SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ประเภทของ
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกได้หลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่
กับความแตกต่างของขนาดเครื่องความเร็วในการ
ประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่ง
โดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภท
ดังนี้ คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (
Supercomputer) คอมพิวเตอร์เมนเฟรม
(Mainframe computer) มินิคอมพิวเตอร์
(Minicomputer) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop
computer) โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์
(Notebook computer) คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่า
มือ (Hand-held Personal
computer) คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded
computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคา
แพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ทาได้ถึงพันล้าน
คาสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้
เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และ
งานอื่นๆ ที่มีการคานวณที่ซับซอน ปัจจุบันมีการนา
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วน
รถยนต์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบ
งานด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ได้แก่ องค์การนาซา (NASA) และหน่วยงานธุรกิจขนาด
ใหญ่ เช่น บริษัท General Motorsและ AT&T เป็น
ต้น
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe
Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์
คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลาย
ร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มี
หน่วยความจาหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้
เป็นจานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กร
ขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จานวนมากในเวลาเดียวกัน
(Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจอง
ตั๋ว เครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการ
เรียนของนักศึกษาเป็นต้น
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) หรือ
คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี
ประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถใน
การจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์
ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับ
การทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน
จากจุดเริ่มต้นในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภท
นี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาด
หลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูลแก้
ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop
C0mputer) หรือเดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มี
ขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานใน
สานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของตัวเครื่อง
คอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่า
ทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบน
โต๊ะและที่พื้น
5. คอมพิวเตอร์
โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางครั้ง
เรียกว่า แลปท็อปคอมพิวเตอร์
(Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี
ขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้าหนักเบา จึงสามารถ
นาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะ
ในการทางานเทียบเท่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผง
แป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่
ภายในเครื่อง จึงสามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่
ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่
จาเป็นต้องออกนอกสถานที่
นอกจากโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ที่เห็นและใช้งานกันทั่วไป
แล้ว ยังมีคอมพิวเตอร์พกพาที่เริ่มได้ รับความนิยมมากขึ้น
6. คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-
held Personal Computer) หรือเครื่องพีซีขนาด
มือถือ หรือเครื่องพีดีเอ
(Personal Digital Assistant-PDA) เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องคิดเลขขนาด
เล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดยมี
สมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วน
บุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึกตารางนัดหมาย
และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA
(Personal Digital Assistant) บางครั้ง
ก็ เรียกว่า Pen-based Computer เนื่องจากเป็น
คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส
(Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางครั้ง
7. คอมพิวเตอร์แบบ
ฝัง (Embedded Computer) หรือ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็น
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษ
เพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ เช่น บัตร
สมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น
เตาไมโครเวฟ และรถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะและ
ความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วน
บุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่องเวลาและ
อุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็น
ต้น
ขั้นตอนการทา
โครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
ในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนา
โครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5. งานอดิเรกของนักเรียน
6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ
จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น
รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้
อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
1. จะทา อะไร
2. ทาไมต้องทา
3. ต้องการให้เกิดอะไร
4. ทาอย่างไร
5. ใช้ทรัพยากรอะไร
6. ทากับใคร
7. เสนอผลอย่างไร
รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร
ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือราย
กลุ่มก็ได้
ครูที่ปรึกษา
โครงงาน
ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการ
ทาโครงงานของนักเรียน
ครูที่ปรึกษาร่วม
ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้
คาแนะนาในการทาโครงงานของนัีกเรียน
ระยะเวลา
ดาเนินงาน
ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจน
สิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้
แนวคิด ที่มา และ
ความสาคัญ
สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่
จะเกิดผล
วัตถุประสงค์
สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิง
กระบวนการ และผลผลิต
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้
ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย
และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่าง
ทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา
1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้
ผลงานดีขึ้น
2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่่อยทา ส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลงรายละเอียดในการ
ต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษา
ค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน
นักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
5.1 ส่วนนา
5.2 บทนา
5.3 หลักการและทฤษฎี
5.4 วิธีดาเนินการ
5.5 ผลการศึกษา
5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
5.7 ประโยชน์
5.8 บรรณานุกรม
5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน
เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้
ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผล
งานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และ
อธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
THANKYOU

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemAdul Yimngam
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wanvisa Noikaew
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันspimsorn
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นBeerza Kub
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นjintana2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 

