SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
การศึกษาการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
นาเสนอ
อาจารย์ฉิมพลี วิมลธรรม
จัดทาโดย
1. เด็กชายชยุต ชาญวนิชย์กุลชัย ม. 101 เลขที่ 6
2. เด็กชายณัทพัฒน์ พนาถิรกุล ม. 101 เลขที่ 13
3. เด็กชายปพนธีร์ นุ่มวงษ์ ม. 101 เลขที่ 28
บทที่ 1 บทนา
ภูมิหลัง
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์ ถือว่ามีความสาคัญเป็นอย่างมากในทางวิทยาศาสตร์
หลักเกณฑ์การตั้งชื่อคือ การใช้ชื่อของคลาสในการจาแนกในเบื้องต้นและมีสับสปีชีส์ตามมา
ด้านท้าย การจัดทาโครงงานนี้มีจุดประสงค์หลักคือ การที่จะทาให้จดจาชื่อทางวิทยาศาสตร์
ของสัตว์ได้มากขึ้น
จากการถามเพื่อนเกี่ยวกับหลักการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ พบปัญหาคือ ชื่อทาง
วิทยาศาสตร์ของสัตว์มีความยาวมาก ภาษาที่ใช้เขียนไม่คุ้นเคย ซึ่งยากต่อการจดจา ทาให้
คณะผู้จัดทามีความสนใจในการหาหลักการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์
ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า และ ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า
ความสาคัญ
เพื่อให้เกิดความจาและเข้าใจเรื่องชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้มากขึ้น โดยใช้หลักการ
หรือวิธีการจาที่ง่าย และนาไปใช้ในการศึกษาในวิชาชีววิทยาระดับสูงต่อไป
ความมุ่งหมาย
1. เพื่อให้สามารถจดจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้มากขึ้น
2. เพื่อให้เข้าใจกระบวนการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้มากขึ้น
3. เพื่อศึกษาวิธีการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
ประชากร
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
จานวน 60 คน
กลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ได้จากการสุ่มแบบรับสมัคร
จากนักเรียน 4 ห้อง ห้องละ 15 คน
รวมจานวนนักเรียน 60 คน
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. ICBN หมายถึง International Code of Botanical Nomenclature
หรือที่เรียกว่าการตรวจสอบชื่อทาง วิทยาศาสตร์ของพืช
2. ICZN หมายถึง International Code of Zoological Nomenclature
หรือทีเรียกว่าการตรวจสอบชื่อทาง วิทยาศาสตร์ของสัตว์
บทที่ 2
เอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
1. สัตว์เลื้อยคลาน
1.1 จระเข้น้าจืด (Crocodylus siamensis)
1.2 งูหลาม (Python bivittatus)
1.3 เต่าตนุ (Chelonia mydas)
1.4 กิ้งก่า (Heloderma horridum)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
2. สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
2.1 กบนา (Rana rugulosa)
2.2 ซาลาแมนเดอร์ (Tylototriton verrucosus)
2.3 เขียด (Ichthyophis kohtaoensis)
2.4 อึ่ง (Glyphoglossus molossus)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
3. ปลา
3.1 ปลากัด (Betta splendens)
3.2 ปลาดุก (Clarias batrachus)
3.3 ปลาหางนกยูง (Poecilia reticulata)
3.4 ปลาทอง (Carassius auratus)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
4. สัตว์ปีก
4.1 นกนางนวล (Charadriiformes)
4.2 นกพิราบ (Columba livia)
4.3 นกฮัมมิ่งเบิร์ด (Loddigesia mirabilis)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
5. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
5.1 ปลาฉลาม (Carchardhinus melanopterus)
5.2 วาฬ (Megaptera novaeangliae)
5.3 กวาง (Rangifer tarandus)
5.4 ค้างคาว (Craseonycteris thonglongyai)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
6. ชื่อทางวิทยาศาสตร์
6.1 ชื่อ Genus อักษรตัวแรกของจีนัสให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่
6.2 การเขียนชื่อทางวิทยาศาสตร์ต้องเป็นตัวเอียง
6.3 จะต้องเป็นภาษาละตินเท่านั้น
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ
การกาหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จานวน 60 คน
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ได้จากการสุ่มแบบรับสมัคร จากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จานวน 4 ห้อง ห้องละ 15 คน รวมจานวนนักเรียน 60 คน
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
การเก็บรวบรวมข้อมูล และ การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เริ่มวันที่ 4 สิงหาคม 2557
จานวนทั้งหมด 60 ฉบับ
ได้แบบสอบถามกลับจานวน 60 ฉบับ
การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
1. แบบสอบถามตอนที่ 1 เป็นแบบนามบัญญัติ
นามาแจกแจงความถี่ และหาค่าร้อยละ
2.แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นแบบประมาณค่า 5
ระดับ นามาหาค่าเฉลี่ย
ระดับเกณฑ์คะแนน
14 – 20 คะแนน ดีมาก
8 – 13 คะแนน ดี
4 – 7 คะแนน พอใช้
1 – 3 คะแนน น้อย
0 คะแนน ควรปรับปรุง
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การนาเสนอข้อมูล
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 4 ห้อง
ห้องละ 15 คน รวมทั้งหมด 60 คน
2. เป็นนักเรียนห้อง Gate Program
ตอนที่ 2 การจัดลาดับการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์
ตารางที่ 1 สภาพการรู้จักชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
จากตารางที่ 1 แสดงสภาพการรู้จักชื่อทางวิทยาศาสตร์
ร้อยละ 56.67 อยู่ในเกณฑ์คะแนน น้อย เป็นส่วนใหญ่
ร้อยละ 36.67 อยู่ในเกณฑ์ ควรปรับปรุง รองลงมา
ระดับเกณฑ์คะแนน จานวนนักเรียน ร้อยละ
ดีมาก 0 0
ดี 0 0
พอใช้ 4 6.67
น้อย 34 56.67
ควรปรับปรุง 22 36.67
ระดับเกณฑ์คะแนน ค่าเฉลี่ย
ดีมาก 0
ดี 0
ปานกลาง 4.50
น้อย 1.47
ควรปรับปรุง 0
รวม 1.13
ตารางที่ 2 การรู้จักชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตารางที่ 2 แสดงการรู้จักชื่อทางวิทยาศาสตร์
นักเรียนส่วนมากมีทักษะการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์โดยรวมอยู่ในระดับคะแนนน้อย ( = 1.13 )
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ
ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า และ วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ความมุ่งหมาย
1. เพื่อให้สามารถจดจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ได้มากขึ้น
2. เพื่อให้เข้าใจกระบวนการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์
3. เพื่อศึกษาวิธีการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสัตว์
วิธีดาเนินการ
1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าคือ แบบทดสอบ
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
1.นักเรียนได้ 14 - 20 คะแนน จานวน 0 คน
2. นักเรียนได้ 8 - 13 คะแนน จานวน 0 คน
3. นักเรียนได้ 4 -7 คะแนน จานวน 4 คน
4. นักเรียนได้ 1- 3 คะแนน จานวน 34 คน
5. นักเรียนได้ 0 คะแนน จานวน 22 คน
0
5
10
15
20
25
30
35
ดีมาก ดี ปานกลาง น้อย ควรปรับปรุง
ชุดข้อมูล1
จานวนนักเรียน
เกณฑ์คะแนน
แสดงผลสรุปในรูปแผนภูมิกราฟแท่ง
อภิปรายผล
สรุปผลการศึกษาเรื่องการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผลคะแนนส่วนใหญ่อยู่ในระดับน้อย (ร้อยละ56.67)
ผลคะแนนรองลงมาอยู่ในระดับควรปรับปรุง (ร้อยละ36.67)
เนื่องจากชื่อทางวิทยาศาสตร์มีจานวนมาก ในการเขียนชื่อทางวิทยาศาสตร์แต่ละ
ชื่อนั้นมีความยาวมากเช่นกัน รวมถึงการใช้ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาลาติน มาเป็น
รากศัพท์ของชื่อด้วย ทาให้เกิดความยากและความสับสนในการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ ทา
ให้ผลการทดสอบออกมา อยู่ในเกณฑ์ระดับน้อยหรือควรปรับปรุง
ข้อเสนอแนะ
การใช้วิธีหรือหลักการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ในระยะเวลาที่สั้นเกินไป ทา
ให้ผลการทดสอบระดับคะแนนอยู่ในเกณฑ์น้อยหรือควรปรับปรุง
ข้อเสนอแนะคือ ควรใช้หลักการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการท่องจา
อย่างต่อเนื่องหรือใช้ทักษะการเขียนศัพท์อยู่เป็นประจา เพื่อเป็นการทบทวนชื่อ
ทางวิทยาศาสตร์ ก็จะทาให้ได้ผลดียิ่งขึ้น
นอกจากนี้ยังมีรูปแบบหรือวิธีการจาชื่อทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบอื่นๆ ที่
น่าสนใจในการทาการทดสอบในครั้งต่อไป
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558Anusara Sensai
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555jammaree samanchat
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1Thayacup
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...Nattapon
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาCoverslide Bio
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 

What's hot (19)

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา2555
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
Chulalongkorn
ChulalongkornChulalongkorn
Chulalongkorn
 
Thai Research
Thai ResearchThai Research
Thai Research
 
การศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
นำเสนอธาลัสซีเมียใหม่ 1
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 

Similar to การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน

ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่aapiaa
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8kruchaily
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 

Similar to การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน (20)

R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
M6 126 60_5
M6 126 60_5M6 126 60_5
M6 126 60_5
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
Present วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียนPresent วิจัยในชั้นเรียน
Present วิจัยในชั้นเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 

การศึกษาการจำชื่อทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน