing students' skills, students are
 involved in higher-order thinking (analysis, synthesis,
 evaluation), students are engaged in activities (e.g.,
 reading discussing, writing), and greater emphasis is
 placed on students' exploration of their own attitudes
 and values.
   (Kathleen McKinney, http://www.cat.ilstu.edu/additional/tips/newActive.php
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

    หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
 • เขียนให้สอดคล้องก ับ Curriculum Mapping และธรรมชาติ
รายวิชานี้
 • และสอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพ ัฒนาผลการเรียนรู ้
         ึ
ของน ักศกษา
                                     กิจกรรมการเรียน
    ั
   สปดาห์         ห ัวข้อ/   จานวน
                                                 ื่
                                     การสอนและสอที่    ผูสอน
                                                         ้
      ที่       รายละเอียด   (ชม.)
                                           ใช ้




                                                               31
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


 กิจกรรมที่ 1
 วิเคราะห์และเลือกวิธการจ ัดการเรียนรูทสอดคล้องก ับ
                     ี                ้ ี่
 TQF
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ)
  2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ้
   • ให้สอดคล้องก ับ Curriculum Mapping และธรรมชาติ
  รายวิชานี้
   • และสอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพ ัฒนาผลการเรียนรู ้
          ึ
  ของน ักศกษา
   ผลการเรียนรู ้              กิจกรรม                  ั
                                                       สปดาห์ท ี่              ั ่
                                                                              สดสวนของการ
    ทีเกียวข้อง
      ่ ่                     การประเมิน               ประเมิน                  ประเมินผล
 ระบุผลการเรียนรู ้   ระบุกจกรรมการ
                           ิ                   จะประเมินด ้วยกิจกรรมนีใน กิจกรรมการประเมินนี้
                                                                      ้
 ข ้อใดบ ้าง          ประเมินทีสนองผล
                               ่                ั
                                               สปดาห์ทเท่าไรบ ้าง
                                                        ี่               คิดเป็ นกีเปอร์เซ็นต์
                                                                                   ่
                      การเรียนรู ้ทีระบุไว ้
                                    ่          หรือ ประเมินตลอดภาค
                                                    ึ
                                               การศกษา
 ระบุผลการเรียนรู ้   ระบุกจกรรมการ
                           ิ                   จะประเมินด ้วยกิจกรรมนีใน กิจกรรมการประเมินนี้
                                                                      ้
 ข ้อใดบ ้าง          ประเมินทีสนองผล
                               ่                ั
                                               สปดาห์ทเท่าไรบ ้าง
                                                        ี่               คิดเป็ นกีเปอร์เซ็นต์
                                                                                   ่
                      การเรียนรู ้ทีระบุไว ้
                                    ่          หรือ ประเมินตลอดภาค
                                                    ึ
                                               การศกษา                                         33
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


                           ิ่ ่ ้
                          สงทีตองการว ัด
     ความรู ้ ความสามารถ พฤติกรรม ท ักษะ และคุณล ักษณะที่
                      ทาการว ัดและประเมิน
  กรอบจุดประสงค์ของ     3 โดเมนของ Bloom’s
           ึ
  กระทรวงศกษาธิการ           Taxonomy                   TQF
                                             ด้านคุณธรรม จริยธรรม
    K – Knowledge          C – Cognitive
        (ความรู ้)                  ิ ั
                             (พุทธิพสย)      ด้านความรู ้

                                             ด้านท ักษะทางปัญญา
      A – Attitude         A – Affective
     (เจตคติ ค่านิยม)               ั
                             (จิตพิสย)                      ั
                                             ด้านท ักษะความสมพ ันธ์
                                             ระหว่างบุคคลและความ
  P – Process/Product     P - Psychomotor    ร ับผิดชอบ
   (กระบวนการ/ผลงาน)                  ั
                             (ทักษะพิสย)                             ิ
                                             ด้านท ักษะการวิเคราะห์เชง
                                             ต ัวเลข การสอสาร และการใช ้
                                                         ื่
                                             เทคโนโลยีสารสนเทศ
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


     ่                ี    ่ ้
 เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้


       จุดประสงค์                วิธการ
                                    ี                  เครืองมือ
                                                           ่
 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
 (คิดดี ทาดี ร ับผิดชอบ 1. การประเมินตนเอง/      1. แบบประเมินตนเอง
     การกระทา)             เพือนประเมิน
                              ่                     ด ้านคุณธรรม
                                ั
                        2. การสงเกต                 จริยธรรม เจตคติ
                                  ั
                        3. การสมภาษณ์                      ั
                                                 2. แบบสงเกต
                        4. การให ้เพือนประเมิน
                                     ่                       ั
                                                 3. แบบสมภาษณ์
                           (Peer Assessment)
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


     ่                ี    ่ ้
 เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้


       จุดประสงค์                 วิธการ
                                     ี                     เครืองมือ
                                                               ่
 ความรู ้ (รู ้ เข้าใจ)
                          1. การทดสอบ              1.    แบบทดสอบชนิดที่
                          2. การนาเสนอปากเปล่า          ผู ้สอบคิดคาตอบเอง
                             (Oral Presentation)   2.    แบบประเมินการ
                          3. การทารายงานสรุป            นาเสนอ
                             การเรียนรู ้          3.    แบบประเมินรายงาน
                          4. การถามตอบปาก               สรุปการเรียนรู ้
                             เปล่า                 4.    แบบประเมิน
                          5. การประเมินตนเอง/           โครงงาน (Project)
                             เพือนประเมิน
                                ่                  5.    แบบประเมินตนเอง
                          6. การทาโครงงาน          6.   แบบประเมินโครงงาน
Thai Qualifications Framework for
Higher Education, TQF:HEd

     ่                ี    ่ ้
 เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้


      จุดประสงค์                วิธการ
                                   ี                   เครืองมือ
                                                           ่
 ท ักษะทางปัญญา
 (ความสามารถใน         1. การทดสอบ            1. แบบทดสอบชนิดที่
 การปฏิบ ัติ วิเคราะห์ 2. การนาเสนอปากเปล่า      ผู ้สอบคิดคาตอบเอง
  ั
 สงเคราะห์ การคิด         (Oral Presentation) 2. แบบประเมินการ
                                                 นาเสนอ
 ขนสูง และประเมิน) 3. การทารายงานสรุป
    ั้
                           การเรียนรู ้         3.  แบบประเมินรายงาน
                        4. การถามตอบปาก            สรุปการเรียนรู ้
                           เปล่า                4. แบบประเมิน
                        5. การประเมินตนเอง/        โครงงาน (Project)
                           เพือนประเมิน
                              ่                 5. แบบประเมินตนเอง
                        6. การทาโครงงาน         6. แบบประเมินโครงงาน
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


     ่                ี    ่ ้
 เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้