What's hot (18)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Chapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer SystemChapter1 Intro to Computer System
Chapter1 Intro to Computer System
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้นคอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
คอมพิวเตอร์เบื้อนต้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Similar to ประเภทคอมพิวเตอร์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์okbeer
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2niramon_gam
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2ratiporn555
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ThaNit YiamRam
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นjintana2
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2peter dontoom
 

Similar to ประเภทคอมพิวเตอร์ (20)

1
11
1
 
computer
computercomputer
computer
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อินเตอเนต2
อินเตอเนต2อินเตอเนต2
อินเตอเนต2
 

ประเภทคอมพิวเตอร์

  • 2. คอมพิวเตอร์สามารถจาแนกได้หลายประเภท ทั้งนี้ ขึ้นอยู่ กับความแตกต่างของขนาดเครื่องความเร็วในการ ประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่ง โดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์เป็น 7ประเภท ดังนี้ คือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ( Supercomputer) คอมพิวเตอร์เมนเฟรม (Mainframe computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook computer) คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่า มือ (Hand-held Personal computer) คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
  • 3. 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคา แพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ทาได้ถึงพันล้าน คาสั่งต่อวินาที ตัวอย่างการใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และ งานอื่นๆ ที่มีการคานวณที่ซับซอน ปัจจุบันมีการนา ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วน รถยนต์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบ งานด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA) และหน่วยงานธุรกิจขนาด ใหญ่ เช่น บริษัท General Motorsและ AT&T เป็น ต้น
  • 4. 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลาย ร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มี หน่วยความจาหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้ เป็นจานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กร ขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จานวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจอง ตั๋ว เครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผลการ เรียนของนักศึกษาเป็นต้น
  • 5. 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถใน การจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าคอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับ การทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้นในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภท นี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาด หลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูลแก้ ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
  • 6. 4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop C0mputer) หรือเดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มี ขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานใน สานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่า ทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบน โต๊ะและที่พื้น
  • 7. 5. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางครั้ง เรียกว่า แลปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้าหนักเบา จึงสามารถ นาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะ ในการทางานเทียบเท่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผง แป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ ภายในเครื่อง จึงสามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่ ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่ จาเป็นต้องออกนอกสถานที่ นอกจากโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ที่เห็นและใช้งานกันทั่วไป แล้ว ยังมีคอมพิวเตอร์พกพาที่เริ่มได้ รับความนิยมมากขึ้น
  • 8. 6. คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand- held Personal Computer) หรือเครื่องพีซีขนาด มือถือ หรือเครื่องพีดีเอ (Personal Digital Assistant-PDA) เป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องคิดเลขขนาด เล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดยมี สมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วน บุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึกตารางนัดหมาย และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA (Personal Digital Assistant) บางครั้ง ก็ เรียกว่า Pen-based Computer เนื่องจากเป็น คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางครั้ง
  • 9. 7. คอมพิวเตอร์แบบ ฝัง (Embedded Computer) หรือ ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็น คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษ เพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ เช่น บัตร สมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น เตาไมโครเวฟ และรถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะและ ความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วน บุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่องเวลาและ อุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็น ต้น
  • 11. 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
  • 12. ในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 5. งานอดิเรกของนักเรียน 6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ
  • 13. 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้ อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า 1. จะทา อะไร 2. ทาไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทาอย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทากับใคร 7. เสนอผลอย่างไร
  • 14. รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือราย กลุ่มก็ได้ ครูที่ปรึกษา โครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และควบคุมการ ทาโครงงานของนักเรียน ครูที่ปรึกษาร่วม ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้ คาแนะนาในการทาโครงงานของนัีกเรียน ระยะเวลา ดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจน สิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้ แนวคิด ที่มา และ ความสาคัญ สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่ จะเกิดผล วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิง กระบวนการ และผลผลิต 3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
  • 15. 4. การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่าง ทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่่อยทา ส่วนที่เป็น ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลงรายละเอียดในการ ต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
  • 16. 5. การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้ 5.1 ส่วนนา 5.2 บทนา 5.3 หลักการและทฤษฎี 5.4 วิธีดาเนินการ 5.5 ผลการศึกษา 5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 5.7 ประโยชน์ 5.8 บรรณานุกรม 5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
  • 17. 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผล งานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และ อธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน