SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
๑
ที่มาภาพ : http://th.gofreedownload.net/
คาแนะนา
การใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่
๓ ประกอบด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความทั้งหมด ๖ เล่ม คือ
เล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่านจับใจความ
เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจจากความนิทาน
เล่มที่ ๓ การอ่านจับใจความจากเรื่องเล่า
เล่มที่ ๔ การอ่านจับใจความจากบทร้อยกรอง
เล่มที่ ๕ การอ่านจับใจความจากสาระการเรียนรู้อื่น
เล่มที่ ๖ การอ่านจับใจความจากท้องถิ่นของเรา
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่
๓ จานวน ๖ เล่ม เป็นแบบฝึกทักษะการอ่านที่มีลักษณะแบบฝึกซ้าๆ โดยเปลี่ยนเนื้อหาที่จะ
ให้นักเรียนอ่านหาหลายๆ รูปแบบ โดยอาจจะใช้ประกอบการสอนเสริม หรือให้นักเรียนทา
เป็นการบ้านก็ได้เป็นการเพิ่มพูนทักษะการอ่านของนักเรียน ซึ่งตรงกับเป้าหมายการศึกษาใน
ปัจจุบันที่มุ่งให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ มีความรู้ความเข้าใจเรื่องราวที่อ่านเพื่อให้นักเรียน
สามารถนาความรู้และทักษะในการอ่านที่ได้จากการทากิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจาวัน และการศึกษาหาความรู้ต่อไปในอนาคต
๒
คาชี้แจงสาหรับครู
การนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่านจับใจความไปใช้ให้เกิดประโยชน์สาหรับนักเรียนให้
มากที่สุด ครูควรทาความเข้าใจและปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
๑. ควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ประจาชุดแบบฝึกประกอบการใช้แบบฝึกทักษะ
การอ่านจับใจความให้เข้าใจตลอดทั้งเล่ม แล้วปฏิบัติตามกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู้
๒. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความชุดนี้ใช้ประกอบการสอนนักเรียนที่ต้องการพัฒนา
ทักษะการอ่านจับใจความ หรือใช้สอนเสริมนักเรียนที่เรียนไม่ทันเพื่อน โดยนักเรียนสามารถ
เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
๓. ครูชี้แจงและอธิบายวิธีการศึกษาแบบฝึกทักษะเล่มนี้ให้นักเรียนเข้าใจ โดยละเอียด
๔. เตรียมแบบฝึกทักษะ กระดาษคาตอบให้พร้อม และครบจานวนนักเรียน
๕. เตรียมเฉลยและแบบประเมินผลงานให้พร้อม
๖. เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เอกสารใบความรู้ หนังสือพจนานุกรม เพื่อเป็นแหล่งศึกษา
ค้นคว้าสาหรับนักเรียน
๗. แนะนาให้นักเรียนฝึกอ่านในใจ
๘. การประเมินผลงานที่นักเรียนศึกษาแบบฝึกการอ่านจับใจความด้วยตนเอง ครูควร
อธิบายวิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และกาชับไม่ให้นักเรียนดูเฉลยคาตอบก่อนถึงเวลา
ประเมิน
๙. ควรให้ความเป็นกันเองกับนักเรียนและคอยอานวยความสะดวกในการทากิจกรรม
เพื่อให้เกิดความราบรื่น และเกิดความสุขในการเรียน
ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
๓
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
เล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่านจับใจความ ชุดนี้ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่านจับใจความ สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ดังนี้
๑. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาชุดฝึกซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก
จานวน ๑๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
๒. ศึกษาแบบฝึกทักษะและทากิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีสมาธิและมีความรับผิดชอบ
ต่อตนเอง
๓. อ่านคาชี้แจง จุดประสงค์การเรียนรู้ ใบความรู้ ให้เข้าใจแล้วจึง เริ่มต้นทากิจกรรมใน
แบบฝึกทักษะ
๖. เมื่อทาแบบฝึกเสร็จแล้วให้ตรวจคาตอบจากเฉลย นักเรียนควรมีความซื่อสัตย์ต่อ
ตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบฝึก เพื่อเป็นการตรวจสอบตนเองว่า หลังจากที่ศึกษาแบบฝึก
การอ่านจับใจความนี้แล้นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความได้สูงขึ้นมากน้อย
เพียงใด
๗. ทาแบบทดสอบหลังเรียนประจาชุดฝึกซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก
จานวน ๑๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
