SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
Unit 7
การวิเคราะห และออกแบบระบบ
สารบัญ :.+ํ
ความหมายของระบบ (System) 1
การวิเคราะหและออกแบบระบบ 2
หนาที่ของนักวิเคราะหและออกแบบระบบ 3
คุณสมบัติของนักวิเคราะหระบบ 4
วงจรการพัฒนาระบบคืออะไร 5
ความหมายของระบบ(System)
ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดใหความหมายเอาไววา
ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่งตางๆ ซึ่งมีลักษณะซับซอน ใหเขา ลำดับ
ประสานเปนอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวิชาการ หรือหมายถึง ปรากฏการณ
ทางธรรมชาติซึ่งมีความสัมพันธ ประสานเขากัน โดยกำหนดรวม เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
PAGE 1
สรุป
ระบบ คือ กระบวนการตางๆ ที่อยูในเครือขายเดียวกัน และมีความ
สัมพันธกัน ระหวางกระบวนการเหลานั้น และเชื่อมตอกันเพื่อทำงานใดงานหนึ่ง
ใหบรรลุถึงเปาหมาย ที่วางไว เพื่อใหเขาใจในความหมายของคำวาระบบนั้นจะตอง
ทำการวิเคราะห และจำเปนตองเขาใจลักษณะของระบบกอน
ตัวอยางระบบ
ระบบธุรกิจ (Business System)
เปนระบบที่ทำงานเพื่อจุดประสงคดานธุรกิจ
เชน ระบบโรงแรม ระบบการพิมพ ระบบธนาคาร
ระบบสารสนเทศ (Management Information System)
เปนระบบชวยจัดการขอมูลที่ตองการใชในระบบธุรกิจ
เชน ระบบการเก็บเงินลูกคา
1. การวิเคราะหระบบงาน
คำวา หมายความหมายวา การพินิจพิเคราะห การพิจารณา การใครครวญ การไตสวน
ความหรือเรื่องราว ซึ่งคำวาวิเคราะหนี้สามารถนำไปใชกับวิชาการ ไดมากมาย เชน
การวิเคราะหโครงสราง การวิเคราะหเชิงคุณภาพ การวิเคราะห เชิงปริมาณ
การวิเคราะหปญหา เปนตน
คำวา “วิเคราะห” ที่ใชกับการวิเคราะหระบบนั้น ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Analysis”
ซึ่งแปลวา การแยกสิ่งที่ประกอบกันออกเปนสวน ๆ เชน การแยก ระบบใหญออกเปนสวน
ยอย ๆ คือ เปนการแยกปญหาออกเปนสวน ๆ เพื่อ สะดวกในการพิจารณาหรือตัดสินใจ
จามความหมายของคำวาวิเคราะหดังกลาวนี้ มีวิธีการใหญ ๆ อยูดวยกัน 2 วิธี คือ
PAGE 2
ความหมายของการวิเคราะหและออกแบบระบบ
ความหมายของการวิเคราะหและออกแบบระบบสามารถแบงการใหความหมาย
ออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ
1. การวิเคราะหระบบงาน 2. การออกแบบระบบงาน
การวิเคราะหและออกแบบระบบ
1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination)
เปนวิธีที่คนสวนมากใชกันเปนปกติธรรมดาโดยอาศัยประสบการณและ
สามัญสำนึกของแตละบุคคลเปนหลัก คนที่มีวิจารณญาณสูง ๆ การพิจารณา ใครครวญ
และตัดสินใจ ดวยวิธีการนี้โอกาสที่จะผิดพลาดอยางมีสูง ซึ่งเปนเหตุใหเกิด การสูญเสีย
แกธุรกิจเปนอยางมากเชนเดียวกัน ดังนั้น ถาเปนงานสำคัญ ๆทางธุรกิจแลวไมควรใชวิธีนี้
1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร(Methodology Determination
เปนวิธีการพิจารณาใครครวญและตัดสินใจโดยอาศัยระบบทางวิทยาศาสตร เชน
สถิติ และการคำนวณ เปนตน วิธีนี้เปนวิธีที่ใชหลักวิชาการทาง วิทยาศาสตรแขนงตาง ๆ