      จุดประสงค์                วิธการ
                                   ี                     เครืองมือ
                                                             ่
             ั
 ท ักษะความสมพ ันธ์
 ระหว่างบุคคลและ        1. การประเมินตนเอง/      1.   แบบประเมินตนเอง
 ความร ับผิดชอบ            เพือนประเมิน
                              ่                  2.         ั
                                                      แบบสงเกต
         ั
 (มนุษยสมพ ันธ์                 ั
                        2. การสงเกต              3.           ั
                                                      แบบสมภาษณ์
 ความร ับผิดชอบ                   ั
                        3. การสมภาษณ์            4.   แบบประเมินกิจกรรม
 การทางาน/การ           4. การให ้เพือนประเมิน
                                     ่                กลุม การสาธิต
                                                         ่
                           (Peer Assessment)          บทบาทสมมติ
 พ ัฒนาตนเอง)
                        5. กิจกรรมกลุม การ
                                       ่
                           สาธิต บทบาทสมมติ
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


     ่                ี    ่ ้
 เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้


      จุดประสงค์                วิธการ
                                   ี                   เครืองมือ
                                                           ่

  ท ักษะการ
                        1. การประเมินตนเอง/     1.   แบบประเมินตนเอง
  วิเคราะห์เชงิ            เพือนประเมิน
                              ่                 2.       ั
                                                     แบบสงเกต
  ต ัวเลข การ                   ั
                        2. การสงเกต             3.   แบบทดสอบ
     ื่
  สอสาร และการ          3. การทดสอบ             4.   แบบประเมินแฟ้ ม
        ้
  ใชเทคโนโลยี           4. การสอบปฏิบต ิ
                                       ั             สะสมงาน
  สารสนเทศ              5. แฟ้ มสะสมงาน
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

  หมวดที่ 6. ทร ัพยากรประกอบการเรียนการสอน

• ให้สอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 5 ข้อ 1 แผนการสอน ด้วย
1. ตาราและเอกสารหล ัก
      • เขียนแบบบรรณานุกรม
2. เอกสารและข้อมูลสาค ัญ
      • ระบุมอะไรบ้าง เชน
              ี          ่
                     ื
             – หน ังสอ วารสาร รายงาน
             – สออิเล็กทรอนิกส ์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
                ื่
             – กฎระเบียบต่าง ๆ
                       ึ
             – แหล่งศกษาค้นคว้าเพิมเติม
                                     ่

                                                          40
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

  หมวดที่ 6 ทร ัพยากรประกอบการเรียนการสอน

 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
                        ่
      • ระบุมอะไรบ้าง เชน
             ี
                  ื
          – หน ังสอ วารสาร รายงาน
          – สออิเล็กทรอนิกส ์ เว็บไซต์
               ื่
 โปรแกรมคอมพิวเตอร์
          – กฎระเบียบต่าง ๆ
                    ึ
          – แหล่งศกษาค้นคว้าเพิมเติม
                                  ่
                                         41
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

           หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง
              การดาเนินการของรายวิชา
  นาข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 8 ข้อ 1. การประเมิน
          ิ
  ประสทธิผลของการสอน มาดูประกอบ
                               ิ
  1. กลยุทธ์การประเมินประสทธิผลของรายวิชาโดยน ักศกษา      ึ
  • จะมีวธการอย่างไร เชน
               ิ ี          ่
                                                   ึ
            – การสนทนากลุมระหว่างอาจารย์ก ับน ักศกษา
                          ่
            – การสะท้อนคิด (reflective journal) ของน ักศกษา ึ
            – แบบประเมินอาจารย์ และแบบประเมินรายวิชา
                   ั
            – การสงเกตพฤติกรรมของน ักศกษา ึ
            – ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ทีอาจารย์จ ัดทา ไว้สอสาร
                                        ่                     ื่
             ึ
  ก ับน ักศกษา
                                                              42
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

          หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง
             การดาเนินการของรายวิชา
   2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
                          ่
     • จะมีวธการอย่างไร เชน
            ิ ี
                 ั
          – การสงเกตการสอนของผูรวมทีมการสอน
                                  ้ ่
          – ผลการสอบ/การเรียนรู ้
          – การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู ้
          – การประเมินโดยคณะกรรมการ ประเมินข้อสอบและ
   วิธการประเมิน
      ี




                                                   43
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

           หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง
              การดาเนินการของรายวิชา
   3. การปร ับปรุงการสอน
     • จะมีวธการอย่างไร เชน
             ิ ี               ่
               ั
          – สมมนา ประชุมปฏิบ ัติการการจ ัดการเรียนการสอน
                          ั้
          – การวิจ ัยในชนเรียน
          – การวิจ ัยอืน ๆ
                       ่
                                 ั           ึ
   4. การทวนสอบมาตรฐานผลสมฤทธิของน ักศกษาในรายวิชา
                                     ์
    • นาข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 5 ข้อ 2.1 การทวนสอบ
                             ึ                 ึ
   ระด ับรายวิชา ขณะน ักศกษาย ังไม่สาเร็จการศกษา มาดู
   ประกอบ

                                                       44
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

          หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง
             การดาเนินการของรายวิชา
  • จะทาอย่างไร เชน ่
        – มีคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมิน
                      ึ
  การเรียนรูของน ักศกษา (คะแนน/เกรด) โดยตรวจสอบ
            ้
  ข้อสอบ รายงาน โครงการวิธการให้คะแนนสอบ และการให้
                               ี
  คะแนนพฤติกรรมของน ักศกษาึ
                                           ่
        – การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุมตรวจผลงาน
  ของน ักศกษาโดยอาจารย์อน หรือผูทรงคุณวุฒ ิ ทีไม่ใช่
          ึ                 ื่    ้              ่
  อาจารย์ประจาหล ักสูตร และต้องมีความรูในวิชานี้
                                       ้
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

          หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง
             การดาเนินการของรายวิชา
  5. การดาเนินการทบทวน และการวางแผนปร ับปรุง
        ิ
  ประสทธิผลของรายวิชา
   • จะนาข้อมูลจากข้อ 1 – 4 มาวางแผนดาเนินการอย่างไร
  เชน่
                                              ั
          – ปร ับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการสมมนาการจ ัดการ
  เรียน การสอน
          – ปร ับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี ตามข้อเสนอแนะและผลจาก
                              ั
  การทวนสอบมาตรฐานผลสมฤทธิ์ ในข้อ 4
          – เปลียนหรือสล ับอาจารย์ผสอน
                 ่                   ู้


                                                        46
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education



          หมายถึง รายงานผลการจ ัดการเรียนการสอน
                                     ่ ิ้
 ของอาจารย์ผสอนแต่ละรายวิชาเมือสนภาคเรียน
                 ู้
          ในรายงานจะเกียวก ับภาพรวมของการจ ัดการ
                          ่
 เรียนการสอนในวิชานนๆ ว่าได้ดาเนินการสอนเปนไป
                              ั้                ็
 ตามแผนทีวางไว้หรือไม่
               ่
          มีปญหาหรือข้อข ัดข้องใดทีทาให้มได้สอนตาม
             ั                     ่      ิ
 แผน พร้อมก ับข้อเสนอแนะสาหร ับการแก้ไขในการ
 ดาเนินการสอนครงต่อไป  ั้
          ในรายงานจะครอบคลุมถึงผลการเรียนของ
      ึ                     ึ
 น ักศกษา จานวนน ักศกษา การประเมินรายวิชาโดย
 น ักศกษา รวมทงการสารวจความคิดเห็ นของผูใช ้
        ึ           ั้                        ้
 บ ัณฑิต
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

