SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
ครู ศพด. ร่วมใจ
ช่วยเด็กไทยให้กินขนมดี
ทพญ. ฤชุตา สงวนบุญ
ฝ่ายทันตกรรม
รพร.กุฉินารายณ์
ขนม
ขนม
อาหารว่างจาเป็นต่อสุขภาพเด็ก
เด็กต้องการพลังงานและสารอาหารสูงเพื่อการเจริญเติบโต
แต่ร่างกายและอวัยวะขนาดเล็ก
ไม่สามารถกินอาหารมื้อหลักในปริมาณที่เพียงพอกับพลังงานที่ต้องการ
การกินอาหารว่างทาให้เด็กได้พลังงานเพิ่มขึ้น
ช่วยเสริมการเรียนรู้ : กินอาหารหลากหลาย
เสริมสร้างความสุขในชีวิตประจาวัน
ขนม
ขนม
อาหารว่างจาเป็นต่อสุขภาพเด็ก
หากกินขนมมาก และ กินอาหารหลัก 3 มื้อมากด้วย
โรคอ้วน
ขาดสารอาหาร การเจริญเติบโตล่าช้า
หากกินขนมมาก แต่ กินอาหารหลัก 3 มื้อน้อย
น้าอัดลม ขนมเด็ก ไม่ใช่เรื่องเล็กอีกต่อไป
พฤติกรรมการกิน
ขนม เครื่องดื่มรสหวาน
การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง
โรคอ้วน เบาหวาน ในเด็ก
การกินรสหวานตั้งแต่อายุน้อย เกิดความเคยชินติดจนโต
แนวโน้มเป็นโรคอ้วน เบาหวาน เสี่ยงภาวะไตวายได้
น้าอัดลม ขนมเด็ก ไม่ใช่เรื่องเล็กอีกต่อไป
เด็กเล็กอ้วน 30% ผู้ใหญ่อ้วน
เด็กวัยรุ่นอ้วน 80 % ผู้ใหญ่อ้วน
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจหลอดเลือด อายุสั้น
5 ปีที่ผ่านมา เด็กไทยและวัยรุ่นไทยป่วยเป็นเบาหวานมากขึ้น 9 เท่า
น้าอัดลม ขนมเด็ก ไม่ใช่เรื่องเล็กอีกต่อไป
รร. จัดผลไม้ให้เด็กใน 1 สัปดาห์
รร. ที่ไม่ได้จัดผลไม้ให้เด็กใน 1 สัปดาห์
เด็กอ้วนน้อยกว่า 30%
รร. ที่มีการขายน้าอัดลม/ น้าหวาน
รร. ที่ไม่มีการขายน้าอัดลม/ น้าหวาน
เด็กอ้วนมากกว่า 2 เท่า
อาหารว่าง
อาหารว่างและขนมเด็ก ไม่ควรกินเกินวันละ 2 มื้อ
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย และ สถาบันโภชนาการ
แต่ละมื้อให้พลังงานไม่เกินร้อยละ 10 ของพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน
เด็กเล็ก 2-5 ปี มื้อละไม่เกิน 100-130 กิโลแคลอรี
เด็กวัยเรียน 6-12 ปี มื้อละไม่เกิน 150 กิโลแคลอรี
เด็กวัยรุ่น 13-15 ปี มื้อละไม่เกิน 200 กิโลแคลอรี
อาหารว่างที่ดี
ควบคุมปริมาณน้ามัน น้าตาล เกลือ ไม่ให้สูงเกินไป
มีสารอาหารที่จาเป็นต่อร่างกาย เช่น โปรตีน เหล็ก แคลเซียม วิตามิน ใยอาหาร
อาหารว่างที่ดีที่สุด คือ ผลไม้ และ นมสดรสจืด
นมปรุงแต่งอื่นๆมีน้าตาลสูง ไม่แนะนาดื่ม
อาหารว่างที่มีคุณค่า ประกอบด้วยกลุ่มอาหารตามธงโภชนาการ 2-3 กลุ่มขึ้นไป
อาหารว่างทางเลือก ได้แก่ อาหารว่างแบบไทย เช่น ขนมถั่วแปป ข้าวต้มมัด
ขนมที่ควรหลีกเลี่ยง
• ให้พลังงาน รับประทานมากไป ทาให้อ้วนและฟันผุ
แป้ ง น้าตาล ไขมัน
• ไตทางานหนัก
• เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง
เกลือ
• ความดันโลหิตสูง
• ผลข้างเคียงของผงชูรส เช่น ชาที่ปาก ลิ้น ร้อนวูบวาบ ผื่นแดง
แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
ผงชูรส
ขนมกรุบกรอบ / บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป
ขนมที่ควรหลีกเลี่ยง
ขนมที่ใส่สีฉูดฉาด
ถ้าไม่ใช่สีผสมอาหาร มีโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว
เป็นพิษต่อระบบประสาทและไต
ลูกอม / อมยิ้ม
น้าตาล ฟันผุ
ขนมที่ควรหลีกเลี่ยง
ขนมทุกชนิดที่ผสมกาแฟ
มีคาเฟอีน กระตุ้นหัวใจ ทาให้ใจสั่น นอนไม่หลับ
เช่น ลูกอมรสกาแฟ ลูกอมสอดไส้ชอคโกแลต
คุ้กกี้ เวเฟอร์ เค้ก ไอศกรีมรสกาแฟ
เจลลี่
สาลัก ติดคอ เสียชีวิต