เขาชวยผูที่จะทำการวิเคราะหจะตองเปนผูที่มี ความรูในวิชาการแขนงตาง ๆ
ที่จะใชในการวิเคราะหและออกแบบระบบงาน
2. การออกแบบระบบงาน
การออกแบบ หมายถึง การนำเอาความตองการของระบบมาเปน แบบแผน
หรือเรียกวา พิมพเขียวในการสรางระบบสารสนเทศใหใชงาน ไดจริง ความตองการ
ของระบบ เชน สามารถติดตามยอกขายไดเปนระยะ เพื่อใหฝายบริหารสามารถปรับปรุง
การขายไดทันทวงที
PAGE 3
การวิเคราะหและออกแบบระบบ (System Analysis and Design) เปนวิธีการที่ใช
ในการสรางระบบสารสนเทศขึ้นมาใหมในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรือในระบบยอยของ
ธุรกิจ นอกจากการสรางระบบสารสนเทศใหมแลว การวิเคราะหระบบชวยในการแกไข
ระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยูแลวใหดีขึ้นดวยก็ได
ทำไมตองวิเคราะหและออกแบบระบบ?
PAGE 4
นักวิเคราะหระบบหรือที่เราเรียกกันวา SA จะทำหนาที่หาวิธีการแกไขปญหา
ที่แยกแยะเหลานั้น พรอมทั้งใหเหตุผลดวยการวิเคราะหระบบนั้น นักวิเคราะหระบบ
จะตองกำหนดขอบเขตของการวิเคราะห และตอกำหนด จุดมุงหมายหรือเปาหมาย
ในการวิเคราะหนั้นดวย นอกจากนี้ยังตองทำ ความเขาใจโครงสรางลักษณะขององคการ
นั้นในดานตาง ๆ
นักวิเคราะหและออกแบบระบบ
หนาที่ของนักวิเคราะหและออกแบบระบบ
โปรแกรมเมอร VS นักวิเคราะหระบบ
งานของโปรแกรมเมอรจะเปนไปในลักษณะที่มีขอบเขตการทำงานที่แนนอน คือ
จะเขียนโปรแกรมตามวัตถุประสงคตามที่ไดมีการวิเคราะหขึ้นมาแลว ซึ่งจะทำงานเกี่ยวของ
กับคนจำนวนนอย
แตงานของนักวิเคราะหระบบไมไดอยูในลักษณะที่แนนอน ไมมีคำตอบที่แนนอน
จากระบบที่วางไววาผิดหรือถูก แตงานที่ทำเกิดจากการประนีประนอมและผสมผสานของ
ปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบงาน (Application System) งานของนักวิเคราะหระบบ
จึงมักจะตองเกี่ยวของกับคนหลายระดับ ตั้งแตลูกคาหรือผูใช นักธุรกิจ โปรแกรมเมอร
ผูตรวจสอบบัญชีหรือแมกระทั่งเซลลแมนที่ขายระบบงานขอมูล
เพิ่มเติม
นักวิเคราะหระบบ (System Analysis) เปนบุคคลที่ศึกษาปญหาซับซอนที่เกิดขึ้น
ในระบบ และแยกแยะปญหาเหลานั้นอยางมีหลักเกณฑ
PAGE 5
คุณสมบัติของนักวิเคราะหระบบ
ความรูทางดานการเขียนโปรแกรม เพื่อจะไดสื่อสารกับโปรแกรมเมอร
ไดอยางมีประสิทธิภาพ
นักวิเคราะหระบบเปรียบเทียบเหมือนผูจัดการทั่วไป จะเปนผูที่ตัดสินใจ ในการ
กำหนด ออกแบบระบบทั้งหมด
นักวิเคราะหระบบจะตองเปนผูที่ใหคำแนะนำดานเทคนิคที่ควรจะเปน ใหแก
โปรแกรมเมอร ผูออกแบบรายงานแบบตาง ๆ และวิศวกร
นักวิเคราะหระบบจะตองเขาใจระบบที่จะทำการออกแบบและคนที่อยูใน ระบบนั้น ๆ
นักวิเคราะหระบบจะตองเปนผูที่ทำหนาที่เห็นสื่อกลางหรือลามระหวาง นักธุรกิจ
ผูตองการใหออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอรหรือผูใชระบบ
นักวิเคราะหระบบควรจะมีความรูทางดานภาษาชั้นสูง อยางนอย 1 ภาษา
นักวิเคราะหระบบจะเปนผูที่ติดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและ ติดตั้งวาไดรับผล
ตามวัตถุประสงคที่วางไวตั้งแตตนหรือเปลา และ ประเมิน ออกมาเปนตัวเลขเพื่อชี้แจง
ใหผูที่ออกแบบระบบเขาใจ
นักวิเคราะหระบบควรจะมีมนุษยสัมพันธที่ดี เนื่องจากนักวิเคราะหระบบ จะตองเกี่ยว
ของกับคนในทุกระดับในองคกร รวมถึงระบบปฏิบัติการ ชางเทคนิค พนักงานบัญชี
เลขานุการ พนักงานธุรการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
วงจรการพัฒนาระบบ
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Lift Cycle-SDLC)
ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกัน ตั้งแตเกิดจนตาย
วงจรนี้จะเปนขั้นตอนที่เปนลำดับตั้งแตตนจนเสร็จเรียบรอยเปนระบบที่ใชงานได
ซึ่งนักวิเคราะหระบบ ตองทำความเขาใจใหดีวาในแตละขั้นตอนจะตองทำอะไร
และทำอยางไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยูดวยกัน 7 ขั้นตอนคือ
การกำหนดปญหา
การวิเคราะห
วงจรการพัฒนาระบบ
การออกแบบ
การบำรุงรักษา
การพัฒนา การทดสอบ
การนำระบบไปใช
PAGE 6
PAGE 7
1. การกำหนดปญหา
นักวิเคราะหระบบจะตองศึกษาเพื่อคนหาปญหา ขอเท็จจริงที่แทจริง ซึ่งหากปญหา
ที่คนพบมิใชปญหาที่แทจริงระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใชงานไมครบถวน
นักวิเคราะหระบบจึงตองมองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นในทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับระบบงาน
ที่จะพัฒนา แลวดำเนินการแกไขปญหา ซึ่งอาจมีแนวทางหลายแนวทาง และคัดเลือก
แนวทางที่ดีที่สุดเพื่อนำมาใชในการแกปญหาในครั้งนี้
สรุปขั้นตอนของระยะการกำหนดปญหา
1.รับรูสภาพของปญหาที่เกิดขึ้น
2.คนหาตนเหตุของปญหารวบรวมปญหาของระบบงานเดิม
3.ศึกษาความเปนไปไดของโครงการพัฒนาระบบ
4.จัดเตรียมทีมงานและกำหนดเวลาในการทำโครงการ
5.ลงมือดำเนินการ
2. การวิเคราะห
การวิเคราะห จะตองรวบรวมขอมูลความตองการ (Requirements) ตางๆ มาให
มากที่สุด ซึ่งการสืบคนความตองการของผูใชสามารถดำเนินการไดจากการรวบรวม
เอกสารการสัมภาษณการออกแบบสอบถามและการสังเกตการณการทำงาน
สรุปขั้นตอนของระยะการวิเคราะห
1. วิเคราะหระบบงานปจจุบัน
2. รวบรวมความตองการ และกำหนดความตองการของระบบใหม
3. วิเคราะหความตองการเพื่อสรุปเปนขอกำหนด
4. สรางแผนภาพ DFD และแผนภาพ E-R
PAGE 8
3. การออกแบบ
เปนระยะที่นำผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะห ที่เปนแบบจำลองเชิงตรรกะมาพัฒนา
เปนแบบจำลองเชิงกายภาพ โดยแบบจำลองเชิงตรรกะที่ไดจากขั้นตอนการวิเคราะห
มุงเนนวามีอะไรที่ตองทำในระบบในขณะที่แบบจำลองเชิงกายภาพจะนำแบบจำลองเชิง
ตรรกะมาพัฒนา ตอดวยการมุงเนนวาระบบดำเนินการอยางไรเพื่อใหเกิดผลตามตองการ
สรุปขั้นตอนของระยะการออกแบบ
1.พิจารณาแนวทางในการพัฒนาระบบ
2.ออกแบบสถาปตยกรรมระบบ
3.ออกแบบรายงาน
4.ออกแบบหนาจออินพุตขอมูล
4. การพัฒนา
เปนระยะที่เกี่ยวของกับการพัฒนาโปรแกรม โดยทีมงานโปรแกรมเมอรจะตอง
พัฒนาโปรแกรมตามที่นักวิเคราะหระบบไดออกแบบไว การเขียนชุดคำสั่งเพื่อสรางเปน
ระบบงานทางคอมพิวเตอรขึ้นมา โดยโปรแกรมเมอรสามารถนำเครื่องมือเขามาชวย