                        ความเชื่อมโยง
        มคอ. ๕ จะเชื่อมโยงกับ มคอ. ๓ ในประเด็น…
  ผลการเรียนรู้  วิธีสอน  วิธีการประเมิน
  แผนการสอน  ประสิทธิภาพของกลยุทธ์การเรียน
   การ สอนที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้
  การประเมิน  โดยนักศึกษา
                  โดยวิธีอื่น

  ผลกระทบจากทรัพยากรการบริหาร
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education

  รายงานผลรายวิชาเป็นรายงานที่ต้องทาหลังจากเสร็จสิ้นการ
  ประเมินการสอนแต่ละรายวิชาแล้ว โดยต้องนาข้อมูลจาก
  1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา มาใช้เป็นหลักในการจัดทา
  รายงาน
  2.ใช้ข้อมูลจากการประเมินผลการเรียนรู้ตลอดภาค
  การศึกษาได้ปฏิบัติจริง รวมทั้งการประเมินกิจกรรม
  ต่างๆ ที่ได้จัดในระหว่างภาคการศึกษามาประกอบ
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education




  3. ข้อมูลจากการประเมินผลการสอน/อาจารย์ โดย
     นักศึกษา
  4. ผลการทวนสอบจากคณาจารย์อื่นภายในสาขาวิชา
  5. ผลการประเมินหรือความเห็นจากผู้เกี่ยวข้องอื่นที่อาจ
     เป็นบุคคลภายนอก
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education



   ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้
   หมวดที่ 1   ข้อมูลทั่วไป
   หมวดที่ 2   การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับ
                   แผนการสอน
   หมวดที่ 3   สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
   หมวดที่ 4   ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
   หมวดที่ 5   การประเมินรายวิชา
   หมวดที่ 6   แผนการปรับปรุง
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education



          หมายถึง การรายงานผลประจาปีโดยผู้ประสานงานหลักสูตรหรือผู้รับผิดชอบ
 หลักสูตรเกี่ยวกับผลการบริหารจัดการหลักสูตร เช่น
 •ข้อมูลทางสถิติของนักศึกษาที่เรียนในหลักสูตร
 •สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถาบันที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร
 •สรุปภาพรวมของรายงานผลของรายวิชาในหลักสูตร
 •ประสิทธิภาพของการสอนในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
 •การเทียบเคียงผลการดาเนินการกับมาตรฐานอื่นๆที่มี
 •สรุปผลการประเมินหลักสูตรจากความเห็นของผู้สาเร็จการศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต
 •ข้อเสนอในการวางแผนและพัฒนา รวมทั้งแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณาจารย์และ
 บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education




         การรายงานผลดังกล่าวจะส่งไปยังสาขาวิชา/ฝ่ายวิชาการ/
 คณบดี และใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาด้วยตนเองเพื่อปรับปรุงและ
 พัฒนาหลักสูตรเป็นระยะๆ และเป็นข้อมูลในการรับรองหลักสูตรจาก
 ผู้ประเมินภายนอกได้ด้วย
TQF: Thai Qualifications Framework
for Higher Education


                    ความเชื่อมโยง

More Related Content

Viewers also liked

Creating a Sense of Community of Learning
Creating a Sense of Community of Learning Creating a Sense of Community of Learning
Creating a Sense of Community of Learning Kelly Elander, PhD
 
Partnership for 21st Century Skills and Social Studies
Partnership for 21st Century Skills and Social StudiesPartnership for 21st Century Skills and Social Studies
Partnership for 21st Century Skills and Social StudiesMichelleHerczog
 
Transformation of Learning in Universities Through Online Education
Transformation of Learning in Universities Through Online EducationTransformation of Learning in Universities Through Online Education
Transformation of Learning in Universities Through Online EducationMaryFriend Shepard
 
Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...
Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...
Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...Natalia
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...Atigarn Tingchart
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatioTar Bt
 
17 online learning resources and websites you should check out
17 online learning resources and websites you should check out17 online learning resources and websites you should check out
17 online learning resources and websites you should check outTiffany St James
 
online education system project report
online education system project reportonline education system project report
online education system project reportHagi Sahib
 

Viewers also liked (10)

Km
KmKm
Km
 
Creating a Sense of Community of Learning
Creating a Sense of Community of Learning Creating a Sense of Community of Learning
Creating a Sense of Community of Learning
 
Classroom 2.0 Update 2apr08
Classroom 2.0 Update 2apr08Classroom 2.0 Update 2apr08
Classroom 2.0 Update 2apr08
 
Partnership for 21st Century Skills and Social Studies
Partnership for 21st Century Skills and Social StudiesPartnership for 21st Century Skills and Social Studies
Partnership for 21st Century Skills and Social Studies
 
Transformation of Learning in Universities Through Online Education
Transformation of Learning in Universities Through Online EducationTransformation of Learning in Universities Through Online Education
Transformation of Learning in Universities Through Online Education
 
Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...
Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...
Transformation of a conventional university into an e university in emerging ...
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย และพัฒนาการและเทคโนโลยี...
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
17 online learning resources and websites you should check out
17 online learning resources and websites you should check out17 online learning resources and websites you should check out
17 online learning resources and websites you should check out
 
online education system project report
online education system project reportonline education system project report
online education system project report
 

Similar to Thai qualifications framework for higher education

แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปUraiwantia
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56manus1999
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศDenpong Soodphakdee
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะkrupornpana55
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองkittri
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryArtit Promratpan
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯIct Krutao
 

Similar to Thai qualifications framework for higher education (20)

University curriculum
University curriculumUniversity curriculum
University curriculum
 
แนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูปแนวทางการปฏิรูป
แนวทางการปฏิรูป
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
ข้อมูลเตรียมทำแผนปี56
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมองภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
ภาพอนาคตที่มีผลต่ออุดมศึกษาไทยและความท้าทาย มีนาคม ๒๕๕๕ คลังสมอง
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
2222222
22222222222222
2222222
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the country
 
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯPpt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
Ppt ดร.วิษณุ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพฯ
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 

More from Anucha Somabut

MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOCMOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOCAnucha Somabut
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้Anucha Somabut
 
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...Anucha Somabut
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานAnucha Somabut
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teachingAnucha Somabut
 
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...Anucha Somabut
 
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)Anucha Somabut
 
Emerging Educational Technologies
Emerging Educational TechnologiesEmerging Educational Technologies
Emerging Educational TechnologiesAnucha Somabut
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchAnucha Somabut
 
How to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study SuccessHow to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study SuccessAnucha Somabut
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionAnucha Somabut
 

More from Anucha Somabut (14)

MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOCMOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
MOOC Canvas: 11 ประเด็นก่อนจะพัฒนา MOOC
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
 
Cloud-Based Learning
Cloud-Based LearningCloud-Based Learning
Cloud-Based Learning
 
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...The Digital Learning Environments  to Promote Information Literacy in Higher ...
The Digital Learning Environments to Promote Information Literacy in Higher ...
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
How to “COOK” Your Class Professionally: Showcase in the Practice of Science ...
 
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
การจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
 
Emerging Educational Technologies
Emerging Educational TechnologiesEmerging Educational Technologies
Emerging Educational Technologies
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
How to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study SuccessHow to Mind Map for Study Success
How to Mind Map for Study Success
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
 

Thai qualifications framework for higher education

  • 1. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ผศ.ดร.อิศรา ก้านจ ักร อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร issara.kan@gmail.com anuchalive@gmail.com Faculty of Education, Khon Kean University
  • 2. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education Learning and Innovation skill Technology skill Thinking skill พ ัฒนาคนในชาติให้มปญญาหรือความ ี ั ื่ รอบรู ้ โดยเชอมโยงฐานความรูจากชวต้ ี ิ ่ ี ่ ั จริงทีมอยูในสงคมเข้าก ับฐานความรูใน ้ หล ักวิชาอย่างบูรณาการ กระตุนให้ใฝรู ้ ้ ่ ประเด็นยุทธศาสตร์ท ี่ ่ และสงเสริมให้เกิดการแลกเปลียน ่ เรียนรู ้ เพือสร้างสรรค์นว ัตกรรมและ ่ สาค ัญของ ้ องค์ความรูใหม่ๆมาใชในการพ ัฒนา ้ แผนพ ัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศทีมนคงและยงยืน ่ ่ั ่ั ั และสงคมแห่งชาติ
  • 3. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ึ พ.ร.บ.การศกษา หมวด 6 มาตรฐาน มาตรา 47 แห่งชาติ พ.ศ. และการประก ัน กาหนดให้มระบบ ี 2542 ึ คุณภาพการศกษา การประก ัน คุณภาพการศกษา ึ เพือพ ัฒนา ่ คุณภาพและ เ พื่ อ ใ ห้ เ ป น ไ ป ต า ม ็ มาตรฐาน มาตรฐานการอุ ด มศ ึก ษา กรอบมาตรฐาน ึ การศกษาทุกระด ับ แ ล ะ เ พื่ อ เ ป น ก า ร ป ร ะ ก น ็ ั คุณวุฒ ิ ประกอบด้วยระบบ คุณ ภาพของบ ัณฑิต ในแต่ ึ ระด ับอุดมศกษา การประก ัน ละระด ับคุณวุฒและสาขา/ิ แห่งชาติขน ึ้ สาขาวิช า รวมท ง เพื่อ ใช ้้ั คุณภาพภายใน เ ป น ห ล ัก ใ น ก า ร จ ัด ท า ็ และระบบการ มาตรฐานด้านต่างๆ เพือให้ ่ ประก ันคุณภาพ ก า ร จ ั ด ก า ร ศ ึ ก ษ า มุ่ ง สู่ ภายนอก เป าหมายเดีย วก น ในการ ้ ั ผ ลิ ต บ ั ณ ฑิ ต ไ ด้ อ ย่ า ง มี คุณภาพ
  • 4. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หล ักการสาค ัญ 1. เป นเครือ งมือ ในการน าแนวนโยบายการพ ฒ นาคุณ ภาพและ ็ ่ ั ึ มาตรฐานการว ด การศ ก ษาตามที่ก าหนดใน พ.ร.บ.การศ ก ษา ั ึ ่ ึ แห่งชาติฯ ในสวนทีเกียวก ับมาตรฐานการอุดมศกษาและการประก ัน ่ ่ ึ ่ ึ คุณภาพการศกษาสูการปฏิบ ัติในสถานศกษาอย่างเปนรูปธรรม ็ 2. มุงเน้นที่ Learning ่ ึ่ ็ ิ Outcomes ซงเปนมาตรฐานขนตาเชง ั้ ่ คุณภาพเพือประก ันคุณภาพบ ัณฑิต ่ 3. มุ่ ง ประมวลกฎเกณฑ์แ ละประกาศต่ า ง ๆ ที่เ กี่ย วก บ เรื่อ ง ั ื่ หล ักสูตรและการจ ัดการเรียนการสอนเข้าไว้ดวยก ันและเชอมโยงให้ ้ เปนเรืองเดียวก ัน ็ ่
  • 5. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หล ักการสาค ัญ ็ ่ ื่ ่ ี ิ 4. เปนเครืองมือการสอสารทีมประสทธิภาพในการสร้างความเข้าใจ ่ั ่ ้ ี่ ่ ่ ่ ี ่ ึ และความมนใจในกลุมผูทเกียวข้อง/มีสวนได้สวนเสย เชน น ักศกษา ้ ั ผูปกครอง ผูประกอบการ ชุมชน สงคมและสถาบ ันอืน ๆ ทงในและ ้ ่ ั้ ต่างประเทศเกียวก ับคุณล ักษณะของบ ัณฑิตทีคาดว่าจะพึงมี ่ ่ 5. มุงให้คณวุฒหรือปริญญาของสถาบ ันใด ๆ ของประเทศไทยเปนที่ ่ ุ ิ ็ ึ ยอมร ับและเทียบเคียงก ันได้ในสถาบ ันอุดมศกษาทีดทงในและ ่ ี ั้ ึ ต่างประเทศ โดยเปิ ดโอกาสให้สถาบ ันอุดมศกษาสามารถจ ัดหล ักสูตร ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายโดยมนใจถึง ่ั ่ึ คุณภาพของบ ัณฑิตซงจะมีมาตรฐานผลการเรียนรูตามทีมงหว ัง ้ ่ ุ่ ี สามารถประกอบอาชพได้อย่างมีความสุขและภาคภูมใจเปนทีพงพอใจ ิ ็ ่ ึ ของนายจ้าง ่ ี ิ 6. สงเสริมการเรียนรูตลอดชวต ้
  • 6. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education มาตรฐานผลการเรียนรู(Domains of Learning) ้ ึ การเรียนรู ้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒระดับอุดมศกษาแห่งชาติกาหนด ิ มาตรฐานผลการเรียนรู ้ทีคาดหวังให ้บัณฑิตมี อย่างน ้อย 5 ด ้าน ดังนี้ ่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู ้ ด้านท ักษะทางปัญญา ั ด้านท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและ ความร ับผิดชอบ ิ ื่ ด้านท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร ้ และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 7. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education มาตรฐานผลการเรียนรู(Domains of Learning) ้ ั (1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การพัฒนานิสยในการประพฤติ ุ ้ ่ อย่างมีคณธรรม จริยธรรม และด ้วยความรับผิดชอบทังในสวนตนและ ่ ี ี ิ สวนรวม ความสามารถในการปรับวิถชวตในความขัดแย ้งทางค่านิยม การ ั ี ่ พัฒนานิสยและการปฏิบตตนตามศลธรรม ทังในเรืองสวนตัวและสงคม ั ิ ้ ่ ั (2) ด้านความรู ้ หมายถึง ความสามารถในการเข ้าใจ การนึกคิด และการ นาเสนอข ้อมูล การวิเคราะห์และจาแนกข ้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนกระบวนการต่างๆ และสามารถเรียนรู ้ด ้วยตนเองได ้ (3) ด้านท ักษะทางปัญญา หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ ้ สถานการณ์และใชความรู ้ ความเข ้าใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และ ิ กระบวนการต่างๆ ในการคิดวิเคราะห์และการแก ้ปั ญหา เมือต ้องเผชญกับ ่ สถานการณ์ใหม่ๆ ทีไม่ได ้คาดคิดมาก่อน ่
  • 8. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education มาตรฐานผลการเรียนรู(Domains of Learning) ้ ั (4) ด้านท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความร ับผิดชอบ หมายถึง ความสามารถในการทางานเป็ นกลุม การแสดงถึงภาวะผู ้นา ่ ั ความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม ความสามารถในการวางแผนและ รับผิดชอบในการเรียนรู ้ของตนเอง (5) ด้านท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร และการใช ้ ิ ื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์เชง ิ ้ ตัวเลข ความสามารถในการใชเทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิต ิ ื่ ้ ความสามารถในการสอสารทังการพูด การเขียน และการใชเทคโนโลยี ้ สารสนเทศ
  • 9. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education มาตรฐานคุณวุฒสาขา/สาขาวิชา ิ มคอ.1 รายงานผลการ กรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ดาเนินการของหล ักสูตร รายละเอียดของ มคอ.7 มคอ.2 หล ักสูตร รายงานผลการ ดาเนินการของ ประสบการณ์ มคอ. รายละเอียดของ มคอ.6 มคอ.3 รายวิชา ภาคสนาม รายงานผลการ รายละเอียดของ มคอ.5 มคอ.4 ดาเนินการของรายวิชา ประสบการณ์ภาคสนาม
  • 10. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education
  • 11. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education องค์ประกอบของ มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (course specification) หมวดที่ 1 ข้อมูลทวไป ่ั หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและว ัตถุประสงค์ ่ หมวดที่ 3 ล ักษณะและการดาเนินการ ึ หมวดที่ 4 การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา ้ หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล หมวดที่ 6 ทร ัพยากรประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ 7 การประเมินและปร ับปรุงการดาเนินการ ของรายวิชา
  • 12. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 1 ข้อมูลทวไป ่ั ื่ 1. รห ัสและชอรายวิชา 2. จานวนหน่วยกิต 3. หล ักสูตรและประเภทของรายวิชา • หล ักสูตร ........................ • หมวดวิชา/กลุมวิชา/วิชา (บ ังค ับ/เลือก)............... ่ 4. อาจารย์ผร ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผสอน ู้ ู้ • ระบุใครเปนผูร ับผิดชอบ/ผูประสานงาน/ผูสอน ็ ้ ้ ้ • ใครสอนกลุมไหน หมูไหน ่ ่
  • 13. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 1 ข้อมูลทวไป ่ั ึ ั้ 5. ภาคการศกษา/ชนปี ทีเรียน ่ ึ • ระบุตามแผนการศกษาของหล ักสูตร ทีเขียนไว้ใน ่ มคอ. 2 หมวดที่ 3 ข้อ 3.1.4 แสดงแผนการศกษาึ 6. รายวิชาทีตองเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี) ่ ้ 7. รายวิชาทีตองเรียนพร้อมก ัน (Co-requisites) ่ ้ 8. สถานทีเรียน ่ • ระบุสถานทีทกแห่ง ทงในและนอกทีตงหล ักของคณะ ่ ุ ั้ ่ ั้ /วิทยาล ัย 9. ว ันทีจ ัดทาหรือปร ับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครงล่าสุด ่ ั้
  • 14. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที 2. จุดมุงหมาย และว ัตถุประสงค์ ่ 1. จุดมุงหมายของรายวิชา (ระบุให้ครอบคลุม TQF 5 ด้าน) ่ ่ ึ • เพือให้น ักศกษามีความรู ้ ความเข้าใจ ในเรืองอะไรบ้าง ่ • มีท ักษะ ความสามารถทีจะทาอะไรได้บาง ่ ้ 2. ว ัตถุประสงค์ในการพ ัฒนา/ปร ับปรุงรายวิชา • มีการเปลียนแปลง มีความจาเปน อะไรทีทาให้ตองมี ่ ็ ่ ้ การพ ัฒนา/ปร ับปรุงรายวิชานี้ • มีการพ ัฒนา/ปร ับปรุงใหม่ในเรืองอะไรบ้าง ่ ่ ึ • หากพ ัฒนา/ปร ับปรุงแล้วจะสงผลต่อน ักศกษาอย่างไร ิ่ ่ • ในการพ ัฒนา/ปร ับปรุง มีสงทีจะทา อะไรบ้าง เพือจะ่ ให้บรรลุว ัตถุประสงค์ในการพ ัฒนา/ปร ับปรุงนี้ 14
  • 15. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 3. ล ักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ลอกตามทีระบุไว้ในหล ักสูตร ่ ่ั ่ ้ ่ ึ 2. จานวนชวโมงทีใชตอภาคการศกษา (คานวณตามหน่วยกิต) การฝึ กปฏิบ ัติ/งาน การศกษา ึ บรรยาย สอนเสริม ภาคสนาม/การฝึ กงาน ด้วยตนเอง ่ ่ั กีชวโมง ไม่ม ี / มี ไม่ม ี / มี ่ ่ั กีชวโมง ตามความต้องการของ ึ น ักศกษาเฉพาะราย 15
  • 16. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 3. ล ักษณะและการดาเนินการ ่ั ั 3. จานวนชวโมงต่อสปดาห์ทอาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนา ี่ ึ ทางวิชาการแก่น ักศกษาเปนรายบุคคล ็ ่ ่ั • กีชวโมงต่อสปดาห์ ั ้ ิ ี ื่ • ใชวธการใดในการติดต่อสอสาร เชน ่ – ประกาศเวลาให้คาปรึกษาทีหน้าห้องทางาน ่ – แจ้งในเว็บไซต์ – โทรน ัดหมายล่วงหน้า – เปนต้น ็ 16
  • 17. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ึ หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา ้ • เขียนผลการเรียนรูในแต่ละด้าน ้ • สอดคล้องก ับ Curriculum Mapping และ ธรรมชาติรายวิชานี้ • สอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 2 ข้อ 1 จุดมุงหมายของรายวิชา ่ 17
  • 18. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ผลการเรียนรู ้ (Learning Outcomes) คืออะไร? ิ่ ่ • ผลการเรียนรู ้ หมายถึง สงทีพ ัฒนาขึน้ ึ ในต ัวน ักศกษา ทงจากการเรียนใน ั้ ห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหล ักสูตร ั ึ ปฏิสมพ ันธ์ก ับน ักศกษาอืน ก ับอาจารย์ ่ ้ ประสบการณ์ทเกิดขึนในชวงเวลาที่ ี่ ่ ึ ศกษาอยูในมหาวิทยาล ัย ่
  • 19. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ผลการเรียนรู ้ (Learning Outcomes) • ผลการเรียนรู ้ ต้องว ัดได้ และครอบคลุมถึง ้ – สาระความรู ้ ความเข้าใจในเนือหาวิชา – ท ักษะหรือความสามารถในการนาความรูไปใช ้ ้ ื่ – พฤติกรรม ท ัศนคติ แนวคิด ความเชอ อุปนิสย ั • สกอ. กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรูอย่างน้อย 5 ้ ด้าน (เอกสารแนบท้ายประกาศ คกอ. เรืองแนวทาง ่ การปฏิบ ัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒ ิ ึ ระด ับอุดมศกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552)
  • 20. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education การเรียนรู ้ 5 ด้าน (5 Domains of Learning) 1. คุณธรรม จริยธรรม (คิดดี ทาดี ร ับผิดชอบการกระทา) 2. ความรู ้ (รู ้ เข้าใจ) 3. ท ักษะทางปัญญา (ความสามารถในการปฏิบ ัติ วิเคราะห์ ั สงเคราะห์ และประเมิน) ั 4. ท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความร ับผิดชอบ ั (มนุษยสมพ ันธ์ ความร ับผิดชอบการทางาน/การ พ ัฒนาตนเอง) 5. ท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร และการใช ้ ิ ื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ (สน ับสนุนการเรียนรูดานอืนๆ ้ ้ ่ และการประกอบอาชพ) ี
  • 21. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการ ประเมินผล 3. แผนทีแสดงการกระจายความร ับผิดชอบ ่ ่ ต่อผลการเรียนรู ้ จากหล ักสูตรสูรายวิชา (Curriculum mapping, Curriculum alignment)
  • 22. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ต ัวอย่าง มคอ. 2 แผนทีแสดงการกระจายความร ับผิดชอบต่อผลการเรียนรูจาก ่ ้ ่ หล ักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping) • ความร ับผิดชอบหล ัก o ความร ับผิดชอบรอง 5. ท ักษะการ 4. ท ักษะ วิเคราะห์เชงิ 1. 3. ท ักษะ ั ความสมพ ันธ์ ต ัวเลข การ รายวิชา คุณธรรม 2. ความรู ้ ทาง ระหว่างบุคคล ื่ สอสาร และ จริยธรรม ปัญญา และความ เทคโนโลยี ร ับผิดชอบ สารสนเทศ 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 22
  • 23. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ึ หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา ้ 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมทีตองพ ัฒนา ่ ้ 1.2 วิธการสอน ี 1.3 วิธการประเมินผล ี 2. ความรู ้ 2.1 ความรูทตองได้ร ับ ้ ี่ ้ 2.2 วิธการสอน ี 2.3 วิธการประเมินผล ี 23
  • 24. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ึ หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา ้ 3. ท ักษะทางปัญญา 3.1 ท ักษะทางปัญญาทีตองพ ัฒนา ่ ้ 3.2 วิธการสอน ี 3.3 วิธการประเมินผล ี ั 4. ท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความร ับผิดชอบ ั 4.1 ท ักษะความสมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและความ ร ับผิดชอบทีตองพ ัฒนา ่ ้ 4.2 วิธการสอน ี 4.3 วิธการประเมินผล ี 24
  • 25. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ึ หมวดที่ 4. การพ ัฒนาผลการเรียนรูของน ักศกษา ้ 5. ท ักษะวิเคราะห์เชงต ัวเลข การสอสาร และการใช ้ ิ ื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ิ ื่ 5.1 ท ักษะการวิเคราะห์เชงต ัวเลขการสอสารและ ้ การใชเทคโนโลยีทตองพ ัฒนา ี่ ้ 5.2 วิธการสอน ี 5.3 วิธการประเมินผล ี 25
  • 26. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education Active Learning in Higher Education 26
  • 27. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education การเปลียนกระบวนท ัศน์ของการจ ัดการเรียนรู ้ ่ กระบวนท ัศน์ของการจ ัดการเรียนรู ้ เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง การสอน (Teaching) การเรียนรู(Learning) ้
  • 28. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education การเปลียนบทบาทของผูสอนและผูเรียน ่ ้ ้ Changes in Teacher Role A shift from: A shift to: Knowledge transmitter, primary source of Learning facilitator, collaborator, coach, information, content expert, and source of all mentor, knowledge navigator, and co-learner answers Teacher controls and directs all aspects of Teacher gives students more options and learning responsibilities for their own learning Changes in Student Role A shift from: A shift to: Passive recipient of information. Active participant in the learning process. Reproducing knowledge. Producing and sharing knowledge, participating at times as expert. Learning as a solitary activity. Learning collaboratively with others
  • 29. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education What is Active learning? Active learning refers to techniques where students do more than simply listen to a lecture. Students are DOING something including discovering, processing, and applying information. Active learning "derives from two basic assumptions: (1) that learning is by nature an active endeavor (2) that different people learn in different ways (Meyers and Jones, 1993).
  • 30. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education Students are involved in more than listening, less emphasis is placed on transmitting information and more on developing students' skills, students are involved in higher-order thinking (analysis, synthesis, evaluation), students are engaged in activities (e.g., reading discussing, writing), and greater emphasis is placed on students' exploration of their own attitudes and values. (Kathleen McKinney, http://www.cat.ilstu.edu/additional/tips/newActive.php
  • 31. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน • เขียนให้สอดคล้องก ับ Curriculum Mapping และธรรมชาติ รายวิชานี้ • และสอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพ ัฒนาผลการเรียนรู ้ ึ ของน ักศกษา กิจกรรมการเรียน ั สปดาห์ ห ัวข้อ/ จานวน ื่ การสอนและสอที่ ผูสอน ้ ที่ รายละเอียด (ชม.) ใช ้ 31
  • 32. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education กิจกรรมที่ 1 วิเคราะห์และเลือกวิธการจ ัดการเรียนรูทสอดคล้องก ับ ี ้ ี่ TQF