๘. สาหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้รับการซ่อมเสริมด้วยการย้อนกลับ
ไปทบทวนแบบฝึกแล้วตอบคาถามใหม่อีกครั้ง จนผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
๔
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด
ป.๓/๑ อ่านออกเสียง ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง
คล่องแคล่ว
ป.๓/๓ ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๓/๔ ลาดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผล
ประกอบ
ป.๓/๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน
ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน
ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
๕
วัตถุประสงค์
ของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ
๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความของนักเรียน
๒. เพื่อฝึกความสามารถในการอ่านจับใจความจากเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน
๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถนาทักษะการอ่านจับใจความ ไปประยุกต์ใช้
ในการดารงชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถตอบคาถามเกี่ยวกับหลักการอ่านจับใจความได้
๒. นักเรียนปฏิบัติการอ่านและบอกข้อคิดของเรื่องที่อ่านได้
๓. นักเรียนเห็นคุณค่าของการอ่านแล้วสรุป และจับใจความเรื่องที่อ่านได้
๖
แบบทดสอบก่อนเรียน
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวและทาเครื่องหมาย X ลงใน
กระดาษคาตอบ (๑๐ คะแนน)
๑. ข้อใดถือว่าเป็นขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ
ก. อ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจ
ข. เรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่อง
ค. อ่านซ้าตอนที่ไม่เข้าใจ
ง. อ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่อง
๒. ข้อใดเป็นความหมายของการอ่านจับใจความ
ก. อ่านเพื่อความรู้
ข. อ่านเพื่อความบันเทิง
ค. อ่านเพื่อหาสาระสาคัญของเรื่อง
ง. อ่านเพื่อค้นหาแนวทางในการดาเนินชีวิต
๓. เมื่อพบศัพท์ยากอ่านแล้วไม่เข้าใจนักเรียนควรทาอย่างไร
ก. ถามคุณครู
ข. เปิดพจนานุกรม
ค. ปล่อยไปก่อน
ง. อ่านข้ามๆ ไปเพื่อความรวดเร็ว
๗
จุดประสงค์การเรียนรู้
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๔ – ๕
เดือนธันวาคมปีนี้อากาศหนาวมาก วันนี้เป็นวันเสาร์ นิดและหน่อยไม่ต้องรีบไป
โรงเรียน แม่ตื่นเช้าเพื่อเตรียมอาหารไว้ให้ลูกๆ วันนี้แม่ทาขนมจีนแกงไก่กับบัวลอยไข่หวาน
นิดชอบรับประทานขนมจีนแกงไก่มาก ส่วนหน่อยชอบรับประทานขนมหวานมากกว่า
๔. เหตุการณ์ในเรื่องนี้อยู่ในช่วงฤดูอะไร
ก. ฤดูหนาว ข. ฤดูฝน
ค. ฤดูร้อน ง. ฤดูแล้ง
๕. ใครชอบรับประทานขนมหวาน
ก. พ่อ ข. นิด
ค. แม่ ง. หน่อย
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๖ – ๗
งูบางชนิดดุร้ายมาก เช่น งูจงอาง ที่พ่อเรียกว่า “งูบอง” งูชนิดนี้ออกหากินตอน
พระอาทิตย์ใกล้จะลับฟ้า มันกินสัตว์จาพวกนก หนู กบ เขียด และแม้แต่กับงูด้วยกันมันก็กินได้
ยิ่งเวลามันออกไข่จะยิ่งมีความดุร้ายมากขึ้นด้วยความหวงไข่ หากคนเข้าใกล้มีหวังโดน
มันไล่ฉกกัดเอา งูจงอางตัวโตประเปรียวและกล้าสู้กับคน พวกเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก
จากเรื่อง ชีวิตบ้านป่า ของ ประสิทธิ์ มุสิกเกษม
๖. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของงูชนิดนี้
ก. กลัวคน ข. ดุร้าย
ค. ตัวโต ง. ประเปรียว
๗. เหตุใดพวกนักเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก
ก. เพราะไม่มียารักษาถ้าถูกกัด ข. เพรามันตัวใหญ่
ค. เพราะมันดุร้าย ง. เพราะมันกล้าสู้คน
๘
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ข้อ ๘ – ๑๐
ธรรมเนียมประเพณี พี่น้องไทยแต่โบราณ
แขกเยือนถึงเรือนชาน ต้องต้อนรับประทับใจ
จนยากวิบากย้า ไม่อับจนน้าหทัยไทย
ทุกยุคทุกสมัย มรดกตกทอดมา
จากหนังสือเพื่อแก้ว ของ ศิวกานท์ ปทุมสูติ
๘. คากลอนนี้กล่าวถึงเรื่องใด
ก. การทามาหากิน ข. การต้อนรับแขก
ค. ประเพณีไทย ง. ความเป็นอยู่ที่ยากไร้
๙. จากคากลอนนี้คนไทยมีนิสัยอย่างไร
ก. ขยัน ข. ประหยัด
ค. อดทน ง. มีน้าใจ
๑๐. บุคคลในข้อใดเป็นคนมีน้าใจ
ก. มะม่วงตักขนมไปให้เพื่อนบ้าน
