SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
สาระที่ 1
จำานวนและการ
ดำาเนินการ
คณิตศ
าสตร์
ชั้น
ม.4-
ม.6
มฐ. ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง
มฐ. ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ปัญหา
มฐ. ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับจำานวนไปใช้
มฐ. ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
มฐ. ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
สาระที่ 2
การวัด
สาระที่ 4
พีชคณิต
สาระที่ 5 การ
วิเคราะห์ข้อมูล
และความน่าจะ
เป็น
สาระที่ 6 ทักษะ
และกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์
มฐ. ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการของจำานวนและความสัมพันธ์
ระหว่าง การดำาเนินการต่างๆ และใช้การดำาเนินการในการแก้ปัญหา
มฐ. ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน
มฐ. ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์
(mathematical model) อื่นๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำา
ไปใช้แก้ปัญหา
มฐ. ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
มฐ. ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้
อย่างสมเหตุสมผล
มฐ. ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มฐ. ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์ ม.4-ม.6
สาระที่ 1 : จำานวนและการดำาเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 :
เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำานวนและการใช้
จำานวนในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด :
1. แสดงความสัมพันธ์ของจำานวนต่าง ๆ ในระบบ
จำานวนจริง
2. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์ของจำานวนจริง
3. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำานวนจริงที่อยู่ในรูปเลข
ยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนตรรกยะและจำานวนจริงที่
อยู่ในรูปกรณฑ์
มาตรฐาน ค 1.2 :
เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการของจำานวนและความ
สัมพันธ์ระหว่าง การดำาเนินการต่างๆ และใช้การดำาเนินการในการ
แก้ปัญหา
ตัวชี้วัด :
1. เข้าใจความหมายและหาผลลัพธ์ที่เกิดจากการบวก การ
ลบ การคูณ การหาร จำานวนจริง จำานวนจริงที่อยู่ในรูป
เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนตรรกยะ และ
จำานวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์
มาตรฐาน ค 1.3 :
ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด :
1. หาค่าประมาณของจำานวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์ และ
จำานวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำาลังโดยใช้วิธีการคำานวณที่
เหมาะสม
มาตรฐาน ค 1.4 :
เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับจำานวนไปใช้
ตัวชี้วัด :
1. เข้าใจสมบัติของจำานวนจริงเกี่ยวกับการบวก การคูณ
การเท่ากัน การไม่เท่ากัน และนำาไปใช้ได้
สาระที่ 2 : การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 :
เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่
ต้องการวัด
ตัวชี้วัด :
1. ใช้ความรู้เรื่องอัตราส่วน ตรีโกณมิติของมุมในการคาด
คะเน ระยะทางและความสูง
มาตรฐาน ค 2.2 :
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
ตัวชี้วัด :
1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระยะทางและความสูงโดยใช้
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
สาระที่ 3 : เรขาคณิต ( ไม่มีตัวชี้วัด )
มาตรฐาน ค 3.1 :
อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 3.2 :
ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ
(spatial reasoning) และใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต
(geometric model) ในการแก้ปัญหา
สาระที่ 4 : พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1 :
เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และ
ฟังก์ชัน
ตัวชี้วัด :
1. มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดำาเนินการของ
เซต
2. เข้าใจและสามารถใช้ การให้เหตุผลแบบอุปนัยและ
นิรนัย
3. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เขียน แสดงความสัมพันธ์และฟังก์ชันในรูปต่าง ๆ
เช่น ตาราง กราฟ และสมการ
4. เข้าใจความหมายของลำาดับและหาพจน์ทั่วไปของ
ลำาดับจำากัด
5. เข้าใจความหมายของลำาดับเลขคณิต และลำาดับ
เรขาคณิตหาพจน์ต่างๆของลำาดับเลขคณิตและลำาดับ
เรขาคณิต และนำาไปใช้
มาตรฐาน ค 4.2 :
ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิง
คณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง
ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำาไปใช้แก้ปัญหา
ตัวชี้วัด :
1. เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซตและนำาไปใช้
แก้ปัญหา
2. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล โดย
ใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
3. แก้สมการ และอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสอง
4. สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์หรือ
ปัญหา และนำาไปใช้ในการแก้ปัญหา
5. ใช้กราฟของสมการ อสมการฟังก์ชัน ในการแก้
ปัญหา
6. เข้าใจความหมายของผลบวก n พจน์แรกของอนุกรม
เลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก n พจน์แรก
ของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต โดยใช้สูตร
และนำาไปใช้
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 5.1 :
เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตัวชี้วัด :
1. เข้าใจวิธีการสำารวจความคิดเห็นอย่างง่าย
2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่วนเบี่ยง
เบนมาตรฐาน และเปอร์เซ็นไทล์ของข้อมูล
3. เลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลและวัตถุประสงค์
มาตรฐาน ค 5.2 :
ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการ
คาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
ตัวชี้วัด :
1. นำาผลที่ได้จากการสำารวจความคิดเห็นไปใช้คาดการณ์
ในสถานการณ์ที่กำาหนดให้
2. อธิบายการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของ
เหตุการณ์ และนำาผลที่ได้ไปใช้คาดการณ์ ในสถานการณ์
ที่กำาหนดให้
มาตรฐาน ค 5.3 :
ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจ
และแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด :
1. ใช้ข้อมูลข่าวสาร และค่าสถิติ ช่วยในการตัดสินใจ
2. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็น ช่วยในการตัดสินใจ
และแก้ปัญหา
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 :
มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยง
ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น
ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด :
1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้
อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำาเสนอได้อย่างถูกต้องและ
ชัดเจน
5. เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำาความรู้
หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ
ศาสตร์อื่นๆ
6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจ
และแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด :
1. ใช้ข้อมูลข่าวสาร และค่าสถิติ ช่วยในการตัดสินใจ
2. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็น ช่วยในการตัดสินใจ
และแก้ปัญหา
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 :
มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยง
ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น
ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด :
1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้
อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำาเสนอได้อย่างถูกต้องและ
ชัดเจน
5. เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำาความรู้
หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ
ศาสตร์อื่นๆ
6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายจุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายAon Narinchoti
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดkanjana2536
 
แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบทToongneung SP
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดkanjana2536
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23Ilhyna
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียนการวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียนทับทิม เจริญตา
 
แผนผังมโนทัศน์4
แผนผังมโนทัศน์4แผนผังมโนทัศน์4
แผนผังมโนทัศน์4kanjana2536
 
แผนผังมโนทัศน์1
แผนผังมโนทัศน์1แผนผังมโนทัศน์1
แผนผังมโนทัศน์1kanjana2536
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 

What's hot (17)

บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5          โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5
 
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายจุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบท
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23
เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23
 
Week3-13
Week3-13Week3-13
Week3-13
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียนการวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดชั้นปี เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายภาคเรียน
 
หน่วย 1 3
หน่วย 1 3หน่วย 1 3
หน่วย 1 3
 
คณิตป.5
คณิตป.5 คณิตป.5
คณิตป.5
 
แผนผังมโนทัศน์4
แผนผังมโนทัศน์4แผนผังมโนทัศน์4
แผนผังมโนทัศน์4
 
แผนผังมโนทัศน์1
แผนผังมโนทัศน์1แผนผังมโนทัศน์1
แผนผังมโนทัศน์1
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 

Viewers also liked

3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์ชนิกานต์ ปั้นแก้ว
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดOranee Seelopa
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

Viewers also liked (7)

3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
3ตารางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ผลการเรียนรู้กับตัวชี้วัดรายสัปดาห์
 
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้และมาตรฐานตัวชี้วัด
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similar to Lead2

หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายAon Narinchoti
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดkanjana2536
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfPuttidaSuttiprapa
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้Aon Narinchoti
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลายสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลายAon Narinchoti
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfssuser639c13
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfssuser639c13
 
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ทับทิม เจริญตา
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางAon Narinchoti
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์พิทักษ์ ทวี
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 

Similar to Lead2 (20)

หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdfแผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลายสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdf
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
 
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
ตัวอย่างข้อสอบตามตัวชี้วัดณิตศาสตร์ ม6
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
111111
111111111111
111111
 