  • 33. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ) 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู ้ • ให้สอดคล้องก ับ Curriculum Mapping และธรรมชาติ รายวิชานี้ • และสอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพ ัฒนาผลการเรียนรู ้ ึ ของน ักศกษา ผลการเรียนรู ้ กิจกรรม ั สปดาห์ท ี่ ั ่ สดสวนของการ ทีเกียวข้อง ่ ่ การประเมิน ประเมิน ประเมินผล ระบุผลการเรียนรู ้ ระบุกจกรรมการ ิ จะประเมินด ้วยกิจกรรมนีใน กิจกรรมการประเมินนี้ ้ ข ้อใดบ ้าง ประเมินทีสนองผล ่ ั สปดาห์ทเท่าไรบ ้าง ี่ คิดเป็ นกีเปอร์เซ็นต์ ่ การเรียนรู ้ทีระบุไว ้ ่ หรือ ประเมินตลอดภาค ึ การศกษา ระบุผลการเรียนรู ้ ระบุกจกรรมการ ิ จะประเมินด ้วยกิจกรรมนีใน กิจกรรมการประเมินนี้ ้ ข ้อใดบ ้าง ประเมินทีสนองผล ่ ั สปดาห์ทเท่าไรบ ้าง ี่ คิดเป็ นกีเปอร์เซ็นต์ ่ การเรียนรู ้ทีระบุไว ้ ่ หรือ ประเมินตลอดภาค ึ การศกษา 33
  • 34. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ิ่ ่ ้ สงทีตองการว ัด ความรู ้ ความสามารถ พฤติกรรม ท ักษะ และคุณล ักษณะที่ ทาการว ัดและประเมิน กรอบจุดประสงค์ของ 3 โดเมนของ Bloom’s ึ กระทรวงศกษาธิการ Taxonomy TQF ด้านคุณธรรม จริยธรรม K – Knowledge C – Cognitive (ความรู ้) ิ ั (พุทธิพสย) ด้านความรู ้ ด้านท ักษะทางปัญญา A – Attitude A – Affective (เจตคติ ค่านิยม) ั (จิตพิสย) ั ด้านท ักษะความสมพ ันธ์ ระหว่างบุคคลและความ P – Process/Product P - Psychomotor ร ับผิดชอบ (กระบวนการ/ผลงาน) ั (ทักษะพิสย) ิ ด้านท ักษะการวิเคราะห์เชง ต ัวเลข การสอสาร และการใช ้ ื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 35. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ่ ี ่ ้ เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้ จุดประสงค์ วิธการ ี เครืองมือ ่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม (คิดดี ทาดี ร ับผิดชอบ 1. การประเมินตนเอง/ 1. แบบประเมินตนเอง การกระทา) เพือนประเมิน ่ ด ้านคุณธรรม ั 2. การสงเกต จริยธรรม เจตคติ ั 3. การสมภาษณ์ ั 2. แบบสงเกต 4. การให ้เพือนประเมิน ่ ั 3. แบบสมภาษณ์ (Peer Assessment)
  • 36. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ่ ี ่ ้ เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้ จุดประสงค์ วิธการ ี เครืองมือ ่ ความรู ้ (รู ้ เข้าใจ) 1. การทดสอบ 1. แบบทดสอบชนิดที่ 2. การนาเสนอปากเปล่า ผู ้สอบคิดคาตอบเอง (Oral Presentation) 2. แบบประเมินการ 3. การทารายงานสรุป นาเสนอ การเรียนรู ้ 3. แบบประเมินรายงาน 4. การถามตอบปาก สรุปการเรียนรู ้ เปล่า 4. แบบประเมิน 5. การประเมินตนเอง/ โครงงาน (Project) เพือนประเมิน ่ 5. แบบประเมินตนเอง 6. การทาโครงงาน 6. แบบประเมินโครงงาน
  • 37. Thai Qualifications Framework for Higher Education, TQF:HEd ่ ี ่ ้ เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้ จุดประสงค์ วิธการ ี เครืองมือ ่ ท ักษะทางปัญญา (ความสามารถใน 1. การทดสอบ 1. แบบทดสอบชนิดที่ การปฏิบ ัติ วิเคราะห์ 2. การนาเสนอปากเปล่า ผู ้สอบคิดคาตอบเอง ั สงเคราะห์ การคิด (Oral Presentation) 2. แบบประเมินการ นาเสนอ ขนสูง และประเมิน) 3. การทารายงานสรุป ั้ การเรียนรู ้ 3. แบบประเมินรายงาน 4. การถามตอบปาก สรุปการเรียนรู ้ เปล่า 4. แบบประเมิน 5. การประเมินตนเอง/ โครงงาน (Project) เพือนประเมิน ่ 5. แบบประเมินตนเอง 6. การทาโครงงาน 6. แบบประเมินโครงงาน
  • 38. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ่ ี ่ ้ เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้ จุดประสงค์ วิธการ ี เครืองมือ ่ ั ท ักษะความสมพ ันธ์ ระหว่างบุคคลและ 1. การประเมินตนเอง/ 1. แบบประเมินตนเอง ความร ับผิดชอบ เพือนประเมิน ่ 2. ั แบบสงเกต ั (มนุษยสมพ ันธ์ ั 2. การสงเกต 3. ั แบบสมภาษณ์ ความร ับผิดชอบ ั 3. การสมภาษณ์ 4. แบบประเมินกิจกรรม การทางาน/การ 4. การให ้เพือนประเมิน ่ กลุม การสาธิต ่ (Peer Assessment) บทบาทสมมติ พ ัฒนาตนเอง) 5. กิจกรรมกลุม การ ่ สาธิต บทบาทสมมติ
  • 39. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ่ ี ่ ้ เครืองมือและเทคนิควิธการทีใชในการว ัดและประเมินผลการเรียนรู ้ จุดประสงค์ วิธการ ี เครืองมือ ่ ท ักษะการ 1. การประเมินตนเอง/ 1. แบบประเมินตนเอง วิเคราะห์เชงิ เพือนประเมิน ่ 2. ั แบบสงเกต ต ัวเลข การ ั 2. การสงเกต 3. แบบทดสอบ ื่ สอสาร และการ 3. การทดสอบ 4. แบบประเมินแฟ้ ม ้ ใชเทคโนโลยี 4. การสอบปฏิบต ิ ั สะสมงาน สารสนเทศ 5. แฟ้ มสะสมงาน
  • 40. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 6. ทร ัพยากรประกอบการเรียนการสอน • ให้สอดคล้องก ับ มคอ. 3 หมวดที่ 5 ข้อ 1 แผนการสอน ด้วย 1. ตาราและเอกสารหล ัก • เขียนแบบบรรณานุกรม 2. เอกสารและข้อมูลสาค ัญ • ระบุมอะไรบ้าง เชน ี ่ ื – หน ังสอ วารสาร รายงาน – สออิเล็กทรอนิกส ์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ื่ – กฎระเบียบต่าง ๆ ึ – แหล่งศกษาค้นคว้าเพิมเติม ่ 40
  • 41. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 6 ทร ัพยากรประกอบการเรียนการสอน 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา ่ • ระบุมอะไรบ้าง เชน ี ื – หน ังสอ วารสาร รายงาน – สออิเล็กทรอนิกส ์ เว็บไซต์ ื่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ – กฎระเบียบต่าง ๆ ึ – แหล่งศกษาค้นคว้าเพิมเติม ่ 41
  • 42. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง การดาเนินการของรายวิชา นาข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 8 ข้อ 1. การประเมิน ิ ประสทธิผลของการสอน มาดูประกอบ ิ 1. กลยุทธ์การประเมินประสทธิผลของรายวิชาโดยน ักศกษา ึ • จะมีวธการอย่างไร เชน ิ ี ่ ึ – การสนทนากลุมระหว่างอาจารย์ก ับน ักศกษา ่ – การสะท้อนคิด (reflective journal) ของน ักศกษา ึ – แบบประเมินอาจารย์ และแบบประเมินรายวิชา ั – การสงเกตพฤติกรรมของน ักศกษา ึ – ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ทีอาจารย์จ ัดทา ไว้สอสาร ่ ื่ ึ ก ับน ักศกษา 42
  • 43. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง การดาเนินการของรายวิชา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ่ • จะมีวธการอย่างไร เชน ิ ี ั – การสงเกตการสอนของผูรวมทีมการสอน ้ ่ – ผลการสอบ/การเรียนรู ้ – การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู ้ – การประเมินโดยคณะกรรมการ ประเมินข้อสอบและ วิธการประเมิน ี 43
  • 44. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง การดาเนินการของรายวิชา 3. การปร ับปรุงการสอน • จะมีวธการอย่างไร เชน ิ ี ่ ั – สมมนา ประชุมปฏิบ ัติการการจ ัดการเรียนการสอน ั้ – การวิจ ัยในชนเรียน – การวิจ ัยอืน ๆ ่ ั ึ 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสมฤทธิของน ักศกษาในรายวิชา ์ • นาข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 5 ข้อ 2.1 การทวนสอบ ึ ึ ระด ับรายวิชา ขณะน ักศกษาย ังไม่สาเร็จการศกษา มาดู ประกอบ 44
  • 45. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง การดาเนินการของรายวิชา • จะทาอย่างไร เชน ่ – มีคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมิน ึ การเรียนรูของน ักศกษา (คะแนน/เกรด) โดยตรวจสอบ ้ ข้อสอบ รายงาน โครงการวิธการให้คะแนนสอบ และการให้ ี คะแนนพฤติกรรมของน ักศกษาึ ่ – การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุมตรวจผลงาน ของน ักศกษาโดยอาจารย์อน หรือผูทรงคุณวุฒ ิ ทีไม่ใช่ ึ ื่ ้ ่ อาจารย์ประจาหล ักสูตร และต้องมีความรูในวิชานี้ ้
  • 46. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมวดที่ 7 การประเมิน และปร ับปรุง การดาเนินการของรายวิชา 5. การดาเนินการทบทวน และการวางแผนปร ับปรุง ิ ประสทธิผลของรายวิชา • จะนาข้อมูลจากข้อ 1 – 4 มาวางแผนดาเนินการอย่างไร เชน่ ั – ปร ับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการสมมนาการจ ัดการ เรียน การสอน – ปร ับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี ตามข้อเสนอแนะและผลจาก ั การทวนสอบมาตรฐานผลสมฤทธิ์ ในข้อ 4 – เปลียนหรือสล ับอาจารย์ผสอน ่ ู้ 46
  • 47. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education
  • 48. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมายถึง รายงานผลการจ ัดการเรียนการสอน ่ ิ้ ของอาจารย์ผสอนแต่ละรายวิชาเมือสนภาคเรียน ู้ ในรายงานจะเกียวก ับภาพรวมของการจ ัดการ ่ เรียนการสอนในวิชานนๆ ว่าได้ดาเนินการสอนเปนไป ั้ ็ ตามแผนทีวางไว้หรือไม่ ่ มีปญหาหรือข้อข ัดข้องใดทีทาให้มได้สอนตาม ั ่ ิ แผน พร้อมก ับข้อเสนอแนะสาหร ับการแก้ไขในการ ดาเนินการสอนครงต่อไป ั้ ในรายงานจะครอบคลุมถึงผลการเรียนของ ึ ึ น ักศกษา จานวนน ักศกษา การประเมินรายวิชาโดย น ักศกษา รวมทงการสารวจความคิดเห็ นของผูใช ้ ึ ั้ ้ บ ัณฑิต
  • 49. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ความเชื่อมโยง มคอ. ๕ จะเชื่อมโยงกับ มคอ. ๓ ในประเด็น…  ผลการเรียนรู้  วิธีสอน  วิธีการประเมิน  แผนการสอน  ประสิทธิภาพของกลยุทธ์การเรียน การ สอนที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้  การประเมิน  โดยนักศึกษา  โดยวิธีอื่น  ผลกระทบจากทรัพยากรการบริหาร
  • 50. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education รายงานผลรายวิชาเป็นรายงานที่ต้องทาหลังจากเสร็จสิ้นการ ประเมินการสอนแต่ละรายวิชาแล้ว โดยต้องนาข้อมูลจาก 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา มาใช้เป็นหลักในการจัดทา รายงาน 2.ใช้ข้อมูลจากการประเมินผลการเรียนรู้ตลอดภาค การศึกษาได้ปฏิบัติจริง รวมทั้งการประเมินกิจกรรม ต่างๆ ที่ได้จัดในระหว่างภาคการศึกษามาประกอบ
  • 51. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education 3. ข้อมูลจากการประเมินผลการสอน/อาจารย์ โดย นักศึกษา 4. ผลการทวนสอบจากคณาจารย์อื่นภายในสาขาวิชา 5. ผลการประเมินหรือความเห็นจากผู้เกี่ยวข้องอื่นที่อาจ เป็นบุคคลภายนอก
  • 52. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับ แผนการสอน หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
  • 53. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education
  • 54. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education หมายถึง การรายงานผลประจาปีโดยผู้ประสานงานหลักสูตรหรือผู้รับผิดชอบ หลักสูตรเกี่ยวกับผลการบริหารจัดการหลักสูตร เช่น •ข้อมูลทางสถิติของนักศึกษาที่เรียนในหลักสูตร •สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถาบันที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร •สรุปภาพรวมของรายงานผลของรายวิชาในหลักสูตร •ประสิทธิภาพของการสอนในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน •การเทียบเคียงผลการดาเนินการกับมาตรฐานอื่นๆที่มี •สรุปผลการประเมินหลักสูตรจากความเห็นของผู้สาเร็จการศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต •ข้อเสนอในการวางแผนและพัฒนา รวมทั้งแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณาจารย์และ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  • 55. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education การรายงานผลดังกล่าวจะส่งไปยังสาขาวิชา/ฝ่ายวิชาการ/ คณบดี และใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาด้วยตนเองเพื่อปรับปรุงและ พัฒนาหลักสูตรเป็นระยะๆ และเป็นข้อมูลในการรับรองหลักสูตรจาก ผู้ประเมินภายนอกได้ด้วย
  • 56. TQF: Thai Qualifications Framework for Higher Education ความเชื่อมโยง