SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ
จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่
กำหนดให้
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ
จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการ
นำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3
1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดง
จำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0
2. เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับ
ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ
จำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0
- การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน
- หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและ
การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูป
กระจาย
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวน
3. บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดง
ปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงสิ่งต่างๆ
ตามเศษส่วนที่กำหนด
4. เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน
โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัว
ส่วน
เศษส่วน
- เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับ
ตัวส่วน
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ
เศษส่วน
5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยค
สัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนไม่
เกิน 100,000 และ 0
6. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน 1
หลักกับจำนวนไม่เกิน 4 หลัก และ
จำนวน 2 หลักกับจำนวน 2 หลัก
7. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน
4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก
การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวน
นับไม่เกิน 100,000 และ 0
- การบวกและการลบ
- การคูณ การหารยาวและการหารสั้น
- การบวก ลบ คูณ หารระคน
- การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์
ปัญหา พร้อมทั้งหาคำตอบ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3 8. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0
9. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 2
ขั้นตอน ของจำนวนนับไม่เกิน
100,000 และ 0
10. หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วน
เท่ากันและผลบวกไม่เกิน 1 และหาผล
ลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
11. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและ
ผลบวกไม่เกิน 1 และโจทย์ปัญหาการ
ลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
การบวก การลบเศษส่วน
- การบวกและการลบเศษส่วน
- การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์
ปัญหาการลบเศษส่วน
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ
นำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3
1. ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของ
จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่าๆ
กัน
แบบรูป
- แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง
ทีละเท่าๆ กัน
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่
กำหนดให้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3 - -
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและ
นำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3
1. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับเงิน
2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา
เงิน
- การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดง
จำนวนเงิน แบบใช้จุด
- การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการ
แลกเงิน
- การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ
รายจ่าย
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
เวลา
- การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที
- การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.)
หรือทวิภาค (:) และการอ่าน
- การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที
- การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้
ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที
- การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่
ระบุเวลา
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ
ระยะเวลา
3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวที่
เหมาะสมวัดและบอกความยาวของสิ่ง
ต่างๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร
เมตรและเซนติเมตร
4. คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็น
เซนติเมตร
5. เปรียบเทียบความยาวระหว่าง
เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับ
เซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จาก
สถานการณ์ต่างๆ
ความยาว
- การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและ
มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
กิโลเมตรและเมตร
- การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่
เหมาะสม
- การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ
เป็นเซนติเมตร
- การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3 6. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็น
เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ
เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร
7. เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและ
บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด
กิโลกรัมและกรัม
8. คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็น
ขีด
9. เปรียบเทียบน้ำหนักระหว่างกิโลกรัม
และกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จาก
สถานการณ์ต่างๆ
10. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม
กับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม
น้ำหนัก
- การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม
- การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและ
เป็นขีด
- การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้
ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม
เมตริกตันกับกิโลกรัม
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก
11. เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและ
เปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตร
และมิลลิลิตร
12. คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร
13. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วย
เป็นลิตรและมิลลิลิตร
น้ำหนัก
- การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตร
และมิลลิลิตร
- การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม
- การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็น
ลิตร
- การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ
โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ
มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับ
มิลลิลิตร
- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร
และความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและ
มิลลิลิตร
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3
1. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกน
สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร
รูปเรขาคณิตสองมิติ
- รูปที่มีแกนสมมาตร
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3
1. เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจาก
แผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ
โจทย์ปัญหา
2. เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็น
จำนวนนับ และใช้ข้อมูลจากตารางทาง
เดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ
ข้อมูล
- การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนก
ข้อมูล
- การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ
- การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว
(one – way table)
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 3 - -
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ชั่วโมง/ปี
ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ หลัก
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวน
การเรียงลำดับจำนวน แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นและลดลง การบวกจำนวนนับที่มีผลบวกไม่เกิน
100,000 การบวกจำนวนสามจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์
ปัญหาการบวก การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100,000 การลบจำนวนสามจำนวน การหาตัวไม่ทราบ
ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ
การคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนไม่เกินสี่หลัก การคูณกับจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก โจทย์
ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การหารที่มีตัวตั้งไม่เกินสี่หลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก การหา
ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา
การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร
การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เป็นเซนติเมตร การ
เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว รูป
ที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ
เท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การเรียงลำดับเศษส่วน การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน
การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกน้ำหนัก
เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม การคาดคะเนน้ำหนักเป็น
กิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตัน
กับกิโลกรัม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเลือก
เครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ
ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์
ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนก
ข้อมูล การอ่านและเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและเขียนตารางทางเดียว การบอกเวลาเป็นนาฬิกา
และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบ
ระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่างๆ การบอกจำนวนเงินและ
เขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดและการอ่าน การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน
และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์
ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน
คำอธิบายรายวิชา
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดย
การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ
การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์
ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวัน
อย่างสร้างสรรค์
เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มี
ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นใน
ตนเอง
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10,
ป.3/11
ค 1.2 ป.3/1
ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10,
ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13
ค 2.2 ป.3/1
ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2
รวม 28 ตัวชี้วัด
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
บทที่/เรื่อง เวลา (ชั่วโมง)
ภาคเรียนที่ 1
บทที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000
บทที่ 2 การบวกและการลบจำนวนนับไม่เกิน 100,000
บทที่ 3 เวลา
บทที่ 4 รูปเรขาคณิต
บทที่ 5 แผนภูมิรูปภาพและตารางทางเดียว
บทที่ 6 เศษส่วน
บทที่ 7 การคูณ
18
28
16
2
7
16
18
รวมภาคเรียนที่ 1 105
โครงสร้างเวลาเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
หน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระสำคัญ
เวลา
(ชม.)
