SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
นายเดชกุล มัทวานุกูล
นางสาวปราณี คงพิกุล
นายสุพัฒน์ เศรษฐคมกุล
นางปิ่นทอง ใจสุทธิ
นักทฤษฎีคนสาคัญ
* สลาวิน (Slavin)
*เดวิด จอห์นสัน (David Johnson)
* รอเจอร์ จอห์นสัน (Roger Johnson)
1. เป็นลักษณะแข่งขัน
2. ลักษณะต่างคนต่าง
เรียน
1. มีการพึ่งพาอาศัยกัน
(positive interdependence)
2. มีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด
(face-to-face-promotive interaction)
3. สมาชิกแต่ละคนมีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่
สามารถตรวจสอบได้ (individual accountability)
4. มีการใช้ทักษะการสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และทักษะการ
ทางานกลุ่ม (interpersonal and small-group skills)
5. มีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (Group processing)
ช่วยให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจภายใน
แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ รู้จักใช้เวลา
อย่างมีประสิทธิภาพ และรู้จักคิดอย่าง
มีวิจารณญาณ นอกจากนั้น ผู้เรียน
ยังมีความสัมพันธ์ต่อกันและกันดีขึ้น
และมีสุขภาพจิตดีขึ้น
1. ใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม กับสถานการณ์การสอน
เช่น รูปแบบ “JIGSAW” “STAD”
“TGT” “GI” และ “LT” เป็นต้น
2. ใช้เทคนิคการสอนแบบร่วมมือเพื่อช่วยให้
การเรียนรู้เกิดประสิทธิภาพตามต้องการ เช่น
เทคนิค “ JIGSAW “ “ STAD” “TGT “
“LT” “GI”
3.ใช้เทคนิคการสอนแบบร่วมมือเพื่อ
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม
ต้องการ เช่น เทคนิค “dyad “
“triad” “round robin” “think -
pair - share”
1. การเรียนแบบร่วมมือจะสร้างแรงจูงใจ
ในการเรียนมากกว่าการเรียนรายบุคคล
หรือการแข่งขันความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ของกลุ่มจะสร้างพลังในทางบวกให้แก่กลุ่ม
2. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มจะเรียนรู้จากกันและกัน
จะพึ่งพากันในการเรียนรู้
3. การมีปฎิสัมพันธ์ในกลุ่ม นอกจากจะพัฒนาความรู้
ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา แล้วยังช่วยพัฒนาทักษะทาง
สังคมไปได้ด้วย
4. การเรียนแบบร่วมมือจะเพิ่มพูนความรู้สึกในทางบวก
ต่อกันและกัน
5. การเรียนแบบร่วมมือจะพัฒนาความรู้สึกเห็น
คุณค่าในตนเอง
6. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกันทางาน
มากเท่าใด ผู้เรียนจะสามารถพัฒนาทักษะทาง
สังคม ทักษะการทางานร่วมกันมากขึ้นเท่านั้น
7. ทักษะทางสังคมที่จาเป็นต่าง ๆ สามารถเรียนรู้
และฝึกฝนได้
8. ทาให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง
9. ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
1. รางวัลหรือเป้ าหมายกลุ่ม
(Team rewards or group goals)
2. ความสามารถของแต่ละบุคคลในกลุ่ม
(Individual accountability)
3. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมีโอกาสที่จะช่วย
ให้กลุ่มประสบผลสาเร็จได้เท่าเทียมกัน
(Equal opportunities for success)
1. เป็นกลุ่มหรือเป็นทีม (Team)
2. มีความเต็มใจ (Willing)
3. มีการจัดการ(Management)
4. มีทักษะ (skills)
5. มีหลักการสาคัญ 4 ประการ
5.1 มีการพึ่งพาอาศัยกันและกัน
5.2 มีความรับผิดชอบเป็นรายบุคคล
5.3 มีส่วนร่วมเท่าเทียมกัน
5.4 มีการปฎิสัมพันธ์ไปพร้อม ๆ กัน
การเรียนแบบร่วมมือเป็ นวิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการจัด
สภาพแวดล้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน
ได้เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ
แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความรู้
ความสามารถแตกต่างกัน โดยที่แต่ละคนที่
ส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการเรียนรู้และใน
ความสาเร็จของกลุ่ม
ทั้งโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
การแบ่งปันทรัพยากรการเรียนรู้
รวมทั้งการเป็นกาลังใจแก่กัน
และกัน

More Related Content

Similar to 010การเรียนรู้

บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือjoongka3332
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมหน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมChalit Arm'k
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 

Similar to 010การเรียนรู้ (6)

บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคมหน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
หน่วยที่ 2 กลุ่มสังคม สถาบันและการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 

More from niralai

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10niralai
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชาniralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษาniralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทยniralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนาniralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีลniralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธniralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทยniralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูดniralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษาniralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดีniralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 

More from niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

010การเรียนรู้