ไม่แนะนาในเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี
ขนมที่ควรหลีกเลี่ยง
น้าอัดลม • กัดกร่อนกระดูกและฟัน : ฟันผุ กระดูกพรุน
• กรดกัดกระเพาะ : ท้องอืด ปวดท้อง
กรดคาร์บอนิก
• โรคอ้วน ฟันผุ
น้าตาล
• กระตุ้นประสาท : ตื่นตัว นอนไม่หลับ
คาเฟอีน
• สารก่อมะเร็ง
แต่งสี กลิ่น รส
• เป็นกรด ระคายเคืองทางเดินอาหาร
วัตถุกันเสีย
วันละไม่เกิน 4 ช้อนชา (16 กรัม)
ปริมาณน้าตาลที่เหมาะสมในเด็ก
ผลสารวจน้าตาลในเครื่องดื่มยอดนิยม
ผลสารวจน้าตาลในเครื่องดื่มยอดนิยม
ผลสารวจน้าตาลในเครื่องดื่มยอดนิยม
ผลสารวจน้าตาลในเครื่องดื่มยอดนิยม
ผลสารวจน้าตาลในเครื่องดื่มยอดนิยม
1. ดูพลังงานต่อหน่วยบริโภค
เด็กเล็ก 2-5 ปี
มื้อละไม่เกิน 100-130 กิโลแคลอรี
2. ดูปริมาณไขมันและไขมันอิ่มตัว
หลีกเลี่ยง !!!
หากไขมันอิ่มตัวเกิน 20 กรัม/วัน
3. ดูปริมาณน้าตาล
ในเด็กไม่เกิน
16 กรัม/วัน (4 ช้อนชา)
4. ดูปริมาณโซเดียม
ไม่เกิน 2400 มิลลิกรัม/วัน
แนะนาอย่างไร ให้เด็กเลือกขนมที่มีประโยชน์
3 ป.
ปลอดภัย
1
ประโยชน์
2
ประหยัด
3
แนะนาอย่างไร ให้เด็กเลือกขนมที่มีประโยชน์
3 ป.
ปลอดภัย
1
กินแล้วไม่มีโทษต่อร่างกาย
สะอาด ไม่มีสีฉูดฉาด
บรรจุภัณฑ์มิดชิด
ดูฉลากอาหาร / อย./ วันผลิต-หมดอายุ
แนะนาอย่างไร ให้เด็กเลือกขนมที่มีประโยชน์
3 ป.
ประโยชน์
2
เปรียบเทียบคุณค่าของขนม
แนะนาอย่างไร ให้เด็กเลือกขนมที่มีประโยชน์
3 ป.
ประหยัด
3
คิดก่อนซื้อ
คุ้มค่าเงิน
เปรียบเทียบราคา
ฝึกวินัยให้เด็กรับประทานเป็นเวลา ไม่จุบจิบ พร่าเพรื่อ
ควรแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร
สีเหลืองบนฟันทั้ง 4 ซี่ คืออะไร ?
ขนมกรุบกรอบจาพวกมันฝรั่งทอด ทาให้ฟันผุได้ แม้ไม่มีน้าตาล
การบ้วนปากหลังการกินขนมไม่เพียงพอ แนะนาแปรงฟันหลังกินขนม
ดูแลฟันเด็กๆหลังทานขนม
กลุ่มที่ไม่แนะนาให้ทาน
1
กลุ่มที่ทานได้แบบมีเงื่อนไข
2
กลุ่มที่ทานได้
3
ดูแลฟันเด็กๆหลังทานขนม
กลุ่มที่ไม่แนะนาให้ทาน
1
ไม่แนะนาให้ทาน ไม่ว่าอายุเท่าใด หากไม่อยากมีฟันผุ
ได้แก่ ขนมลูกอมเหนียวๆ อมยิ้มที่อมค้างนานๆ
เนื่องจากติดค้างอยู่ได้นาน น้าตาลละลายเข้าตามทุกซอกฟัน
ตรวจสอบได้ยาก ว่ากาจัดออกหมดหรือไม่
ดูแลฟันเด็กๆหลังทานขนม
กลุ่มที่ทานได้แบบมีเงื่อนไข
2
ได้แก่ ชอคโกแลต เวเฟอร์ คุ้กกี้ขนมปัง ซีเรียล เป็นต้น
ขนมกลุ่มที่มักติดอยู่ที่ด้านบดเคี้ยวของฟัน มองเห็นได้ไม่ยาก
เงื่อนไขการทาน : ไม่ทานนานเกินไป ไม่ทานบ่อย
ทานร่วมกับอาหารมื้อหลัก หลังทานให้ดื่มน้าตามแล้วตรวจดูในปาก
หากขนมไม่หลุด ใช้แปรงสีฟันจุ่มน้าปัดออกให้หมด
หมายเหตุ : เด็กเล็กๆที่ยังไม่ยอมให้แปรงฟันดีๆ ขนมกลุ่มนี้ก็ยังไม่ควรทาน
ดูแลฟันเด็กๆหลังทานขนม
กลุ่มที่ทานได้ (โดยไม่ต้องใช้แปรงเขี่ย)
3
กลุ่มที่หวานแต่ไม่ติดฟัน
3.1
กลุ่มที่ไม่หวาน ไม่ใช่แป้ งและน้าตาล
3.2
ดูแลฟันเด็กๆหลังทานขนม
ได้แก่ ไอศกรีม เยลลี่นิ่มๆ ทองหยิบ ทองหยอด
หลังทานบ้วนน้าแรงๆ ขนมมักหลุดออกจากฟันหมด
ได้แก่ สาหร่าย ถั่ว(ที่ไม่ได้เคลือบด้วยแป้ ง) ปลาเส้น ชีส
แม้ขนมกลุ่มนี้จะไม่ก่อฟันผุ แต่ควรระวังเรื่องโซเดียมในขนม
กลุ่มที่หวานแต่ไม่ติดฟัน
3.1
กลุ่มที่ไม่หวาน ไม่ใช่แป้ งและน้าตาล
3.2
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
Suparnisa Aommie
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
sivakorn35
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
sumethinee
 
งานนำเสนอ1หนังสือ
งานนำเสนอ1หนังสืองานนำเสนอ1หนังสือ
งานนำเสนอ1หนังสือ
poohjaja
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
Surapee Sookpong
 

What's hot (16)

ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1โครงงานสุขภาพ1
โครงงานสุขภาพ1
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Up and-down
Up and-downUp and-down
Up and-down
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผักสถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
สถานการณ์ปัญหา เรื่อง ผัก
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนอาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
 
งานนำเสนอ1หนังสือ
งานนำเสนอ1หนังสืองานนำเสนอ1หนังสือ
งานนำเสนอ1หนังสือ
 
Breakfast
BreakfastBreakfast
Breakfast
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 

Viewers also liked

งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
Pui Chanisa Itkeat
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
chitchanupong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
tangmottmm
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
rainacid
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka
 
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
imdnmu
 

Viewers also liked (13)

บรูเนอร์
บรูเนอร์บรูเนอร์
บรูเนอร์
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Social network
Social networkSocial network
Social network
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
The Need for and Direction of Reliefs and Reforms for Thailand Wireless industry
The Need for and Direction of Reliefs and Reforms for Thailand Wireless industryThe Need for and Direction of Reliefs and Reforms for Thailand Wireless industry
The Need for and Direction of Reliefs and Reforms for Thailand Wireless industry
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์Ppt. นายเจริญรัตน์  ชูติกาญจน์
Ppt. นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์
 
eCommerce StartUP
eCommerce StartUPeCommerce StartUP
eCommerce StartUP
 

Similar to อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด

ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
luckana9
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
aousarach
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
Intaruechai Intaruechai
 

Similar to อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด (20)

ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
Breakfast2
Breakfast2Breakfast2
Breakfast2
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 
การสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหาการสร้างสถานการปัญหา
การสร้างสถานการปัญหา
 

อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด

Editor's Notes

  1. กินอาหารได้ครั้งละไม่มาก
  2. ถึงมีประโยช แต่ไม่สมดุล
  3. อาหารบางชนิดไม่มีข้อมูลโภชนาการบอกเป็นค่า % เช่น น้ำผลไม้หรือเครื่องดื่มอื่นๆ ถ้าระบุว่ามีน้ำตาล 10% หมายความว่า 100 มิลลิลิตร มีน้ำตาล 10 กรัม เมื่อดื่มเครื่องดื่ม 1 แก้ว (200 มล.) จะมีน้ำตาล 20 กรัม หรือเท่ากับ 5 ช้อนชา แค่นี้ก็สามารถคำนวณน้ำตาลในแต่ละวันที่เราจะรับประทานได้แล้ว การบริโภคน้ำตาลมากที่ซ่อนอยู่ในเครื่องดื่ม ขนมหวาน หรือจากน้ำตาลโดยตรง เป็นต้นเหตุของฟันผุ เนื่องจากน้ำตาลถูกเปลี่ยนเป็นกรด โดยแบคทีเรียในปาก ทำให้เกิดการกัดกร่อนของเคลือบฟัน และที่สำคัญ การบริโภคน้ำตาลปริมาณสูงเป็นประจำ นำไปสู่การเพิ่มของน้ำหนักตัวและอ้วนในที่สุด เนื่องจากเป็นพลังงานส่วนเกินที่เก็บสะสมไว้ได้ในร่างกายในรูปของไขมัน ภาวะอ้วนเป็นการเริ่มต้น ของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ตามมา ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น
  4. และอาจส่งผลให้คอเลสเตอรอลสูง เป็นตัวการพาโรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคร้ายต่าง ๆ มาให้เราด้วย
  5. อาจเป็นสาเหตุของโรคอ้วน เบาหวาน
  6. เพื่อเลี่ยงโรคไต และโรคความดันโลหิตสูง