เวลา ค 2.1
ป.3/1
การบอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกาจะบอกเป็นนาฬิกา
กับนาที และสามารถบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็น
นาที ซึ่งนำมาเปรียบเทียบได้ ส่วนการเขียนและ
การอ่านเวลาสามารถใช้มหัพภาค (.) และทวิภาค (:)
ซึ่งนำไปใช้ในการอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมที
ระบุได้ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับเวลาเป็นการนำเวลา
ในหน่วยเดียวกันมาบวก ลบ คูณ หารกัน
16
โครงสร้างรายวิชา
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ เรื่อง
จำนวน
(ชั่วโมง)
1 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 1
2 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 1
3 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 1
4 การอ่านและเขียนบอกเวลาทีมีมหัพภาค (.) หรือทวิภาค
(:)
1
5 การอ่านและเขียนบอกเวลาทีมีมหัพภาค (.) หรือทวิภาค
(:)
1
6 การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที 1
7 การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที 1
8 การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที 1
9 การเปรียบเทียบระยะเวลา 1
10 การเปรียบเทียบระยะเวลา 1
11 โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1
12 โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1
13 โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1
14 โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1
15 การอ่านบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา 1
16 การเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา 1
รวม 16
กำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
เวลา
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของ
สิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และ
ระยะเวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง
เรื่อง การเปรียบเทียบระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่...25.... เดือน...สิงหาคม........ พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ
วัดและนำไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา
สาระสำคัญ
ชั่วโมงกับนาที มีความสัมพันธ์กัน คือ 1 ชั่วโมง เท่ากับ 60 นาที การเปรียบเทียบระยะเวลา
ต้องเปลี่ยนเวลาเป็นหน่วยเดียวกันก่อน โดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลาแล้วจึงนำมาเปรียบเทียบ
กัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เปรียบเทียบระยะเวลาได้ (K)
2. แสดงการเปรียบเทียบระยะเวลาได้ (P)
3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A)
สาระการเรียนรู้
การเปรียบเทียบระยะเวลา
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2. ความสามารถในการเชื่อมโยง
3. ความสามารถในการให้เหตุผล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวน เรื่อง การบอกเวลา โดยนำบัตรภาพนาฬิกาที่แสดงเวลามาให้นักเรียนดู
จากนั้นเปิดเพลงให้นักเรียนส่งบัตรภาพนี้ไปเรื่อย ๆ เมื่อเพลงหยุดแล้วบัตรภาพอยู่ที่ใครให้คนนั้นตอบ
คาถามว่า เป็นเวลาเท่าใด ประมาณ 2 – 3 ข้อ
2. ครูเขียนตัวเลข 5 นาที บนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม ดังนี้
- เวลาใดบ้างน้อยกว่า 5 นาที (0, 1, 2, 3, 4)
- เวลาใดบ้างมากกว่า 5 นาที (6, 7, 8, 9, 10)
- นักเรียนคิดว่าเวลาที่มากกว่า 4 แต่น้อยกว่า 9 นาทีมีเวลาใดบ้าง (5, 6, 7, 8)
ขั้นสอน
1. ครูทบทวนการเปลี่ยนหน่วยเวลาจากหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อย และหน่วยย่อยเป็น
หน่วยใหญ่ ให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ เช่น
- 150 นาที เป็นกี่ชั่วโมง กี่นาที
เนื่องจาก 60 นาที เป็น 1 ชั่วโมง ดังนั้น 150 ÷ 60 ได้ 2 เศษ 30
จะได้ 150 นาที เป็น 2 ชั่วโมง 30 นาที
- 3 ชั่วโมง 35 นาที คิดเป็นกี่นาที
เนื่องจาก 60 นาที เป็น 1 ชั่วโมง ดังนั้น 3 × 60 ได้ 180 + 35 = 215
จะได้ 3 ชั่วโมง 35 นาที เป็น 215 นาที
2. ครูแสดงบัตรข้อความที่บอกค่าเวลาต่างกัน 2 บัตร ให้นักเรียนเปรียบเทียบว่าเวลา
แตกต่างกันหรือไม่ บัตรใดเวลามากกว่า บัตรใดเวลาน้อยกว่า หรือทั้งสองบัตรเวลาเท่ากัน พร้อมทั้ง
บอกเหตุผลที่นักเรียนใช้ตัดสิน ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบ ดังนี้
3. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ การเปรียบเทียบระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียน
ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในแบบฝึกทักษะ
240 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 3 ชั่วโมง
1 ชั่วโมง 30 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 80 นาที
90 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 2 ชั่วโมง 20 นาที
122 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 1 ชั่วโมง 22 นาที
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ วิธีการเปรียบเทียบระยะเวลา
อาจเปรียบเทียบได้โดยทำหน่วยเวลาที่ต้องการเปรียบเทียบให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน แล้วจึง
เปรียบเทียบ
สื่อการเรียนรู้
1. บัตรภาพนาฬิกา
2. บัตรข้อความ
3. แบบฝึกทักษะ เรื่องเวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก
ทักษะ
แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ
สังเกตพฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
สังเกตพฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
ความคิดเห็นผู้บริหาร
ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ
(นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
บันทึกหลังการเรียนการสอน
1. ผลการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
2. ปัญหาและอุปสรรค
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา
ลงชื่อ.....................................ผู้สอน
(นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา)
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง
เรื่อง การเปรียบเทียบระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่...26.... เดือน...สิงหาคม......พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ
วัดและนำไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา
สาระสำคัญ
ชั่วโมงกับนาที มีความสัมพันธ์กัน คือ 1 ชั่วโมง เท่ากับ 60 นาที การเปรียบเทียบระยะเวลา
ต้องเปลี่ยนเวลาเป็นหน่วยเดียวกันก่อน โดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลาแล้วจึงนำมาเปรียบเทียบ
กัน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เปรียบเทียบระยะเวลาได้ (K)
2. แสดงการเปรียบเทียบระยะเวลาได้ (P)
3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A)
สาระการเรียนรู้
การเปรียบเทียบระยะเวลา
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2. ความสามารถในการเชื่อมโยง
3. ความสามารถในการให้เหตุผล
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในชั่วโมงที่ผ่านมา เรื่อง การเปรียบเทียบระยะเวลา โดยครู
แสดงบัตรข้อความแสดงเวลา 1 ชั่วโมง 20 นาที แล้วครูถามนักเรียนคิดเป็นกี่นาที และมีวิธีคิดอย่างไร
(80 นาที เท่ากับ 60 + 20 นาที)
2. ครูนักเรียนอ่านโจทย์แล้วตอบคำถาม ดังนี้
- 4 ชั่วโมง 5 นาที คิดเป็นกี่นาที (245 นาที)
- 1 ชั่วโมง 28 นาที คิดเป็นกี่นาที (88 นาที)
- 75 นาที คิดเป็นกี่ชั่วโมง กี่นาที (1 ชั่วโมง 15 นาที)
- 158 นาที คิดเป็นกี่ชั่วโมง กี่นาที (2 ชั่วโมง 38 นาที)
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายความรู้ว่าชั่วโมงกับนาที มีความสัมพันธ์กันดังนี้
ดังนั้น การเปรียบเทียบเวลาต้องเปลี่ยนเวลาเป็นหน่วยเดียวกันก่อน โดยใช้
ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา แล้วจึงนำมาเปรียบเทียบกัน
2. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบระยะเวลาระหว่าง 150 นาที กับ 1 ชั่วโมง โดยใช้คำว่า
“มากกว่า” หรือ “น้อยกว่า” จะใช้อย่างไร (150 นาที มากกว่า 1 ชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง มากกว่า 150
นาที)
3. ครูยกตัวอย่างการเปรียบเทียบระยะเวลาเพิ่มเติมอีก 2 – 3 ตัวอย่าง เพื่อให้นักเรียน
เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น เช่น
4. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ การเปรียบเทียบระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียน
ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในแบบฝึกทักษะ
1 ชั่วโมง 20 นาที กับ 90 นาที
256 นาที กับ 4 ชั่วโมง 26 นาที
5 ชั่วโมง 8 นาที กับ 318 นาที
156 นาที กับ 2 ชั่วโมง 26 นาที
1 ชั่วโมง เท่ากับ 60 นาที
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ วิธีการเปรียบเทียบระยะเวลา
อาจเปรียบเทียบได้โดยทำหน่วยเวลาที่ต้องการเปรียบเทียบให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน แล้วจึง
เปรียบเทียบ
สื่อการเรียนรู้
แบบฝึกทักษะ เรื่องเวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก
ทักษะ
แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ
สังเกตพฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
สังเกตพฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
ความคิดเห็นผู้บริหาร
ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ
(นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
บันทึกหลังการเรียนการสอน
1. ผลการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
2. ปัญหาและอุปสรรค
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา
ลงชื่อ.....................................ผู้สอน
(นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา)
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง
เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 29 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ
วัดและนำไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา
สาระสำคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ต้องทราบสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์
ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และ
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. แก้โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาได้ (K)
2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาตามที่กำหนดได้
(P)
3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A)
สาระการเรียนรู้
โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา
2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการเชื่อมโยง
4. ความสามารถในการให้เหตุผล
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับเวลา โดยแสดงบัตรคำ 20 นาฬิกา 19 นาที จากนั้นครูให้
ตัวแทนนักเรียนหญิงออกมา หมุนเข็มนาฬิกาจำลองให้ตรงกับเวลาที่กำหนด และครูแสดงบัตรคำ 6
นาฬิกา 56 นาที ให้ตัวแทนนักเรียนชายออกมาหมุนเข็มนาฬิกาจำลองให้ตรงกับเวลาที่กำหนด ครู
ยกตัวอย่างอีก 2-3 ตัวอย่าง เพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนเรื่อง การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที
ขั้นสอน
1. ครูนำเสนอสถานการณ์โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา พร้อมทั้ง
อ่านโจทย์ให้นักเรียนอ่านตาม ดังนี้
2. ครูให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้
- สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร (ปอทำการบ้านนานเท่าใด)
- สิ่งที่โจทย์บอกคืออะไร (ปอทำการบ้านคณิตศาสตร์ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 18 นาที
และทำการบ้านภาษาไทยใช้เวลา 1 ชั่วโมง 24 นาที)
- ใช้วิธีใดหาคำตอบ (วิธีบวก)
3. ครูอธิบายวิธีการวางแผนแก้โจทย์ปัญหา และถามนักเรียนว่าคำตอบที่ได้คือเท่าใด
(ปอทำการบ้านนาน 3 ชั่วโมง 42 นาที) ดังนี้
ทำการบ้านคณิตศาสตร์ 2 ชั่วโมง 18 นาที ทำการบ้านภาษาไทย 1 ชั่วโมง 24 นาที
4. ครูติดโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์
ปัญหา ดังนี้
ปอทำการบ้านคณิตศาสตร์ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 18 นาที และทำการบ้านภาษาไทย
ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 24 นาที ปอทำการบ้านนานเท่าใด
ปอใช้เวลาในการทำการบ้าน
แตงเดินออกจากบ้านเวลา 15 นาฬิกา 20 นาที ถึงตลาดใช้เวลา 45
นาที แตงจะถึงตลาดเวลาเท่าใด
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
5. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรม
ในใบงานที่ 11
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ
ระยะเวลาจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบ
ได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และการตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ
สื่อการเรียนรู้
1. นาฬิกาจำลอง
2. ใบงานที่แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก
ทักษะ
แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ
สังเกตพฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
สังเกตพฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
ความคิดเห็นผู้บริหาร
ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ
(นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
บันทึกหลังการเรียนการสอน
1. ผลการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
2. ปัญหาและอุปสรรค
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา
ลงชื่อ.....................................ผู้สอน
(นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา)
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง
เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 30 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ
วัดและนำไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา
สาระสำคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ต้องทราบสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์
ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และ
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. แก้โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาได้ (K)
2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาตามที่กำหนดได้
(P)
3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A)
สาระการเรียนรู้
โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา
2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการเชื่อมโยง
4. ความสามารถในการให้เหตุผล
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการบอกเวลา และระยะเวลาที่มีหน่วยเดียวกัน โดยให้