ในการพัฒนาโปรแกรมไดเพื่อชวยใหระบบงานพัฒนาไดเร็วขึ้นและมีคุณภาพ
สรุปขั้นตอนของระยะการพัฒนา
1. พัฒนาโปรแกรม
2. เลือกภาษาโปรแกรมที่เหมาะสม
3. สามารถนำเครื่องมือมาชวยพัฒนาโปรแกรมได
4. สรางเอกสารประกอบโปรแกรม
5.ออกแบบผังงานระบบ
6.ออกแบบฐานขอมูล
7.การสรางตนแบบ
8.การออกแบบโปรแกรม
PAGE 9
5. การทดสอบ
เมื่อโปรแกรมไดพัฒนาขึ้นมาแลว ยังไมสามารถนำระบบไปใชงานไดทันที
จำเปนตองดำเนินการทดสอบระบบกอนที่จะนำไปใชงานจริงเสมอ ควรมีการทดสอบ
ขอมูลเบื้องตนกอน ดวยการสรางขอมูลจำลองขึ้นมาเพื่อใชตรวจสอบการทำงานของ
ระบบงาน หากพบขอผิดพลาดก็ปรับปรุงแกไขใหถูกตอง การทดสอบระบบจะมีการตรวจ
ไวยากรณของภาษาเขียน และตรวจสอบวาระบบตรงกับความตองการของผูใชหรือไม
สรุปขั้นตอนของระยะการทดสอบ
1. ทดสอบไวยากรณภาษาคอมพิวเตอร
2. ทดสอบความถูกตองของผลลัพธที่ได
3. ทดสอบวาระบบที่พัฒนาตรงตามความตองการของผูใชหรือไม
6. การนำระบบไปใช
จากการที่ระบบที่พัฒนาใหมไมสามารถนำไปใชงานแทนระบบงานเดิมไดทันที
จึงมีความจำเปนตองแปลงขอมูลระบบเดิมใหอยูในรูปแบบที่ระบบใหมสามารถนำไปใชง
านไดเสียกอน หรืออาจพบขอผิดพลาดที่ไมคาดคิดเมื่อนำไปใชในสถานการณจริง เมื่อ
ระบบสามารถรันไดจนเปนที่นาพอใจทั้งสองฝาย ก็จะตองจัดทำเอกสารคูมือระบบ
รวมถึงการฝกอบรมผูใช
สรุปขั้นตอนของระยะการนำระบบไปใช
1. ศึกษาสภาพแวดลอมของพื้นที่กอนที่จะนำระบบไปติดตั้ง
2. ติดตั้งระบบใหเปนไปปตามสถาปตยกรรมที่ออกแบบไว
3. จัดทำคูมือระบบ
4. ฝกอบรมผูใช
5. ดำเนินการใชระบบงานใหม
6. ประเมินผลการใชงานของระบบใหม
PAGE 10
7. การบำรุงรักษา
หลังจากระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหมไดถูกนำไปใชงานเปนที่เรียบรอยแลว ขั้นตอน
การบำรุงรักษาจึงเกิดขึ้น ทั้งนี้ขอบกพรองในดานการทำงานของโปรแกรมอาจเพิ่งพบได
ซึ่งจะตองดำเนินการแกไขใหถูกตองรวมถึงกรณีที่ขอมูลที่จัดเก็บมีปริมาณที่มากขึ้นตอง
วางแผนการรองรับเหตุการณนี้ดวย นอกจากนี้งานบำรุงรักษายังเกี่ยวของกับการเขียน
โปรแกรมเพิ่มเติมกรณีที่ผูใชมีความตองการเพิ่มขึ้น
สรุปขั้นตอนของระยะการบำรุงรักษา
1.กรณีเกิดขอผิดพลาดขึ้นจากระบบใหดำเนินการแกไขใหถูกตอง
2.อาจจำเปนตองเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมกรณีที่ผูใชมีความตองการเพิ่มเติม
3.วางแผนรองรับเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
4.บำรุงรักษาระบบงานและอุปกรณ
สรุป
งานพัฒนาระบบสารสนเทศจะมีกิจกรรมและขั้นตอนตาง ๆ มากมาย
รวมถึงความซับซอนของระบบงาน ดังนั้น การมีแนวทางที่เปนลำดับขั้นตอน
ที่สงผลตอมาตรฐานของระบบงานจึงเปนสิ่งที่นักวิเคราะหระบบตองการ เพื่อ
สงผลใหงานวิเคราะหระบบเปนไปในทิศทางเดียวกัน มีขั้นตอนลำดับกิจกรรม
ที่ตองทำอยางชัดเจนในแตละขั้นตอน จึงเกิดเปน “วงจรพัฒนาระบบ” ขึ้น
บรรณานุกรม :.+ํ
http://itd.htc.ac.th/st_it50/it5016/nidz/Web_Analyse/unit3.html
http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn.html
http://www.pttc.ac.th/BcomPttc/e-learning_2.html

More Related Content

Viewers also liked (10)

приморье 38 колекционный
приморье 38 колекционныйприморье 38 колекционный
приморье 38 колекционный
 
Music video script
Music video scriptMusic video script
Music video script
 
Institutions
InstitutionsInstitutions
Institutions
 
What is a risk assessment
What is a risk assessmentWhat is a risk assessment
What is a risk assessment
 
0-net_work4_23
0-net_work4_230-net_work4_23
0-net_work4_23
 
Datini vol 1
Datini vol 1Datini vol 1
Datini vol 1
 
Fantana dintre-plopi mihail-sadoveanu
Fantana dintre-plopi mihail-sadoveanuFantana dintre-plopi mihail-sadoveanu
Fantana dintre-plopi mihail-sadoveanu
 
Salesvfvf promotion letter
Salesvfvf promotion letterSalesvfvf promotion letter
Salesvfvf promotion letter
 
Music
MusicMusic
Music
 
Music magazines - Audience
Music magazines - AudienceMusic magazines - Audience
Music magazines - Audience
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23

1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
khuwawa2513
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
nuknook
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
Passawan' Koohar
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
skiats
 
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
สุชาติ องค์มิ้น
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอม
Visarut Keatnima
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
Sarun Suksri
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
JoyCe Zii Zii
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23 (20)

M
MM
M
 
M
MM
M
 
บทที่7แก้
บทที่7แก้บทที่7แก้
บทที่7แก้
 
Merged (pdf.io) (2)
Merged (pdf.io) (2)Merged (pdf.io) (2)
Merged (pdf.io) (2)
 
Mis_hrcc
Mis_hrccMis_hrcc
Mis_hrcc
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
1 การวิเคราะห์เส้นทาง path analysis
 
Unit07
Unit07Unit07
Unit07
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interaction
 
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
 
template system
template systemtemplate system
template system
 
Work3-05
Work3-05Work3-05
Work3-05
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอม
 
งาน3
งาน3งาน3
งาน3
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ-work3-23

  • 2. สารบัญ :.+ํ ความหมายของระบบ (System) 1 การวิเคราะหและออกแบบระบบ 2 หนาที่ของนักวิเคราะหและออกแบบระบบ 3 คุณสมบัติของนักวิเคราะหระบบ 4 วงจรการพัฒนาระบบคืออะไร 5
  • 3. ความหมายของระบบ(System) ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดใหความหมายเอาไววา ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่งตางๆ ซึ่งมีลักษณะซับซอน ใหเขา ลำดับ ประสานเปนอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวิชาการ หรือหมายถึง ปรากฏการณ ทางธรรมชาติซึ่งมีความสัมพันธ ประสานเขากัน โดยกำหนดรวม เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน PAGE 1 สรุป ระบบ คือ กระบวนการตางๆ ที่อยูในเครือขายเดียวกัน และมีความ สัมพันธกัน ระหวางกระบวนการเหลานั้น และเชื่อมตอกันเพื่อทำงานใดงานหนึ่ง ใหบรรลุถึงเปาหมาย ที่วางไว เพื่อใหเขาใจในความหมายของคำวาระบบนั้นจะตอง ทำการวิเคราะห และจำเปนตองเขาใจลักษณะของระบบกอน ตัวอยางระบบ ระบบธุรกิจ (Business System) เปนระบบที่ทำงานเพื่อจุดประสงคดานธุรกิจ เชน ระบบโรงแรม ระบบการพิมพ ระบบธนาคาร ระบบสารสนเทศ (Management Information System) เปนระบบชวยจัดการขอมูลที่ตองการใชในระบบธุรกิจ เชน ระบบการเก็บเงินลูกคา
  • 4. 1. การวิเคราะหระบบงาน คำวา หมายความหมายวา การพินิจพิเคราะห การพิจารณา การใครครวญ การไตสวน ความหรือเรื่องราว ซึ่งคำวาวิเคราะหนี้สามารถนำไปใชกับวิชาการ ไดมากมาย เชน การวิเคราะหโครงสราง การวิเคราะหเชิงคุณภาพ การวิเคราะห เชิงปริมาณ การวิเคราะหปญหา เปนตน คำวา “วิเคราะห” ที่ใชกับการวิเคราะหระบบนั้น ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Analysis” ซึ่งแปลวา การแยกสิ่งที่ประกอบกันออกเปนสวน ๆ เชน การแยก ระบบใหญออกเปนสวน ยอย ๆ คือ เปนการแยกปญหาออกเปนสวน ๆ เพื่อ สะดวกในการพิจารณาหรือตัดสินใจ จามความหมายของคำวาวิเคราะหดังกลาวนี้ มีวิธีการใหญ ๆ อยูดวยกัน 2 วิธี คือ PAGE 2 ความหมายของการวิเคราะหและออกแบบระบบ ความหมายของการวิเคราะหและออกแบบระบบสามารถแบงการใหความหมาย ออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ 1. การวิเคราะหระบบงาน 2. การออกแบบระบบงาน การวิเคราะหและออกแบบระบบ
  • 5. 1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination) เปนวิธีที่คนสวนมากใชกันเปนปกติธรรมดาโดยอาศัยประสบการณและ สามัญสำนึกของแตละบุคคลเปนหลัก คนที่มีวิจารณญาณสูง ๆ การพิจารณา ใครครวญ และตัดสินใจ ดวยวิธีการนี้โอกาสที่จะผิดพลาดอยางมีสูง ซึ่งเปนเหตุใหเกิด การสูญเสีย แกธุรกิจเปนอยางมากเชนเดียวกัน ดังนั้น ถาเปนงานสำคัญ ๆทางธุรกิจแลวไมควรใชวิธีนี้ 1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร(Methodology Determination เปนวิธีการพิจารณาใครครวญและตัดสินใจโดยอาศัยระบบทางวิทยาศาสตร เชน สถิติ และการคำนวณ เปนตน วิธีนี้เปนวิธีที่ใชหลักวิชาการทาง วิทยาศาสตรแขนงตาง ๆ เขาชวยผูที่จะทำการวิเคราะหจะตองเปนผูที่มี ความรูในวิชาการแขนงตาง ๆ ที่จะใชในการวิเคราะหและออกแบบระบบงาน 2. การออกแบบระบบงาน การออกแบบ หมายถึง การนำเอาความตองการของระบบมาเปน แบบแผน หรือเรียกวา พิมพเขียวในการสรางระบบสารสนเทศใหใชงาน ไดจริง ความตองการ ของระบบ เชน สามารถติดตามยอกขายไดเปนระยะ เพื่อใหฝายบริหารสามารถปรับปรุง การขายไดทันทวงที PAGE 3 การวิเคราะหและออกแบบระบบ (System Analysis and Design) เปนวิธีการที่ใช ในการสรางระบบสารสนเทศขึ้นมาใหมในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรือในระบบยอยของ ธุรกิจ นอกจากการสรางระบบสารสนเทศใหมแลว การวิเคราะหระบบชวยในการแกไข ระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยูแลวใหดีขึ้นดวยก็ได ทำไมตองวิเคราะหและออกแบบระบบ?
  • 6. PAGE 4 นักวิเคราะหระบบหรือที่เราเรียกกันวา SA จะทำหนาที่หาวิธีการแกไขปญหา ที่แยกแยะเหลานั้น พรอมทั้งใหเหตุผลดวยการวิเคราะหระบบนั้น นักวิเคราะหระบบ จะตองกำหนดขอบเขตของการวิเคราะห และตอกำหนด จุดมุงหมายหรือเปาหมาย ในการวิเคราะหนั้นดวย นอกจากนี้ยังตองทำ ความเขาใจโครงสรางลักษณะขององคการ นั้นในดานตาง ๆ นักวิเคราะหและออกแบบระบบ หนาที่ของนักวิเคราะหและออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร VS นักวิเคราะหระบบ งานของโปรแกรมเมอรจะเปนไปในลักษณะที่มีขอบเขตการทำงานที่แนนอน คือ จะเขียนโปรแกรมตามวัตถุประสงคตามที่ไดมีการวิเคราะหขึ้นมาแลว ซึ่งจะทำงานเกี่ยวของ กับคนจำนวนนอย แตงานของนักวิเคราะหระบบไมไดอยูในลักษณะที่แนนอน ไมมีคำตอบที่แนนอน จากระบบที่วางไววาผิดหรือถูก แตงานที่ทำเกิดจากการประนีประนอมและผสมผสานของ ปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับระบบงาน (Application System) งานของนักวิเคราะหระบบ จึงมักจะตองเกี่ยวของกับคนหลายระดับ ตั้งแตลูกคาหรือผูใช นักธุรกิจ โปรแกรมเมอร ผูตรวจสอบบัญชีหรือแมกระทั่งเซลลแมนที่ขายระบบงานขอมูล เพิ่มเติม นักวิเคราะหระบบ (System Analysis) เปนบุคคลที่ศึกษาปญหาซับซอนที่เกิดขึ้น ในระบบ และแยกแยะปญหาเหลานั้นอยางมีหลักเกณฑ
  • 7. PAGE 5 คุณสมบัติของนักวิเคราะหระบบ ความรูทางดานการเขียนโปรแกรม เพื่อจะไดสื่อสารกับโปรแกรมเมอร ไดอยางมีประสิทธิภาพ นักวิเคราะหระบบเปรียบเทียบเหมือนผูจัดการทั่วไป จะเปนผูที่ตัดสินใจ ในการ กำหนด ออกแบบระบบทั้งหมด นักวิเคราะหระบบจะตองเปนผูที่ใหคำแนะนำดานเทคนิคที่ควรจะเปน ใหแก โปรแกรมเมอร ผูออกแบบรายงานแบบตาง ๆ และวิศวกร นักวิเคราะหระบบจะตองเขาใจระบบที่จะทำการออกแบบและคนที่อยูใน ระบบนั้น ๆ นักวิเคราะหระบบจะตองเปนผูที่ทำหนาที่เห็นสื่อกลางหรือลามระหวาง นักธุรกิจ ผูตองการใหออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอรหรือผูใชระบบ นักวิเคราะหระบบควรจะมีความรูทางดานภาษาชั้นสูง อยางนอย 1 ภาษา นักวิเคราะหระบบจะเปนผูที่ติดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและ ติดตั้งวาไดรับผล ตามวัตถุประสงคที่วางไวตั้งแตตนหรือเปลา และ ประเมิน ออกมาเปนตัวเลขเพื่อชี้แจง ใหผูที่ออกแบบระบบเขาใจ นักวิเคราะหระบบควรจะมีมนุษยสัมพันธที่ดี เนื่องจากนักวิเคราะหระบบ จะตองเกี่ยว ของกับคนในทุกระดับในองคกร รวมถึงระบบปฏิบัติการ ชางเทคนิค พนักงานบัญชี เลขานุการ พนักงานธุรการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
  • 8. วงจรการพัฒนาระบบ วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Lift Cycle-SDLC) ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกัน ตั้งแตเกิดจนตาย วงจรนี้จะเปนขั้นตอนที่เปนลำดับตั้งแตตนจนเสร็จเรียบรอยเปนระบบที่ใชงานได ซึ่งนักวิเคราะหระบบ ตองทำความเขาใจใหดีวาในแตละขั้นตอนจะตองทำอะไร และทำอยางไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยูดวยกัน 7 ขั้นตอนคือ การกำหนดปญหา การวิเคราะห วงจรการพัฒนาระบบ การออกแบบ การบำรุงรักษา การพัฒนา การทดสอบ การนำระบบไปใช PAGE 6
  • 9. PAGE 7 1. การกำหนดปญหา นักวิเคราะหระบบจะตองศึกษาเพื่อคนหาปญหา ขอเท็จจริงที่แทจริง ซึ่งหากปญหา ที่คนพบมิใชปญหาที่แทจริงระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใชงานไมครบถวน นักวิเคราะหระบบจึงตองมองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นในทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับระบบงาน ที่จะพัฒนา แลวดำเนินการแกไขปญหา ซึ่งอาจมีแนวทางหลายแนวทาง และคัดเลือก แนวทางที่ดีที่สุดเพื่อนำมาใชในการแกปญหาในครั้งนี้ สรุปขั้นตอนของระยะการกำหนดปญหา 1.รับรูสภาพของปญหาที่เกิดขึ้น 2.คนหาตนเหตุของปญหารวบรวมปญหาของระบบงานเดิม 3.ศึกษาความเปนไปไดของโครงการพัฒนาระบบ 4.จัดเตรียมทีมงานและกำหนดเวลาในการทำโครงการ 5.ลงมือดำเนินการ 2. การวิเคราะห การวิเคราะห จะตองรวบรวมขอมูลความตองการ (Requirements) ตางๆ มาให มากที่สุด ซึ่งการสืบคนความตองการของผูใชสามารถดำเนินการไดจากการรวบรวม เอกสารการสัมภาษณการออกแบบสอบถามและการสังเกตการณการทำงาน สรุปขั้นตอนของระยะการวิเคราะห 1. วิเคราะหระบบงานปจจุบัน 2. รวบรวมความตองการ และกำหนดความตองการของระบบใหม 3. วิเคราะหความตองการเพื่อสรุปเปนขอกำหนด 4. สรางแผนภาพ DFD และแผนภาพ E-R
  • 10. PAGE 8 3. การออกแบบ เปนระยะที่นำผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะห ที่เปนแบบจำลองเชิงตรรกะมาพัฒนา เปนแบบจำลองเชิงกายภาพ โดยแบบจำลองเชิงตรรกะที่ไดจากขั้นตอนการวิเคราะห มุงเนนวามีอะไรที่ตองทำในระบบในขณะที่แบบจำลองเชิงกายภาพจะนำแบบจำลองเชิง ตรรกะมาพัฒนา ตอดวยการมุงเนนวาระบบดำเนินการอยางไรเพื่อใหเกิดผลตามตองการ สรุปขั้นตอนของระยะการออกแบบ 1.พิจารณาแนวทางในการพัฒนาระบบ 2.ออกแบบสถาปตยกรรมระบบ 3.ออกแบบรายงาน 4.ออกแบบหนาจออินพุตขอมูล 4. การพัฒนา เปนระยะที่เกี่ยวของกับการพัฒนาโปรแกรม โดยทีมงานโปรแกรมเมอรจะตอง พัฒนาโปรแกรมตามที่นักวิเคราะหระบบไดออกแบบไว การเขียนชุดคำสั่งเพื่อสรางเปน ระบบงานทางคอมพิวเตอรขึ้นมา โดยโปรแกรมเมอรสามารถนำเครื่องมือเขามาชวย ในการพัฒนาโปรแกรมไดเพื่อชวยใหระบบงานพัฒนาไดเร็วขึ้นและมีคุณภาพ สรุปขั้นตอนของระยะการพัฒนา 1. พัฒนาโปรแกรม 2. เลือกภาษาโปรแกรมที่เหมาะสม 3. สามารถนำเครื่องมือมาชวยพัฒนาโปรแกรมได 4. สรางเอกสารประกอบโปรแกรม 5.ออกแบบผังงานระบบ 6.ออกแบบฐานขอมูล 7.การสรางตนแบบ 8.การออกแบบโปรแกรม
  • 11. PAGE 9 5. การทดสอบ เมื่อโปรแกรมไดพัฒนาขึ้นมาแลว ยังไมสามารถนำระบบไปใชงานไดทันที จำเปนตองดำเนินการทดสอบระบบกอนที่จะนำไปใชงานจริงเสมอ ควรมีการทดสอบ ขอมูลเบื้องตนกอน ดวยการสรางขอมูลจำลองขึ้นมาเพื่อใชตรวจสอบการทำงานของ ระบบงาน หากพบขอผิดพลาดก็ปรับปรุงแกไขใหถูกตอง การทดสอบระบบจะมีการตรวจ ไวยากรณของภาษาเขียน และตรวจสอบวาระบบตรงกับความตองการของผูใชหรือไม สรุปขั้นตอนของระยะการทดสอบ 1. ทดสอบไวยากรณภาษาคอมพิวเตอร 2. ทดสอบความถูกตองของผลลัพธที่ได 3. ทดสอบวาระบบที่พัฒนาตรงตามความตองการของผูใชหรือไม 6. การนำระบบไปใช จากการที่ระบบที่พัฒนาใหมไมสามารถนำไปใชงานแทนระบบงานเดิมไดทันที จึงมีความจำเปนตองแปลงขอมูลระบบเดิมใหอยูในรูปแบบที่ระบบใหมสามารถนำไปใชง านไดเสียกอน หรืออาจพบขอผิดพลาดที่ไมคาดคิดเมื่อนำไปใชในสถานการณจริง เมื่อ ระบบสามารถรันไดจนเปนที่นาพอใจทั้งสองฝาย ก็จะตองจัดทำเอกสารคูมือระบบ รวมถึงการฝกอบรมผูใช สรุปขั้นตอนของระยะการนำระบบไปใช 1. ศึกษาสภาพแวดลอมของพื้นที่กอนที่จะนำระบบไปติดตั้ง 2. ติดตั้งระบบใหเปนไปปตามสถาปตยกรรมที่ออกแบบไว 3. จัดทำคูมือระบบ 4. ฝกอบรมผูใช 5. ดำเนินการใชระบบงานใหม 6. ประเมินผลการใชงานของระบบใหม
  • 12. PAGE 10 7. การบำรุงรักษา หลังจากระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหมไดถูกนำไปใชงานเปนที่เรียบรอยแลว ขั้นตอน การบำรุงรักษาจึงเกิดขึ้น ทั้งนี้ขอบกพรองในดานการทำงานของโปรแกรมอาจเพิ่งพบได ซึ่งจะตองดำเนินการแกไขใหถูกตองรวมถึงกรณีที่ขอมูลที่จัดเก็บมีปริมาณที่มากขึ้นตอง วางแผนการรองรับเหตุการณนี้ดวย นอกจากนี้งานบำรุงรักษายังเกี่ยวของกับการเขียน โปรแกรมเพิ่มเติมกรณีที่ผูใชมีความตองการเพิ่มขึ้น สรุปขั้นตอนของระยะการบำรุงรักษา 1.กรณีเกิดขอผิดพลาดขึ้นจากระบบใหดำเนินการแกไขใหถูกตอง 2.อาจจำเปนตองเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมกรณีที่ผูใชมีความตองการเพิ่มเติม 3.วางแผนรองรับเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต 4.บำรุงรักษาระบบงานและอุปกรณ สรุป งานพัฒนาระบบสารสนเทศจะมีกิจกรรมและขั้นตอนตาง ๆ มากมาย รวมถึงความซับซอนของระบบงาน ดังนั้น การมีแนวทางที่เปนลำดับขั้นตอน ที่สงผลตอมาตรฐานของระบบงานจึงเปนสิ่งที่นักวิเคราะหระบบตองการ เพื่อ สงผลใหงานวิเคราะหระบบเปนไปในทิศทางเดียวกัน มีขั้นตอนลำดับกิจกรรม ที่ตองทำอยางชัดเจนในแตละขั้นตอน จึงเกิดเปน “วงจรพัฒนาระบบ” ขึ้น