ข. มะปรางแอบไปเด็ดลูกมะม่วงของคนอื่น
ค. มะนาวชอบแย่งของเล่นเพื่อน
ง. มะขามไล่เตะแมวที่เข้ามาในบ้าน
ที่มาภาพ : http://saintsdd.exteen.com
๙
ข้อ ก ข ค ง
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
รวมคะแนน
กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน
๑๐
ใบความรู้
เรื่อง การอ่านจับใจความ
ความหมายของการจับใจความ
การอ่านจับใจความ คือการค้นหาสาระสาคัญ ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นของเรื่องหรือ
หนังสือที่อ่าน
ใจความสาคัญของเรื่อง
คือ ข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด
ข้อความตอนหนึ่งหรือเรื่องหนึ่งจะมีใจความสาคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งใจความสาคัญก็คือ
สิ่งที่เป็นสาระสาคัญของเรื่อง
คาว่าใจความสาคัญนี้ผู้รู้ได้เรียกไว้เป็นหลายอย่าง เช่น ข้อคิดสาคัญของเรื่อง แก่นของ
เรื่อง หรือ ความคิดหลัก ของเรื่องแต่จะเป็นอย่างไรก็ตาม ใจความสาคัญก็คือสิ่งที่เป็นสาระที่
สาคัญที่สุดของเรื่องนั่นเอง ใจความสาคัญส่วนมากจะมีลักษณะเป็นประโยคซึ่งอาจปรากฏอยู่
ในส่วนใดส่วนหนึ่งของย่อหน้าก็ได้
จุดที่พบใจความสาคัญของเรื่อง ในแต่ละย่อหน้ามากที่สุดคือ ประโยคที่อยู่ตอนต้นย่อ
หน้าเพราะผู้เขียนมักบอกประเด็นสาคัญไว้ก่อน แล้วจึงขยายรายละเอียดให้ชัดเจน รองลงมา
คือประโยคตอนท้ายย่อหน้าโดยผู้เขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นย่อยก่อน แล้วจึงสรุป
ด้วยประโยคที่เป็นประเด็นไว้ภายหลัง
สาหรับจุดที่พบใจความสาคัญยากขึ้นก็คือ ประโยคตอนกลางย่อหน้า ซึ่งผู้อ่านจะต้อง
ใช้ความสังเกตและพิจารณาให้ดี ส่วนจุดที่หาใจความสาคัญยากที่สุดคือย่อหน้าที่ไม่มีประโยค
ใจความสาคัญปรากฏชัดเจน อาจมีประโยค หรืออาจอยู่รวมๆ กันในย่อหน้าก็ได้ ซึ่งผู้อ่าน
จะต้องสรุปออกมาเอง
ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
๑๑
เมื่อฤดูที่หนาวเย็นมาถึง ฝูงห่านป่าที่อาศัยอยู่ในแคนาดา จะพากันบินอพยพหนี
ความหนาวเย็นมายังสหรัฐอเมริกา โดยพวกมันจะเลือกภูมิประเทศที่คล้ายคลึงกับที่เคย
อยู่ เวลาที่มันบินผ่านที่ใด ผู้คนจะพากันแหงนหน้ามองดูบนท้องฟ้า ห่านป่าจะพากันบิน
ว่อนไปทั่วเมืองเมื่อพบสถานที่ถูกใจ มันจะพากันบินวนเป็นวงกลมอีกครั้งเพื่อสารวจพื้นที่
ให้แน่ใจ ก่อนจะบินลงไป
แนวการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความให้บรรลุจุดประสงค์ มีแนวทางดังนี้
๑. อ่านผ่านๆ โดยตลอด เพื่อให้รู้ว่าเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีใคร ทาอะไร
ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร
๒. เมื่ออ่านจบแล้ว ให้จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
๓. อ่านให้ละเอียดอีกครั้งหนึ่งเพื่อทาความเข้าใจเรื่องที่อ่าน
๔. ให้เขียนเรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านด้วยสานวนภาษาของตนเอง
๕. อ่านทบทวนเพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง
ตัวอย่าง การอ่านจับใจความสาคัญ
อ่านเรื่องจบแล้ว ก็เขียนสรุปใจความสาคัญ
เป็นหัวข้อต่างๆ ต่อไปเลยนะคะ
๑๒
ใจความสาคัญของเรื่อง
ฝูงห่านป่าที่อยู่ในแคนาดาอพยพหนีความหนาวเย็นในช่วงฤดูหนาวไป
สหรัฐอเมริกา เมื่อพบสถานที่ที่ถูกใจ พวกมันจะบินสารวจเป็นวงกลม และเมื่อ
แน่ใจจึงจะบินลงไป
ประโยชน์ของการอ่านจับใจความสาคัญ
๑. ช่วยพัฒนาการอ่านหรือการฟังให้ดียิ่งขึ้น เพราะถ้าได้ฝึกจับใจความสาคัญเป็น
ประจา จะทาให้เกิดทักษะในการอ่านหรือการฟังที่ดีขึ้น นอกจากนี้ ยังทาให้เข้าใจเนื้อเรื่องที่
อ่านหรือฟังได้ดียิ่งขึ้น
๒. ช่วยให้เกิดประโยชน์ในการจดบันทึกเรื่องราวที่ได้ศึกษา
๓. ช่วยให้เรียนวิชาต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น
ใคร  ฝูงห่านป่าที่อยู่ในแคนาดา
ทาอะไร  อพยพหนีความหนาวเย็นไปสหรัฐอเมริกา
เมื่อไร  ฤดูหนาว
อย่างไร  บินไปพร้อมกัน
ผลเป็นอย่างไร  เมื่อพบสถานที่ที่ถูกใจ ฝูงห่านป่าจะบินวน
เป็นวงกลม เมื่อแน่ใจจึงจะบินลงไปที่นั่น
ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
๑๓
แบบฝึกทักษะที่ ๑
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่คิดว่าถูกต้อง และทาเครื่องหมาย
 หน้าข้อที่คิดว่าผิด (๑๐ คะแนน)
....... ๑. การอ่านจับใจความ คือ การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องที่เป็นส่วนใจความสาคัญ
และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง
....... ๒. ใจความสาคัญของเรื่อง คือ ข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้า
นั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด
....... ๓. การอ่านจับใจความต้องอ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่ควร
หยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทาให้ความเข้าใจไม่ต่อเนื่อง
....... ๔. เราไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน
....... ๕. ใจความสาคัญส่วนมากจะปรากฏอยู่ทุกส่วนของย่อหน้า
....... ๖. ใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้ามักปรากฏอยู่ในลักษณะของประโยค
....... ๗. การอ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่องคือขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ
....... ๘. ไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน
....... ๙. ควรตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านอย่างชัดเจน เพราะจะเป็นแนวทางกาหนดการอ่านได้
อย่างเหมาะสม และจับใจความได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น
....... ๑๐. การบันทึกย่อใจความสาคัญควรใช้ภาษาและสานวนของตนเอง
๑๔
แบบฝึกทักษะที่ ๒
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านเรื่องต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม (๑๐ คะแนน)
๑. อากาศหนาวเย็นมากในฤดูใด
ตอบ.....................................................................................................................
๒. ในฤดูหนาวนักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร
ตอบ....................................................................................................................
๓. ทางภาคไหนของไทยที่อากาศหนาวเย็นมาก
ตอบ....................................................................................................................
๓. ในฤดูหนาวเราต้องใส่
เสื้อผ้าหนาๆ ร่างกายจะได้
อบอุ่น เวลานอนควรห่มผ้า
หนาๆ
๔. ทางภาคเหนือ
ภาคอีสานอากาศจะ
หนาวเย็น
๕. คนส่วนใหญ่จะเป็นไข้หวัด
ในช่วงฤดูหนาวกัน
คาถาม
ที่มาภาพ : http://www.jomgan.com
๑. ฉันเป็นคนหนึ่ง
ที่ชอบฤดูหนาว
๒. ในฤดูหนาวอากาศจะ
หนาวเย็นลมพัดสบาย
๑๕
๔. เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อใด
ตอบ...................................................................................................................
๕. เพราะเหตุใดน้อยจึงทากระทงจากใบตอง
ตอบ...................................................................................................................
๖. วัสดุใดบ้างที่ย่อยสลายง่าย
ตอบ....................................................................................................................
คาถาม
ที่มาภาพ : http://www.gangtoon.com
ที่มาภาพ : https://www.dek-d.com
๑. วันนี้เป็นวันลอยกระทง พระจันทร์เต็ม
ดวงเพราะเป็นวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ มี
ผู้คนมากมายมาลอยกระทง
๒. น้อยและเพื่อนๆ ร่วมกันทากระทง
จากใบตอง ขนมปัง และเศษวัสดุอื่นๆ
๓. ใบตองเป็นวัสดุที่ย่อยสลายง่าย
ขนมปังก็เป็นอาหารของปลาได้
น้อยและเพื่อนๆ จึงไม่ใช้โฟมใน
การทากระทง
๔. กระทงอื่นๆ ของคนทั่วไปทามาจาก
วัสดุต่างๆ กันออกไป บางคนก็ทาจาก
ใบตอง ขนมปัง ผัก และผลไม้บางชนิด
ตามความชอบและความนิยมของแต่ละ
คน
๕. ครูบอกพวกเราว่าการลอยกระทงเป็น
ประเพณีที่ดีงาม เราทุกคนควรจะร่วม
อนุรักษ์ไว้และต้องไม่ทาให้สิ่งแวดล้อม
เสียหายด้วย
๑๖
๑. แตงโมเป็นผลไม้ของไทยมีรสหวานอร่อย
น่ารับประทาน
๒. แตงโมมีทั้งผลกลมและผลรีและผล
สี่เหลี่ยม
๓. แตงโมรับประทานสดก็ได้นาไปทา
เป็นเครื่องดื่มก็ได้
๔. ก่อนจะรับประทานควรล้างให้
สะอาด เพื่อป้องกันยาฆ่าแมลง
๕. การรับประทานผลไม้ช่วยให้ระบบ
ขับถ่ายดีขึ้น
๗. แตงโมมีรูปร่างอย่างไร
ตอบ....................................................................................................................
๘. ทาไมเราต้องล้างแตงโมให้สะอาดก่อนรับประทาน
ตอบ....................................................................................................................
ที่มาภาพ : http://kasetsil.blogspot.com
ที่มาภาพ : http://wallpapersok.com/
คาถาม
๑๗
แบบฝึกที่ ๓
๙. นักเรียนทากิจกรรมอะไรกัน
ตอบ.....................................................................................................................
๑๐. นักเรียนชอบกิจกรรมใดมากที่สุด
ตอบ....................................................................................................................
๑. ฉันและเพื่อนได้ไปอยู่ค่ายพักแรม
ลูกเสือ
๒. ที่ค่ายพักแรมมีเพื่อนที่มาจากโรงเรียน
เดียวกันและต่างโรงเรียนด้วย
๓. อากาศกลางคืนหนาวเย็นเล็กน้อยเรา
นอนรวมกันในเต็นท์ เต็นท์ละ ๒-๓ คน
อบอุ่นดี
๔. กลางคืนจะมีการแสดง รอบกองไฟของ
ลูกเสือแต่ละหมู่ พวกเราสนุกสนานมาก
เพราะได้ดูการแสดงของเพื่อนๆ๕. วันกลับทุกคนรู้สึกเสียดาย อยากอยู่ค่าย
พักแรมหลายๆวัน เพราะเราได้ความรู้
มากมาย
ที่มาภาพ : http://www.bloggang.com/
คาถาม
ที่มาภาพ : https://pipatbook.wordpress.com/
๑๘
แบบฝึกทักษะที่ ๓
คาชี้แจง ให้นักเรียนขีดเส้นใต้ข้อความที่เป็นใจความสาคัญของเรื่อง (๕ คะแนน)
ตัวอย่าง
การปลูกผักเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทาให้ได้กินผักปลอดสารพิษด้วย
๑. มะขามชอบไปเที่ยวหาดเจ้าไหม เพราะเป็นชายหาดที่สวยงาม และมีทรายสีขาวละเอียด
๒. มะพร้าวเป็นพืชตระกูลปาล์ม สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทาง เช่น น้าและเนื้อมะพร้าวอ่อน
ใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นาไปขูดและคั้นกะทิ กะลานาไปประดิษฐ์สิ่งของต่างๆ เช่น
กระบวย โคมไฟ ที่วางแก้วน้า เครื่องประดับ ฯลฯ
๓. อาหารการกินเป็นเรื่องสาคัญที่เราควรให้ความสาคัญไม่น้อย อาหารที่รับประทานเข้าไปใน
แต่ละวันนอกจากจะต้องครบ ๕ หมู่แล้ว เกลือแร่และวิตามินก็มีความสาคัญ เพราะร่างกาย
ของเราเจริญเติบโตทุกวัน
๔. นกเป็ดน้าจะอพยพตอนฤดูหนาว เมื่อถึงฤดูร้อนก็อพยพกลับไปยังถิ่นเดิมเพื่อสร้างรัง วางไข่
และเลี้ยงลูกนกให้เติบโตแข็งแรง จากนั้น เมื่อถึงฤดูหนาวนกก็อพยพมาทางใต้อีก จะเกิดขึ้น
เช่นนี้เป็นประจา
๕. น้านมแม่ คืออาหารที่ดีและวิเศษสุดของมวลมนุษย์ เป็นอาหารแห่งความเอื้ออาทรของแม่สู่ลูก
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นศิลปะแห่งความสวยงามและมีชีวิต น้านมแม่ไม่เพียงแต่จะทาให้ลูก
อิ่มท้องและสร้างความเจริญเติบโตเท่านั้น แต่ยังพัฒนาจิตใจของแม่และลูกได้อย่างดีเลิศ
๑๙
แบบฝึกทักษะที่ ๔
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความที่กาหนดให้แล้วทาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้อง
๑. ฉันตื่นนอนแต่เช้าทุกวัน เพื่อช่วยพ่อแม่ทางานบ้าน แล้วก็เตรียม
ตัวไปโรงเรียน โรงเรียนของฉันมีครูหลายคน มีห้องเรียนมากมาย คือ มี
ห้องอนุบาล – ป.6 มีห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องประชุม
นอกจากห้องเรียนแล้วยังมีสวนสมุนไพรที่พวกเราช่วยกันปลูกก็มี
ตะไคร้ กะเพรา ว่านหางจระเข้ และมีอื่นๆ อีกหลายอย่าง นอกจากนี้ยัง
มีแปลงเกษตรที่ปลูกผักสวนครัว พวกต้นหอม ผักกาดขาว ผักคะน้า
ผักบุ้ง นี่แหล่ะคือ โรงเรียนของฉัน
๑. ฉันในเรื่องนี้น่าจะเป็นใคร
 ครู  แม่  นักเรียน
๒. ก่อนไปโรงเรียนฉันทาอะไรก่อน
 ช่วยพ่อแม่ทางาน  รับประทานอาหาร  ให้อาหารสัตว์
๓. ห้องใดที่ไม่ได้กล่าวถึงในเรื่องนี้
 ห้องวิทยาศาสตร์  ห้องสมุด  ห้องจริยธรรม
๔. ข้อใดเป็นพืชสมุนไพรที่ช่วยกันปลูกที่โรงเรียน
 ตะไคร้  ผักกาด  ดอกมะลิ
คาถาม
๒๐
ที่มาภาพ : https://es.aliexpress.com
๒. แมงมุมออกลูกเป็นไข่ เมื่อออกจากไข่จะเป็นแมงมุมตัวเล็กมีรูปร่าง
เหมือนพ่อแม่ แมงมุมจะมีใยใสๆ อ่อนและยาว แต่เมื่อใยถูกอากาศก็จะ
แข็งตัวกลายเป็นเส้นใยเหนียวๆ เพื่อเอาไว้ขึงดักเหยื่อและใช้เป็นที่อยู่
อาศัย
๕. สัตว์ชนิดใดออกลูกเป็นตัว
 ยุง  แมงมุม  กระต่าย
๖. เส้นใยของแมงมุมเมื่อถูกกับสิ่งใดจะทาให้เส้นใยเหนียวยิ่งขึ้น
 อากาศ  น้า  แสงแดด
๗. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของใยแมงมุม
 ใช้ดักเหยื่อ  ใช้เป็นอาหาร  ใช้เป็นที่อยู่
คาถาม
๓. ทานตะวันมีถิ่นกาเนิดอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ เชื่อกันว่าชาวญี่ปุ่นนาเมล็ด
ทานตะวันจากญี่ปุ่นเข้ามาปลูกที่คลองตะเคียนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราชนิยมปลูกกันเป็นไม้ประดับ ในปลายสมัยรัชการที่ ๕ ปลูกเพื่อใช้
เมล็ดเป็นอาหารไก่ ทานตะวันมีชื่ออื่นว่า ชอนตะวัน บัวผัด บัวทอง
( จากสารานุกรมไทย เล่ม ๒ ของอุทัย สินธุสาร )
๘. ต้นทานตะวันมีถิ่นกาเนิดอยู่ที่ใด
 ทวีปแอฟริกา  ทวีปเอเชีย  ทวีปอเมริกาเหนือ
๙. ต้นทานตะวันถูกนาเข้ามาปลูกที่จังหวัดใด
 พระนครศรีอยุธยา  ลพบุรี  สุโขทัย
๑๐. ข้อใดไม่ใช่ชื่อของทานตะวัน
 บัวผัด  บัวผัน  บัวทอง
คาถาม
ที่มาภาพ : http://www.keywordhut.com/
๒๑
แบบฝึกทักษะที่ ๕
๑.
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน
มะละกอ มีถิ่นกาเนิดในอเมริกากลาง ถูกนาเข้าสู่ประเทศไทย
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มะละกอมีด้วยกันหลายสายพันธุ์ เช่น พันธุ์
พื้นเมือง พันธุ์แขกดา พันธุ์โกโก้ เป็นต้น ผลดิบมีสีเขียวเมื่อสุกแล้ว
เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนามารับประทานทั้งสดและนาไปปรุง
อาหาร เช่น ส้มตา ฯลฯ
ใคร .............................................................................
ทาอะไร ............................................................................
อย่างไร ............................................................................
ข้อคิด ..............................................................................
๒๒
๒.
๓.
ใคร .............................................................................
ทาอะไร .............................................................................
อย่างไร ............................................................................
ข้อคิด ..............................................................................
สมัยโบราณการติดต่อสื่อสารทาได้ยาก เราจึงใช้นกพิราบใน
การส่งข่าวสารต่าง ๆ ซึ่งนกพิราบสื่อสารมีสัญชาตญาณในการจดจา
ทิศทางได้แม่นยา โดยมันจะอาศัยตาแหน่งของดวงอาทิตย์และ
สัญชาตญาณในการหาทางกลับบ้าน โดยเราต้องฝึกนกพิราบตั้งแต่มันยัง
เล็กๆ โดยนามันไปปล่อยในระยะใกล้ก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่มระยะทางให้
ไกลขึ้น
ลิงน้อยถูกฝึกให้เก็บมะพร้าว มันเก็บได้อย่างรวดเร็ว เจ้าของจึง
ส่งไปแข่งขันเก็บมะพร้าว มันได้รับรางวัลที่หนึ่ง ได้รับถ้วยรางวัลและ
กล้วย มันดีใจมาก ส่งเสียงร้องเจี๊ยก ๆ
ใคร  .............................................................................
ทาอะไร  .............................................................................
อย่างไร ............................................................................
ข้อคิด ..............................................................................
๒๓
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวและทาเครื่องหมาย X ลงใน
กระดาษคาตอบ (๑๐ คะแนน)
๑. ข้อใดเป็นความหมายของการอ่านจับใจความ
ก. อ่านเพื่อค้นหาแนวทางในการดาเนินชีวิต
ข. อ่านเพื่อหาสาระสาคัญของเรื่อง
ค. อ่านเพื่อความรู้
ง. อ่านเพื่อความบันเทิง
๒. เมื่อพบศัพท์ยากอ่านแล้วไม่เข้าใจนักเรียนควรทาอย่างไร
ก. อ่านข้ามๆ ไปเพื่อความรวดเร็ว
ข. ปล่อยไปก่อน
ค. ถามคุณครู
ง. เปิดพจนานุกรม
๓. ข้อใดถือว่าเป็นขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ
ก. อ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่อง
ข. อ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจ
ค. อ่านซ้าตอนที่ไม่เข้าใจ
ง. เรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่อง
๒๔
อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ข้อ ๔ – ๖
ธรรมเนียมประเพณี พี่น้องไทยแต่โบราณ
แขกเยือนถึงเรือนชาน ต้องต้อนรับประทับใจ
จนยากวิบากย้า ไม่อับจนน้าหทัยไทย
ทุกยุคทุกสมัย มรดกตกทอดมา
ที่มา : จากหนังสือเพื่อแก้ว ของ ศิวกานท์ ปทุมสูติ
๔. บุคคลในข้อใดเป็นคนมีน้าใจ
ก. มะนาวชอบแย่งของเล่นเพื่อน
ข. มะขามไล่เตะแมวที่เข้ามาในบ้าน
ค. มะม่วงตักขนมไปให้เพื่อนบ้าน
ง. มะปรางแอบไปเด็ดลูกมะม่วงของคนอื่น
๕. คากลอนนี้กล่าวถึงเรื่องใด
ก. การต้อนรับแขก
ข. ประเพณีไทย
ค. ความเป็นอยู่ที่ยากไร้
ง. การทามาหากิน
๖. จากคากลอนนี้คนไทยมีนิสัยอย่างไร
ก. อดทน
ข. มีน้าใจ
ค. ขยัน
ง. ประหยัด
๒๕
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๗ – ๘
งูบางชนิดดุร้ายมาก เช่น งูจงอาง ที่พ่อเรียกว่า “งูบอง” งูชนิดนี้ออกหากินตอน
พระอาทิตย์ใกล้จะลับฟ้า มันกินสัตว์จาพวกนก หนู กบ เขียด และแม้แต่กับงูด้วยกันมันก็
กินได้
ยิ่งเวลามันออกไข่จะยิ่งมีความดุร้ายมากขึ้นด้วยความหวงไข่ หากคนเข้าใกล้มีหวังโดน
มันไล่ฉกกัดเอา งูจงอางตัวโตประเปรียวและกล้าสู้กับคน พวกเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก
ที่มา : จากเรื่อง ชีวิตบ้านป่า ของ ประสิทธิ์ มุสิกเกษม
๗. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของงูชนิดนี้
ก. กลัวคน ข. ดุร้าย
ค. ตัวโต ง. ประเปรียว
๘. เหตุใดพวกนักเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก
ก. เพราะไม่มียารักษาถ้าถูกกัด ข. เพรามันตัวใหญ่
ค. เพราะมันดุร้าย ง. เพราะมันกล้าสู้คน
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๙ – ๑๐
เดือนธันวาคมปีนี้อากาศหนาวมาก วันนี้เป็นวันเสาร์ นิดและหน่อยไม่ต้องรีบไป
โรงเรียน แม่ตื่นเช้าเพื่อเตรียมอาหารไว้ให้ลูกๆ วันนี้แม่ทาขนมจีนแกงไก่กับบัวลอยไข่หวาน
นิดชอบรับประทานขนมจีนแกงไก่มาก ส่วนหน่อยชอบรับประทานขนมหวานมากกว่า
๙. ใครชอบรับประทานขนมหวาน
ก. แม่ ข. พ่อ
ค. หน่อย ง. นิด
๑๐. เหตุการณ์ในเรื่องนี้อยู่ในช่วงฤดูอะไร
ก. ฤดูร้อน ข. ฤดูแล้ง
ค. ฤดูฝน ง. ฤดูหนาว
๒๖
ข้อ ก ข ค ง
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
รวมคะแนน
กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบหลังเรียน
๒๗
ภาคผนวก
๒๘
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
ก่อนเรียน หลังเรียน
๑. ง
๒. ค
๓. ข
๔. ก
๕. ง
๖. ค
๗. ง
๘. ข
๙. ง
๑๐. ก
๑. ข
๒. ง
๓. ก
๔. ค
๕. ก
๖. ข
๗. ค
๘. ง
๙. ค
๑๐. ง
๒๙
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑
 ๑. การอ่านจับใจความ คือ การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องที่เป็นส่วนใจความสาคัญ
และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง
 ๒. ใจความสาคัญของเรื่อง คือ ข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้า
นั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด
 ๓. การอ่านจับใจความต้องอ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่ควร
หยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทาให้ความเข้าใจไม่ต่อเนื่อง
 ๔. เราไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน
 ๕. ใจความสาคัญส่วนมากจะปรากฏอยู่ทุกส่วนของย่อหน้า
 ๖. ใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้ามักปรากฏอยู่ในลักษณะของประโยค
 ๗. การอ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่องคือขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ
 ๘. ไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน
 ๙. ควรตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านอย่างชัดเจน เพราะจะเป็นแนวทางกาหนดการอ่านได้
อย่างเหมาะสม และจับใจความได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น
 ๑๐. การบันทึกย่อใจความสาคัญควรใช้ภาษาและสานวนของตนเอง
๓๐
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๒
๑. ฤดูหนาว
๒. ใส่เสื้อผ้าหนาๆ
๓. ภาคเหนือ
๔. วันลอยกระทง
๕. เพราะเป็นวัสดุที่ย่อยสลายง่าย
๖. ขนมปัง ผัก และผลไม้บางชนิด