ตัวแทนนักเรียน 2 คนออกหมุนเข็มยาวที่นาฬิกาจำลองให้ชี้ที่เลข 9 และเลข 5 จากนั้นครูให้นักเรียน
ร่วมกันตอบคำถามว่า เวลาทั้งสองรวมกันเป็นเท่าไร (1 ชั่วโมง 10 นาที หรือ 70 นาที)
2. ครูตั้งคำถามนักเรียนว่า จากกิจกรรมดังกล่าว นักเรียนสามารถหาคำตอบได้อย่างไร
(นำเวลามารยมกัน)
ขั้นสอน
1. ครูติดโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาบนกระดาน พร้อมทั้งอ่านโจทย์ให้นักเรียน
อ่านตาม ดังนี้
2. ครูให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้
- สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร (แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนมนานเท่าใด)
- สิ่งที่โจทย์บอกคืออะไร (แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 ชั่วโมง 35 นาที และ
กลับมาทำขนมใช้เวลา 1 ชั่วโมง 43 นาที)
- ใช้วิธีใดหาคำตอบ (วิธีบวก)
3. ครูและนักเรียนช่วยกันแสดงแนวคิดในการหาคำตอบ ดังนี้
ชั่วโมง นาที
แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 35
+
และกลับมาทำขนมใช้เวลา 1 43
2 78 (เนื่องจาก 60 นาที
เท่ากับ 1 ชั่วโมง)
แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนม 3 18
ตอบ แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนม ๓ ชั่วโมง ๑๘ นาที
ครูอธิบายขั้นตอนวิธีการเขียนแสดงวิธีทำ เช่น เขียนหน่วยชั่วโมง นาที ไว้ด้านบน
ก่อนจากนั้นเขียนข้อความและตัวเลขที่เป็นตัวตั้ง และตัวบวก ตามลำดับ
4. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ในการหาคำตอบให้
นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์และแสดงวิธีทำอีก 2-3 ตัวอย่าง
แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 ชั่วโมง 35 นาที และกลับมาทำขนมใช้เวลา 1
ชั่วโมง 43 นาที แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนมนานเท่าใด
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
5. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรม
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก
เกี่ยวกับเวลาได้นั้น ต้องศึกษาก่อนว่าโจทย์ต้องการให้หาอะไร โจทย์กำหนดสิ่งใดมาให้ พร้อมทั้ง
ตรวจสอบหน่วยเวลาที่ให้ว่าเป็นหน่วยเดียวกันหรือไม่
สื่อการเรียนรู้
1. นาฬิกาจำลอง
2. โจทย์ปัญหาการบวก
3. แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก
ทักษะ
แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ
สังเกตพฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
สังเกตพฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
ความคิดเห็นผู้บริหาร
ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ
(นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี
..../................../........
บันทึกหลังการเรียนการสอน
1. ผลการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
2. ปัญหาและอุปสรรค
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา
ลงชื่อ.....................................ผู้สอน
(นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา)
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง
เรื่อง โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ
วัดและนำไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา
สาระสำคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ต้องทราบสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์
ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และ
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. แก้โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาได้ (K)
2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาตามที่กำหนดได้
(P)
3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A)
สาระการเรียนรู้
โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา
2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3. ความสามารถในการเชื่อมโยง
4. ความสามารถในการให้เหตุผล
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียน 2 คน ออกมาหมุนเข็มนาฬิกาแสดงเวลาที่นักเรียนตื่นนอนของตนเอง แล้ว
ให้นักเรียนตอบคำถาม เช่น
นักเรียนคนที่ 1 ตื่นนอนเวลาใด (5 นาฬิกา 30 นาที)
นักเรียนคนที่ 2 ตื่นนอนเวลาใด (6 นาฬิกา 40 นาที)
นักเรียนทั้งสองคนตื่นนอนต่างกันเป็นเวลาเท่าใด (1 ชั่วโมง 10 นาที)
ขั้นสอน
1. ครูนำเสนอสถานการณ์โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา พร้อมทั้ง
อ่านโจทย์ให้นักเรียนอ่านตาม ดังนี้
2. ครูให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้
- สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร (สายฝนใช้เวลาทำการบ้านนานกว่าสุดใจเท่าใด)
- สิ่งที่โจทย์บอกคืออะไร (สุดใจทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 30 นาที สายฝนใช้เวลาทำ
การบ้าน 1 ชั่วโมง 45 นาที)
- ใช้วิธีใดหาคำตอบ (วิธีลบ)
3. ครูอธิบายวิธีการวางแผนแก้โจทย์ปัญหา และถามนักเรียนว่าคำตอบที่ได้คือเท่าใด
(สายฝนใช้เวลาทำการบ้านนานกว่าสุดใจ 15 นาที) ดังนี้
สุดทำทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 30 นาที
สายฝนใช้เวลาทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 45 นาที
4. ครูติดโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์
ปัญหา ดังนี้
สุดใจทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 30 นาที สายฝนใช้เวลาทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 45
นาที สายฝนใช้เวลาทำการบ้านนานกว่าสุดใจเท่าใด
สายฝนใช้เวลาทำ
การบ้านนานกว่าสุดใจ
มาลาอ่านหนังสือวันละ 3 ชั่วโมง 30 นาที นอนวันละ 10 ชั่วโมง
มาลานอนมากกว่าอ่านหนังสือกี่ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
5. ครูให้นักเรียนทำใบงานในแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและ
ระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
เฉลยกิจกรรมในใบงาน
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ
ระยะเวลาจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบ
ได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และการตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ
สื่อการเรียนรู้
1. นาฬิกาจำลอง
2. แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา
การวัดผลและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก
ทักษะ
แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2. ด้านทักษะ
กระบวนการ
สังเกตพฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
ทักษะกระบวนการ
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
สังเกตพฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
แบบสังเกต
พฤติกรรมด้าน
คุณลักษณะ
ที่พึงประสงค์
นักเรียนได้คะแนนระดับ
คุณภาพดีขึ้นไป
ความคิดเห็นผู้บริหาร
ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ
(นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา
บันทึกหลังการเรียนการสอน
1. ผลการเรียนรู้
1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ
นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ
2. ปัญหาและอุปสรรค
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา
ลงชื่อ.....................................ผู้สอน
(นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา)
..../................../........
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้.pdf

More Related Content

What's hot

วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำAunop Nop
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals Kartinee
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์guestf4034a
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลAon Narinchoti
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์บุษรากร ขนันทอง
 
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55 ชั้นม. ม.6 (เขียนโปรแกรม)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55  ชั้นม.  ม.6 (เขียนโปรแกรม)แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55  ชั้นม.  ม.6 (เขียนโปรแกรม)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55 ชั้นม. ม.6 (เขียนโปรแกรม)พรทิพย์ ทองไพบูลย์
 

What's hot (20)

วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์ค่ายคณิตศาสตร์
ค่ายคณิตศาสตร์
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผลแบบทดสอบ การให้เหตุผล
แบบทดสอบ การให้เหตุผล
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55 ชั้นม. ม.6 (เขียนโปรแกรม)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55  ชั้นม.  ม.6 (เขียนโปรแกรม)แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55  ชั้นม.  ม.6 (เขียนโปรแกรม)
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 55 ชั้นม. ม.6 (เขียนโปรแกรม)
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้.pdf

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดnuaof
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้Aon Narinchoti
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลายสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลายAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายจุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายAon Narinchoti
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นApichaya Savetvijit
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้.pdf (20)

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
Lead2
Lead2Lead2
Lead2
 
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐานแผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
แผนการวัดผล(ตัวชี้วัด)ม.3พื้นฐาน
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลายสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ม.ปลาย
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลายจุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
จุดมุ่งหมาย ม.ปลาย
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 

แผนการจัดการเรียนรู้.pdf

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กำหนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและ นำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และการ นำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 2. เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับ ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ จำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและ การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูป กระจาย - การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวน 3. บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดง ปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงสิ่งต่างๆ ตามเศษส่วนที่กำหนด 4. เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัว ส่วน เศษส่วน - เศษส่วนที่มีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับ ตัวส่วน - การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ เศษส่วน 5. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยค สัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนไม่ เกิน 100,000 และ 0 6. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์ แสดงการคูณของจำนวน 1 หลักกับจำนวนไม่เกิน 4 หลัก และ จำนวน 2 หลักกับจำนวน 2 หลัก 7. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวน นับไม่เกิน 100,000 และ 0 - การบวกและการลบ - การคูณ การหารยาวและการหารสั้น - การบวก ลบ คูณ หารระคน - การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ ปัญหา พร้อมทั้งหาคำตอบ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 8. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 9. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 10. หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วน เท่ากันและผลบวกไม่เกิน 1 และหาผล ลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน 11. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ บวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและ ผลบวกไม่เกิน 1 และโจทย์ปัญหาการ ลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การบวก การลบเศษส่วน - การบวกและการลบเศษส่วน - การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ ปัญหาการลบเศษส่วน สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ นำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของ จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่าๆ กัน แบบรูป - แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ทีละเท่าๆ กัน สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กำหนดให้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 - -
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและ นำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับเงิน 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา เงิน - การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดง จำนวนเงิน แบบใช้จุด - การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการ แลกเงิน - การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลา - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที - การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที - การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที - การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ ระบุเวลา - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลา 3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวที่ เหมาะสมวัดและบอกความยาวของสิ่ง ต่างๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร 4. คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็น เซนติเมตร 5. เปรียบเทียบความยาวระหว่าง เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับ เซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จาก สถานการณ์ต่างๆ ความยาว - การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและ มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร - การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่ เหมาะสม - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เป็นเซนติเมตร - การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
  • 5. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 6. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็น เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและ เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร 7. เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและ บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม 8. คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็น ขีด 9. เปรียบเทียบน้ำหนักระหว่างกิโลกรัม และกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จาก สถานการณ์ต่างๆ 10. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม กับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม น้ำหนัก - การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม - การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและ เป็นขีด - การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก 11. เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและ เปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตร และมิลลิลิตร 12. คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร 13. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วย เป็นลิตรและมิลลิลิตร น้ำหนัก - การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตร และมิลลิลิตร - การเลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม - การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็น ลิตร - การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับ มิลลิลิตร - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร และความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและ มิลลิลิตร
  • 6. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกน สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร รูปเรขาคณิตสองมิติ - รูปที่มีแกนสมมาตร สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. เขียนแผนภูมิรูปภาพ และใช้ข้อมูลจาก แผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ โจทย์ปัญหา 2. เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็น จำนวนนับ และใช้ข้อมูลจากตารางทาง เดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ ข้อมูล - การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนก ข้อมูล - การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ - การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว (one – way table) สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 - -
  • 7. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ชั่วโมง/ปี ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวน การเรียงลำดับจำนวน แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นและลดลง การบวกจำนวนนับที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 การบวกจำนวนสามจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ ปัญหาการบวก การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100,000 การลบจำนวนสามจำนวน การหาตัวไม่ทราบ ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนไม่เกินสี่หลัก การคูณกับจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก โจทย์ ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การหารที่มีตัวตั้งไม่เกินสี่หลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก การหา ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครื่องมือวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ เป็นเซนติเมตร การ เปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว รูป ที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การเรียงลำดับเศษส่วน การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกน้ำหนัก เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสม การคาดคะเนน้ำหนักเป็น กิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตัน กับกิโลกรัม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนัก การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเลือก เครื่องตวงที่เหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนก ข้อมูล การอ่านและเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและเขียนตารางทางเดียว การบอกเวลาเป็นนาฬิกา และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบ ระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่างๆ การบอกจำนวนเงินและ เขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดและการอ่าน การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน คำอธิบายรายวิชา
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดย การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจำวัน อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้อย่างเป็นระบบ มี ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นใน ตนเอง ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม 28 ตัวชี้วัด
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา บทที่/เรื่อง เวลา (ชั่วโมง) ภาคเรียนที่ 1 บทที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 บทที่ 2 การบวกและการลบจำนวนนับไม่เกิน 100,000 บทที่ 3 เวลา บทที่ 4 รูปเรขาคณิต บทที่ 5 แผนภูมิรูปภาพและตารางทางเดียว บทที่ 6 เศษส่วน บทที่ 7 การคูณ 18 28 16 2 7 16 18 รวมภาคเรียนที่ 1 105 โครงสร้างเวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชม.) เวลา ค 2.1 ป.3/1 การบอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกาจะบอกเป็นนาฬิกา กับนาที และสามารถบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็น นาที ซึ่งนำมาเปรียบเทียบได้ ส่วนการเขียนและ การอ่านเวลาสามารถใช้มหัพภาค (.) และทวิภาค (:) ซึ่งนำไปใช้ในการอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมที ระบุได้ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับเวลาเป็นการนำเวลา ในหน่วยเดียวกันมาบวก ลบ คูณ หารกัน 16 โครงสร้างรายวิชา
  • 11. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ เรื่อง จำนวน (ชั่วโมง) 1 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 1 2 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 1 3 การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที 1 4 การอ่านและเขียนบอกเวลาทีมีมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) 1 5 การอ่านและเขียนบอกเวลาทีมีมหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) 1 6 การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที 1 7 การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที 1 8 การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที 1 9 การเปรียบเทียบระยะเวลา 1 10 การเปรียบเทียบระยะเวลา 1 11 โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1 12 โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1 13 โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1 14 โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา 1 15 การอ่านบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา 1 16 การเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา 1 รวม 16 กำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา
  • 12. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของ สิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และ ระยะเวลา
  • 13. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง เรื่อง การเปรียบเทียบระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง สอนวันที่...25.... เดือน...สิงหาคม........ พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วัดและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา สาระสำคัญ ชั่วโมงกับนาที มีความสัมพันธ์กัน คือ 1 ชั่วโมง เท่ากับ 60 นาที การเปรียบเทียบระยะเวลา ต้องเปลี่ยนเวลาเป็นหน่วยเดียวกันก่อน โดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลาแล้วจึงนำมาเปรียบเทียบ กัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบระยะเวลาได้ (K) 2. แสดงการเปรียบเทียบระยะเวลาได้ (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทียบระยะเวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง 3. ความสามารถในการให้เหตุผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
  • 14. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวน เรื่อง การบอกเวลา โดยนำบัตรภาพนาฬิกาที่แสดงเวลามาให้นักเรียนดู จากนั้นเปิดเพลงให้นักเรียนส่งบัตรภาพนี้ไปเรื่อย ๆ เมื่อเพลงหยุดแล้วบัตรภาพอยู่ที่ใครให้คนนั้นตอบ คาถามว่า เป็นเวลาเท่าใด ประมาณ 2 – 3 ข้อ 2. ครูเขียนตัวเลข 5 นาที บนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม ดังนี้ - เวลาใดบ้างน้อยกว่า 5 นาที (0, 1, 2, 3, 4) - เวลาใดบ้างมากกว่า 5 นาที (6, 7, 8, 9, 10) - นักเรียนคิดว่าเวลาที่มากกว่า 4 แต่น้อยกว่า 9 นาทีมีเวลาใดบ้าง (5, 6, 7, 8) ขั้นสอน 1. ครูทบทวนการเปลี่ยนหน่วยเวลาจากหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อย และหน่วยย่อยเป็น หน่วยใหญ่ ให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบ เช่น - 150 นาที เป็นกี่ชั่วโมง กี่นาที เนื่องจาก 60 นาที เป็น 1 ชั่วโมง ดังนั้น 150 ÷ 60 ได้ 2 เศษ 30 จะได้ 150 นาที เป็น 2 ชั่วโมง 30 นาที - 3 ชั่วโมง 35 นาที คิดเป็นกี่นาที เนื่องจาก 60 นาที เป็น 1 ชั่วโมง ดังนั้น 3 × 60 ได้ 180 + 35 = 215 จะได้ 3 ชั่วโมง 35 นาที เป็น 215 นาที 2. ครูแสดงบัตรข้อความที่บอกค่าเวลาต่างกัน 2 บัตร ให้นักเรียนเปรียบเทียบว่าเวลา แตกต่างกันหรือไม่ บัตรใดเวลามากกว่า บัตรใดเวลาน้อยกว่า หรือทั้งสองบัตรเวลาเท่ากัน พร้อมทั้ง บอกเหตุผลที่นักเรียนใช้ตัดสิน ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบ ดังนี้ 3. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ การเปรียบเทียบระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียน ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในแบบฝึกทักษะ 240 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 3 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 30 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 80 นาที 90 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 2 ชั่วโมง 20 นาที 122 นาที มากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ 1 ชั่วโมง 22 นาที
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ วิธีการเปรียบเทียบระยะเวลา อาจเปรียบเทียบได้โดยทำหน่วยเวลาที่ต้องการเปรียบเทียบให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน แล้วจึง เปรียบเทียบ สื่อการเรียนรู้ 1. บัตรภาพนาฬิกา 2. บัตรข้อความ 3. แบบฝึกทักษะ เรื่องเวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก ทักษะ แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน คุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป ความคิดเห็นผู้บริหาร ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ (นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี ..../................../........
  • 16. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา บันทึกหลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา ลงชื่อ.....................................ผู้สอน (นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา) ..../................../........