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
 

Lead2

  • 1. สาระที่ 1 จำานวนและการ ดำาเนินการ คณิตศ าสตร์ ชั้น ม.4- ม.6 มฐ. ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำานวนและการใช้จำานวนในชีวิตจริง มฐ. ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ปัญหา มฐ. ค 1.4 เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับจำานวนไปใช้ มฐ. ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด มฐ. ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ 2 การวัด สาระที่ 4 พีชคณิต สาระที่ 5 การ วิเคราะห์ข้อมูล และความน่าจะ เป็น สาระที่ 6 ทักษะ และกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ มฐ. ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการของจำานวนและความสัมพันธ์ ระหว่าง การดำาเนินการต่างๆ และใช้การดำาเนินการในการแก้ปัญหา มฐ. ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน มฐ. ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่นๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำา ไปใช้แก้ปัญหา มฐ. ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล มฐ. ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้ อย่างสมเหตุสมผล มฐ. ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มฐ. ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
  • 2. คณิตศาสตร์ ม.4-ม.6 สาระที่ 1 : จำานวนและการดำาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำานวนและการใช้ จำานวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด : 1. แสดงความสัมพันธ์ของจำานวนต่าง ๆ ในระบบ จำานวนจริง 2. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์ของจำานวนจริง 3. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำานวนจริงที่อยู่ในรูปเลข ยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนตรรกยะและจำานวนจริงที่ อยู่ในรูปกรณฑ์ มาตรฐาน ค 1.2 : เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำาเนินการของจำานวนและความ สัมพันธ์ระหว่าง การดำาเนินการต่างๆ และใช้การดำาเนินการในการ แก้ปัญหา ตัวชี้วัด : 1. เข้าใจความหมายและหาผลลัพธ์ที่เกิดจากการบวก การ ลบ การคูณ การหาร จำานวนจริง จำานวนจริงที่อยู่ในรูป เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนตรรกยะ และ จำานวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์ มาตรฐาน ค 1.3 : ใช้การประมาณค่าในการคำานวณและแก้ปัญหา ตัวชี้วัด : 1. หาค่าประมาณของจำานวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์ และ จำานวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำาลังโดยใช้วิธีการคำานวณที่ เหมาะสม มาตรฐาน ค 1.4 : เข้าใจระบบจำานวนและนำาสมบัติเกี่ยวกับจำานวนไปใช้ ตัวชี้วัด : 1. เข้าใจสมบัติของจำานวนจริงเกี่ยวกับการบวก การคูณ การเท่ากัน การไม่เท่ากัน และนำาไปใช้ได้ สาระที่ 2 : การวัด มาตรฐาน ค 2.1 :
  • 3. เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ ต้องการวัด ตัวชี้วัด : 1. ใช้ความรู้เรื่องอัตราส่วน ตรีโกณมิติของมุมในการคาด คะเน ระยะทางและความสูง มาตรฐาน ค 2.2 : แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด ตัวชี้วัด : 1. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระยะทางและความสูงโดยใช้ อัตราส่วนตรีโกณมิติ สาระที่ 3 : เรขาคณิต ( ไม่มีตัวชี้วัด ) มาตรฐาน ค 3.1 : อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 : ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 : พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.1 : เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และ ฟังก์ชัน ตัวชี้วัด : 1. มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดำาเนินการของ เซต 2. เข้าใจและสามารถใช้ การให้เหตุผลแบบอุปนัยและ นิรนัย 3. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เขียน แสดงความสัมพันธ์และฟังก์ชันในรูปต่าง ๆ เช่น ตาราง กราฟ และสมการ 4. เข้าใจความหมายของลำาดับและหาพจน์ทั่วไปของ ลำาดับจำากัด 5. เข้าใจความหมายของลำาดับเลขคณิต และลำาดับ เรขาคณิตหาพจน์ต่างๆของลำาดับเลขคณิตและลำาดับ เรขาคณิต และนำาไปใช้
  • 4. มาตรฐาน ค 4.2 : ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิง คณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำาไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัด : 1. เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซตและนำาไปใช้ แก้ปัญหา 2. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล โดย ใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ 3. แก้สมการ และอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสอง 4. สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ชันจากสถานการณ์หรือ ปัญหา และนำาไปใช้ในการแก้ปัญหา 5. ใช้กราฟของสมการ อสมการฟังก์ชัน ในการแก้ ปัญหา 6. เข้าใจความหมายของผลบวก n พจน์แรกของอนุกรม เลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก n พจน์แรก ของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต โดยใช้สูตร และนำาไปใช้ สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 : เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวชี้วัด : 1. เข้าใจวิธีการสำารวจความคิดเห็นอย่างง่าย 2. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน และเปอร์เซ็นไทล์ของข้อมูล 3. เลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลและวัตถุประสงค์ มาตรฐาน ค 5.2 : ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการ คาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล ตัวชี้วัด : 1. นำาผลที่ได้จากการสำารวจความคิดเห็นไปใช้คาดการณ์ ในสถานการณ์ที่กำาหนดให้ 2. อธิบายการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของ เหตุการณ์ และนำาผลที่ได้ไปใช้คาดการณ์ ในสถานการณ์ ที่กำาหนดให้ มาตรฐาน ค 5.3 :
  • 5. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจ และแก้ปัญหา ตัวชี้วัด : 1. ใช้ข้อมูลข่าวสาร และค่าสถิติ ช่วยในการตัดสินใจ 2. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็น ช่วยในการตัดสินใจ และแก้ปัญหา สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด : 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา 2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม 3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม 4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอได้อย่างถูกต้องและ ชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ ศาสตร์อื่นๆ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
  • 6. ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นช่วยในการตัดสินใจ และแก้ปัญหา ตัวชี้วัด : 1. ใช้ข้อมูลข่าวสาร และค่าสถิติ ช่วยในการตัดสินใจ 2. ใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็น ช่วยในการตัดสินใจ และแก้ปัญหา สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตัวชี้วัด : 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา 2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม 3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม 4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำาเสนอได้อย่างถูกต้องและ ชัดเจน 5. เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ ศาสตร์อื่นๆ 6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์