SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
การจัดประสบการณ์
การศึกษาแบบเรียนรวม
สาหรับเด็กปฐมวัย
อ.ตฤณ แจ่มถิน
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
• การศึกษาปกติทั่วไป (Regular Education)
• การศึกษาพิเศษ (Special Education)
• การศึกษาแบบเรียนร่วม (Integrated Education หรือ
Mainstreaming)
• การศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive Education)
รูปแบบการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาสาหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
• เด็กที่มีความต้องการพิเศษทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ถ้าได้รับ
โอกาสในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการพิเศษของเขา
ความหมายของการศึกษาแบบเรียนร่วม
(Integrated Education หรือ Mainstreaming)
• การจัดให้เด็กพิเศษเข้าไปในระบบการศึกษาทั่วไป
• มีกิจกรรมที่ให้เด็กพิเศษกับเด็กทั่วไปได้ทาร่วมกัน
• ใช้ช่วงเวลาช่วงใดช่วงหนึ่งในแต่ละวัน
• ครูปฐมวัยและครูการศึกษาพิเศษร่วมมือกัน
การเรียนร่วมบางเวลา (Integration)
• การจัดให้เด็กพิเศษเรียนในโรงเรียนปกติในบางเวลา
• เด็กพิเศษได้มีโอกาสแสดงออก และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กปกติ
• เป็นเด็กพิเศษที่มีความพิการระดับปานกลางถึงระดับมาก จึงไม่อาจ
เรียนร่วมเต็มเวลาได้
การเรียนร่วมเต็มเวลา (Mainstreaming)
• การจัดให้เด็กพิเศษเรียนในโรงเรียนปกติตลอดเวลาที่เด็กอยู่ในโรงเรียน
• เด็กพิเศษได้รับการจัดกระบวนการเรียนรู้และบริการนอกห้องเรียน
เหมือนเด็กปกติ
การเรียนร่วมเต็มเวลา (Mainstreaming) ต่อ
• มีเป้าหมายเพื่อให้เด็กเข้าใจซึ่งกันและกัน ตอบสนองความต้องการซึ่ง
กันและกันและมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
• เด็กปกติจะยอมรับความหลากหลายของมนุษย์ เข้าใจว่าคนเราเกิดมา
ไม่จาเป็นต้องเหมือนกันทุกอย่าง ท่ามกลางความแตกต่างกัน มนุษย์เรา
ต้องการความรัก ความสนใจ ความเอาใจใส่เช่นเดียวกันทุกคน
ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม
(Inclusive Education)
• การศึกษาสาหรับทุกคน
• รับเด็กเข้ามาเรียนรวมกันตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษา
• จัดให้มีบริการพิเศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล
Wilson , 2007
• การจัดการเรียนการสอนที่ยึดปรัชญาของการอยู่รวมกัน (Inclusion)
เป็นหลัก
• การสอนที่ดี เป็นการสอนที่ครูกับนักเรียนช่วยกันให้ทุกคนเป็นสมาชิกที่
ดีของชุมชน
Wilson , 2007 (ต่อ)
• กิจกรรมทุกชนิดที่จะนาไปสู่การสอนที่ดี (Good Teaching) ต้อง
คิดอย่างรอบคอบเพื่อหาหนทางให้นักเรียนทุกคนสามารถเรียนได้
• เป็นการกาหนดทางเลือกหลายๆ ทาง
"Inclusive Education is Education for all,
It involves receiving people
at the beginning of their education,
with provision of additional services
needed by each individual"
สรุปความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม
• เป็นการจัดการศึกษาที่จัดให้เด็กพิเศษเข้ามาเรียนรวมกับเด็กปกติ โดย
รับเข้ามาเรียนรวมกัน ตั้งแต่เริ่มเข้ารับการศึกษาและจัดให้มีบริการ
พิเศษตามความต้องการของแต่ละบุคคล
• เด็กพิเศษทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ถ้าได้รับโอกาสในการ
เรียนรู้ที่เหมาะสมกับความต้องการพิเศษของเขา
สรุปความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม (ต่อ)
• เกิดจากปรัชญาการศึกษาที่กล่าวไว้ว่า การศึกษาสาหรับทุกคน
(Education for All)
• การเรียนรวม เป็นแนวคิดทางการศึกษาอย่างหนึ่งที่โรงเรียนจะต้องจัด
การศึกษาให้กับเด็กทุกคนโดยไม่มีการแบ่งแยกว่าเด็กคนใดเป็นเด็ก
ปกติ หรือเด็กคนใดเป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
สรุปความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม (ต่อ)
• เด็กเลือกโรงเรียนไม่ใช่โรงเรียนเลือกเด็ก
• เด็กทุกคนที่ผู้ปกครองพาเข้ามาโรงเรียนทางโรงเรียนจะต้องรับเด็กไว้
และจะต้องจัดการศึกษาให้อย่างเหมาะสม และดาเนินการเรียนใน
ลักษณะ “รวมกัน” ที่ทุกคนต่างเป็นส่วนหนึ่ง ของสังคม ทุกคนยอมรับ
ซึ่งกันและกัน
สรุปความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม (ต่อ)
• ทุกคนยอมรับว่ามี ผู้พิการ อยู่ในสังคมและเขาเหล่านั้นต่างก็เป็นส่วน
หนึ่งของสังคมที่จะต้องใช้ชีวิตร่วมกันกับคนปกติ โดยไม่มีการแบ่งแยก
ความสาคัญของการศึกษาแบบเรียนรวม
สาหรับเด็กปฐมวัย
• ปฐมวัยเป็นช่วงเวลาสาคัญที่สุดของการเรียนรู้
• “สอนได้”
• เป็นการจัดการศึกษาสาหรับเด็กพิเศษที่มีขีดจากัดน้อยที่สุด
บทบาทครูปฐมวัย
ในห้องเรียนรวม
ครูไม่ควรวินิจฉัย
• การวินิจฉัย หมายถึงการตัดสินใจโดยดูจากอาการหรือ
สัญญาณบางอย่าง
• จากอาการที่แสดงออกมานั้นอาจนาไปสู่ความเข้าใจผิดได้
ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภทเด็ก
• เกิดผลเสียมากกว่าผลดี
• ชื่อเปรียบเสมือนตราประทับตัวเด็กตลอดไป
• เด็กจะกลายเป็นเช่นนั้นจริงๆ
ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ
• พ่อแม่ของเด็กพิเศษ มักทราบดีว่าลูกของเขามีปัญหา
• พ่อแม่ไม่ต้องการให้ครูมาย้าในสิ่งที่เขารู้อยู่แล้ว
• ครูควรพูดในสิ่งที่เป็นความคาดหวังในด้านบวก แต่ต้องไม่ให้เกิด
ความหวังผิดๆ
• ครูควรรายงานผู้ปกครองว่าเด็กทาอะไรได้บ้าง เท่ากับเป็นการบอกว่า
เด็กทาอะไรไม่ได้
• ครูช่วยให้ผู้ปกครองมีความหวังและเห็นแนวทางที่จะช่วยให้เด็กพัฒนา
ครูทาอะไรบ้าง
• ครูสามารถชี้ให้เห็นถึงพฤติกรรมของเด็กในเรื่องที่เกี่ยวกับ
พัฒนาการต่างๆ
• ให้ข้อแนะนาในการหาบุคลากรที่เหมาะสมในการประเมินผล
หรือวินิจฉัย
• สังเกตเด็กอย่างมีระบบ
• จดบันทึกพฤติกรรมเด็กเป็นช่วงๆ
สังเกตอย่างมีระบบ
• ไม่มีใครสามารถสังเกตอย่างมีระบบได้ดีกว่าครู
• ครูเห็นเด็กในสถานการณ์ต่างๆ ช่วงเวลายาวนานกว่า
• ต่างจากแพทย์ นักจิตวิทยา นักคลินิก มักมุ่งความสนใจอยู่ที่
ปัญหา
การตรวจสอบ
• จะทราบว่าเด็กมีพฤติกรรมอย่างไร
• เป็นแนวทางสาคัญที่ทาให้ครูและพ่อแม่เข้าใจเด็กดีขึ้น
• บอกได้ว่าเรื่องใดบ้างที่เด็กต้องการความช่วยเหลือ
ข้อควรระวังในการปฏิบัติ
• ครูต้องไวต่อความรู้สึกและตัดสินใจล่วงหน้าได้
• ประเมินให้น้าหนักความสาคัญของเรื่องต่างๆได้
• พฤติกรรมบางอย่างของเด็กไม่ได้ปรากฏให้เห็นเสมอไป
การบันทึกการสังเกต
• การนับอย่างง่ายๆ
• การบันทึกต่อเนื่อง
• การบันทึกไม่ต่อเนื่อง
การนับอย่างง่ายๆ
• นับจานวนครั้งของการเกิดพฤติกรรม
• กี่ครั้งในแต่ละวัน กี่ครั้งในแต่ละชั่วโมง
• ระยะเวลาในการเกิดพฤติกรรม
การบันทึกต่อเนื่อง
• ให้รายละเอียดได้มาก
• เขียนทุกอย่างที่เด็กทาในช่วงเวลาหนึ่ง หรือช่วงกิจกรรมหนึ่ง
• โดยไม่ต้องเข้าไปแนะนาช่วยเหลือ
น้อง____ อายุ____ขวบ
บันทึกวันที่ ____
กิจกรรม____
การบันทึกเป็นคาๆ
น้อง ____ อายุ ____ ขวบ
บันทึกวันที่ ____
ช่วงเวลา ____
คาพูดเด็ก
การบันทึกเป็นคาๆ
น้อง______ อายุ____ขวบ
บันทึกวันที่ 26 มกราคม 2558
ช่วงเวลา ____
คาพูดเด็ก
การบันทึกไม่ต่อเนื่อง
• บันทึกลงบัตรเล็กๆ
• เป็นการบันทึกสั้นๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กแต่ละคน
ในช่วงเวลาหนึ่ง
ด.ญ.______
อายุ____ขวบ
บันทึกวันที่ 26 มกราคม 2558
ช่วงเวลา กิจกรรมกลางแจ้ง
การเกิดพฤติกรรมบางอย่างมากเกินไป
• ควรเอาใจใส่ถึงระดับความมากน้อยของความบกพร่อง
มากกว่าชนิดองความบกพร่อง
• พฤติกรรมไม่เหมาะสมที่พบได้ในเด็กทุกคน ไม่ควรจัดเป็นสิ่ง
ผิดปกติ
การตัดสินใจ
• ครูต้องตัดสินใจด้วยความระมัดระวัง
• พฤติกรรมของเด็กที่เกิดขึ้น ไปขัดขวางความสามารถในการ
เรียนรู้ของเด็กหรือไม่

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)Pete Pitch
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfssuserca71fb
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfSophinyaDara
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาDekDoy Khonderm
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจารุวรรณ ชื่นใจชน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5krutitirut
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายBeerza Kub
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]CMRU
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55Decode Ac
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7chunkidtid
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 

What's hot (20)

บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive education)
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5แผนการจัดประสบการณ์   วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
แผนการจัดประสบการณ์ วันลอยกระทง- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 5
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกายหน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 

More from Pitchayakarn Nitisahakul

ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)Pitchayakarn Nitisahakul
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...Pitchayakarn Nitisahakul
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษPitchayakarn Nitisahakul
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษPitchayakarn Nitisahakul
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )Pitchayakarn Nitisahakul
 
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาบทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาPitchayakarn Nitisahakul
 
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองบทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองPitchayakarn Nitisahakul
 

More from Pitchayakarn Nitisahakul (8)

ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program)
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with Behavioral and Emotio...
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
เด็กที่มีความต้องการพิเศษ (Children with special needs )
 
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษาบทท   5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
บทท 5 ร_ปแบบการให_ความร__ผ__ปกครองในสถานศ_กษา
 
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครองบทท   4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
บทท 4 โครงการการให_ความร__ผ__ปกครอง
 

การจัดประสบการณ์ การศึกษาแบบเรียนรวม สำหรับเด็กปฐมวัย