  • 17. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง เรื่อง การเปรียบเทียบระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง สอนวันที่...26.... เดือน...สิงหาคม......พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วัดและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา สาระสำคัญ ชั่วโมงกับนาที มีความสัมพันธ์กัน คือ 1 ชั่วโมง เท่ากับ 60 นาที การเปรียบเทียบระยะเวลา ต้องเปลี่ยนเวลาเป็นหน่วยเดียวกันก่อน โดยใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลาแล้วจึงนำมาเปรียบเทียบ กัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบระยะเวลาได้ (K) 2. แสดงการเปรียบเทียบระยะเวลาได้ (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทียบระยะเวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง 3. ความสามารถในการให้เหตุผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
  • 18. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในชั่วโมงที่ผ่านมา เรื่อง การเปรียบเทียบระยะเวลา โดยครู แสดงบัตรข้อความแสดงเวลา 1 ชั่วโมง 20 นาที แล้วครูถามนักเรียนคิดเป็นกี่นาที และมีวิธีคิดอย่างไร (80 นาที เท่ากับ 60 + 20 นาที) 2. ครูนักเรียนอ่านโจทย์แล้วตอบคำถาม ดังนี้ - 4 ชั่วโมง 5 นาที คิดเป็นกี่นาที (245 นาที) - 1 ชั่วโมง 28 นาที คิดเป็นกี่นาที (88 นาที) - 75 นาที คิดเป็นกี่ชั่วโมง กี่นาที (1 ชั่วโมง 15 นาที) - 158 นาที คิดเป็นกี่ชั่วโมง กี่นาที (2 ชั่วโมง 38 นาที) ขั้นสอน 1. ครูอธิบายความรู้ว่าชั่วโมงกับนาที มีความสัมพันธ์กันดังนี้ ดังนั้น การเปรียบเทียบเวลาต้องเปลี่ยนเวลาเป็นหน่วยเดียวกันก่อน โดยใช้ ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา แล้วจึงนำมาเปรียบเทียบกัน 2. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบระยะเวลาระหว่าง 150 นาที กับ 1 ชั่วโมง โดยใช้คำว่า “มากกว่า” หรือ “น้อยกว่า” จะใช้อย่างไร (150 นาที มากกว่า 1 ชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง มากกว่า 150 นาที) 3. ครูยกตัวอย่างการเปรียบเทียบระยะเวลาเพิ่มเติมอีก 2 – 3 ตัวอย่าง เพื่อให้นักเรียน เกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น เช่น 4. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ การเปรียบเทียบระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียน ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในแบบฝึกทักษะ 1 ชั่วโมง 20 นาที กับ 90 นาที 256 นาที กับ 4 ชั่วโมง 26 นาที 5 ชั่วโมง 8 นาที กับ 318 นาที 156 นาที กับ 2 ชั่วโมง 26 นาที 1 ชั่วโมง เท่ากับ 60 นาที
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ วิธีการเปรียบเทียบระยะเวลา อาจเปรียบเทียบได้โดยทำหน่วยเวลาที่ต้องการเปรียบเทียบให้เป็นหน่วยเดียวกันก่อน แล้วจึง เปรียบเทียบ สื่อการเรียนรู้ แบบฝึกทักษะ เรื่องเวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก ทักษะ แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน คุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป ความคิดเห็นผู้บริหาร ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ (นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี ..../................../........
  • 20. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา บันทึกหลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา ลงชื่อ.....................................ผู้สอน (นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา) ..../................../........
  • 21. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง สอนวันที่ 29 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วัดและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา สาระสำคัญ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ต้องทราบสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์ ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และ การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. แก้โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาได้ (K) 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาตามที่กำหนดได้ (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการเชื่อมโยง 4. ความสามารถในการให้เหตุผล
  • 22. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับเวลา โดยแสดงบัตรคำ 20 นาฬิกา 19 นาที จากนั้นครูให้ ตัวแทนนักเรียนหญิงออกมา หมุนเข็มนาฬิกาจำลองให้ตรงกับเวลาที่กำหนด และครูแสดงบัตรคำ 6 นาฬิกา 56 นาที ให้ตัวแทนนักเรียนชายออกมาหมุนเข็มนาฬิกาจำลองให้ตรงกับเวลาที่กำหนด ครู ยกตัวอย่างอีก 2-3 ตัวอย่าง เพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนเรื่อง การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที ขั้นสอน 1. ครูนำเสนอสถานการณ์โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา พร้อมทั้ง อ่านโจทย์ให้นักเรียนอ่านตาม ดังนี้ 2. ครูให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้ - สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร (ปอทำการบ้านนานเท่าใด) - สิ่งที่โจทย์บอกคืออะไร (ปอทำการบ้านคณิตศาสตร์ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 18 นาที และทำการบ้านภาษาไทยใช้เวลา 1 ชั่วโมง 24 นาที) - ใช้วิธีใดหาคำตอบ (วิธีบวก) 3. ครูอธิบายวิธีการวางแผนแก้โจทย์ปัญหา และถามนักเรียนว่าคำตอบที่ได้คือเท่าใด (ปอทำการบ้านนาน 3 ชั่วโมง 42 นาที) ดังนี้ ทำการบ้านคณิตศาสตร์ 2 ชั่วโมง 18 นาที ทำการบ้านภาษาไทย 1 ชั่วโมง 24 นาที 4. ครูติดโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ ปัญหา ดังนี้ ปอทำการบ้านคณิตศาสตร์ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 18 นาที และทำการบ้านภาษาไทย ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 24 นาที ปอทำการบ้านนานเท่าใด ปอใช้เวลาในการทำการบ้าน แตงเดินออกจากบ้านเวลา 15 นาฬิกา 20 นาที ถึงตลาดใช้เวลา 45 นาที แตงจะถึงตลาดเวลาเท่าใด
  • 23. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา 5. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรม ในใบงานที่ 11 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลาจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบ ได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบ สื่อการเรียนรู้ 1. นาฬิกาจำลอง 2. ใบงานที่แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก ทักษะ แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน คุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป ความคิดเห็นผู้บริหาร ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ (นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี ..../................../........
  • 24. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา บันทึกหลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา ลงชื่อ.....................................ผู้สอน (นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา) ..../................../........
  • 25. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง สอนวันที่ 30 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วัดและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา สาระสำคัญ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ต้องทราบสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์ ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และ การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. แก้โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาได้ (K) 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาตามที่กำหนดได้ (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการเชื่อมโยง 4. ความสามารถในการให้เหตุผล
  • 26. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับการบอกเวลา และระยะเวลาที่มีหน่วยเดียวกัน โดยให้ ตัวแทนนักเรียน 2 คนออกหมุนเข็มยาวที่นาฬิกาจำลองให้ชี้ที่เลข 9 และเลข 5 จากนั้นครูให้นักเรียน ร่วมกันตอบคำถามว่า เวลาทั้งสองรวมกันเป็นเท่าไร (1 ชั่วโมง 10 นาที หรือ 70 นาที) 2. ครูตั้งคำถามนักเรียนว่า จากกิจกรรมดังกล่าว นักเรียนสามารถหาคำตอบได้อย่างไร (นำเวลามารยมกัน) ขั้นสอน 1. ครูติดโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาบนกระดาน พร้อมทั้งอ่านโจทย์ให้นักเรียน อ่านตาม ดังนี้ 2. ครูให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้ - สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร (แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนมนานเท่าใด) - สิ่งที่โจทย์บอกคืออะไร (แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 ชั่วโมง 35 นาที และ กลับมาทำขนมใช้เวลา 1 ชั่วโมง 43 นาที) - ใช้วิธีใดหาคำตอบ (วิธีบวก) 3. ครูและนักเรียนช่วยกันแสดงแนวคิดในการหาคำตอบ ดังนี้ ชั่วโมง นาที แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 35 + และกลับมาทำขนมใช้เวลา 1 43 2 78 (เนื่องจาก 60 นาที เท่ากับ 1 ชั่วโมง) แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนม 3 18 ตอบ แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนม ๓ ชั่วโมง ๑๘ นาที ครูอธิบายขั้นตอนวิธีการเขียนแสดงวิธีทำ เช่น เขียนหน่วยชั่วโมง นาที ไว้ด้านบน ก่อนจากนั้นเขียนข้อความและตัวเลขที่เป็นตัวตั้ง และตัวบวก ตามลำดับ 4. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ในการหาคำตอบให้ นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์และแสดงวิธีทำอีก 2-3 ตัวอย่าง แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 ชั่วโมง 35 นาที และกลับมาทำขนมใช้เวลา 1 ชั่วโมง 43 นาที แม่ใช้เวลาไปตลาดและทำขนมนานเท่าใด
  • 27. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา 5. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรม ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก เกี่ยวกับเวลาได้นั้น ต้องศึกษาก่อนว่าโจทย์ต้องการให้หาอะไร โจทย์กำหนดสิ่งใดมาให้ พร้อมทั้ง ตรวจสอบหน่วยเวลาที่ให้ว่าเป็นหน่วยเดียวกันหรือไม่ สื่อการเรียนรู้ 1. นาฬิกาจำลอง 2. โจทย์ปัญหาการบวก 3. แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก ทักษะ แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน คุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป
  • 28. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ความคิดเห็นผู้บริหาร ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ (นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี ..../................../........ บันทึกหลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา ลงชื่อ.....................................ผู้สอน (นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา) ..../................../........
  • 29. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เวลา เวลาเรียน 16 ชั่วโมง เรื่อง โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา เวลาเรียน 1 ชั่วโมง สอนวันที่ 31 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2565 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ผู้สอน นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา ................................................................................................................................................................ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการ วัดและนำไปใช้ ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา สาระสำคัญ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลา ต้องทราบสิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์ ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และ การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. แก้โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาได้ (K) 2. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลา และระยะเวลาตามที่กำหนดได้ (P) 3. นำความรู้เกี่ยวกับเวลาและระยะเวลาไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ (A) สาระการเรียนรู้ โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ความสามารถในการสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 3. ความสามารถในการเชื่อมโยง 4. ความสามารถในการให้เหตุผล
  • 30. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียน 2 คน ออกมาหมุนเข็มนาฬิกาแสดงเวลาที่นักเรียนตื่นนอนของตนเอง แล้ว ให้นักเรียนตอบคำถาม เช่น นักเรียนคนที่ 1 ตื่นนอนเวลาใด (5 นาฬิกา 30 นาที) นักเรียนคนที่ 2 ตื่นนอนเวลาใด (6 นาฬิกา 40 นาที) นักเรียนทั้งสองคนตื่นนอนต่างกันเป็นเวลาเท่าใด (1 ชั่วโมง 10 นาที) ขั้นสอน 1. ครูนำเสนอสถานการณ์โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา พร้อมทั้ง อ่านโจทย์ให้นักเรียนอ่านตาม ดังนี้ 2. ครูให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ปัญหา โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้ - สิ่งที่โจทย์ถามคืออะไร (สายฝนใช้เวลาทำการบ้านนานกว่าสุดใจเท่าใด) - สิ่งที่โจทย์บอกคืออะไร (สุดใจทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 30 นาที สายฝนใช้เวลาทำ การบ้าน 1 ชั่วโมง 45 นาที) - ใช้วิธีใดหาคำตอบ (วิธีลบ) 3. ครูอธิบายวิธีการวางแผนแก้โจทย์ปัญหา และถามนักเรียนว่าคำตอบที่ได้คือเท่าใด (สายฝนใช้เวลาทำการบ้านนานกว่าสุดใจ 15 นาที) ดังนี้ สุดทำทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 30 นาที สายฝนใช้เวลาทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 45 นาที 4. ครูติดโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์ ปัญหา ดังนี้ สุดใจทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 30 นาที สายฝนใช้เวลาทำการบ้าน 1 ชั่วโมง 45 นาที สายฝนใช้เวลาทำการบ้านนานกว่าสุดใจเท่าใด สายฝนใช้เวลาทำ การบ้านนานกว่าสุดใจ มาลาอ่านหนังสือวันละ 3 ชั่วโมง 30 นาที นอนวันละ 10 ชั่วโมง มาลานอนมากกว่าอ่านหนังสือกี่ชั่วโมง
  • 31. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา 5. ครูให้นักเรียนทำใบงานในแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลา เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน เฉลยกิจกรรมในใบงาน ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและ ระยะเวลาจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ กับสิ่งที่โจทย์ถาม ซึ่งสามารถหาคำตอบ ได้โดยการวิเคราะห์โจทย์ วางแผนแก้โจทย์ปัญหา การแก้ปัญหา และการตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของคำตอบ สื่อการเรียนรู้ 1. นาฬิกาจำลอง 2. แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา การวัดผลและประเมินผล สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ทำกิจกรรมจากแบบฝึก ทักษะ แบบฝึกทักษะ 70% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมิน 2. ด้านทักษะ กระบวนการ สังเกตพฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน ทักษะกระบวนการ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ สังเกตพฤติกรรมด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ แบบสังเกต พฤติกรรมด้าน คุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ นักเรียนได้คะแนนระดับ คุณภาพดีขึ้นไป ความคิดเห็นผู้บริหาร ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ (นางสาวกฤษลดา กฤชสุวรรณวุฒิ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาดินวังตาสี ..../................../........
  • 32. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา โดยนางสาวพุทธิดา สุทธิประภา บันทึกหลังการเรียนการสอน 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 ผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 1.2 ผลการประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดับดีมาก คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับดี คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับพอใช้ คน คิดเป็นร้อยละ นักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง คน คิดเป็นร้อยละ 2. ปัญหาและอุปสรรค 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปัญหา ลงชื่อ.....................................ผู้สอน (นางสาวพุทธิดา สุทธิประภา) ..../................../........