๗. ผลกลม และผลรี
๘. ป้องกันยาฆ่าแมลง
๙. เข้าค่ายพักแรมลูกเสือ
๑๐. การแสดงรอบกองไฟ
๓๑
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๓
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๔
๑. มะขามชอบไปเที่ยวหาดเจ้าไหม
๒. มะพร้าวเป็นพืชตระกูลปาล์ม สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทาง
๓. อาหารการกินเป็นเรื่องสาคัญที่เราควรให้ความสาคัญไม่น้อย
๔. นกเป็ดน้าจะอพยพตอนฤดูหนาว
๕. น้านมแม่ คืออาหารที่ดีและวิเศษสุดของมวลมนุษย์
๑. นักเรียน
๒. ช่วยพ่อแม่ทางาน
๓. ห้องจริยธรรม
๔. ตะไคร้
๕. กระต่าย
๖. อากาศ
๗. ใช้เป็นอาหาร
๘. ทวีปอเมริกาเหนือ
๙. พระนครศรีอยุธยา
๑๐. บัวผัน
๓๒
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๕
.
ใคร ...........มะละกอ......................................................
ทาอะไร ...........ถูกนาเข้ามาในประเทศไทย.........................
อย่างไร ...........ในสมัยกรุงศรีอยุธยา..................................
ข้อคิด ............ควรทาอะไรให้ได้หลายๆ อย่าง................
ใคร ...........ลิง..................................................................
ทาอะไร ...........เก็บมะพร้าว.................................................
อย่างไร ...........ได้อย่างรวดเร็ว.............................................
ข้อคิด ............คนเราควรขยันเหมือนลิง............................
ใคร ...........สมัยโบราณ..................................................
ทาอะไร ...........ติดต่อสื่อสาร.................................................
อย่างไร ...........โดยใช้นกพิราบ.............................................
ข้อคิด ............จะฝึกอะไรต้องฝึกตั้งแต่เล็กๆ......................
๑.
๒.
.
๓.
.
๓๓
บรรณานุกรม
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สานักงาน (๒๕๕๘). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิตภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว
ทินรัตน์ จันทราภินันท์. (๒๕๕๒). แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕.
กรุงเทพฯ : บริษัทสานักพิมพ์เดอะบุคส์ จากัด.
แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๕). การอ่านจับใจความ. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก
สมศักดิ์ อัมพรวิสิทธิ์โสภาและคณะ. (ม.ป.ป.). ทักษะการอ่านจับใจความ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓. กรุงเทพฯ : หจก.สานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต
สาระน่ารู้เรื่องผลไม้. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗. เข้าถึงได้จาก
https://sites.google.com/site/saranarureuxngphlmi/
สาระน่ารู้สุขภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘. เข้าถึงได้จาก
http://www.krabork.com
สานักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ.[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘.
เข้าถึงได้จาก http://www.thaihealth.or.th
เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. (ม.ป.ป.). สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ชุด แม่บทมาตรฐาน
หลักสูตรแกนกลาง ภาษาไทย ป.๓. กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด

More Related Content

What's hot

พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)Kornfern Chayaboon
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครbambookruble
 
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557Yamikid Puk
 
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557Yamikid Puk
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงSirintip Denduang
 
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557Yamikid Puk
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5ปวริศา
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
5675575757575555755555555555555555555555
56755757575755557555555555555555555555555675575757575555755555555555555555555555
5675575757575555755555555555555555555555BallGamerTV
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์พัน พัน
 
หนังสือคัดสรร 2559
หนังสือคัดสรร 2559หนังสือคัดสรร 2559
หนังสือคัดสรร 2559Yamikid Puk
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนnummon19899
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึกpmthan
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 

What's hot (20)

พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
พระอภัยมณี
พระอภัยมณีพระอภัยมณี
พระอภัยมณี
 
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็กประถมต้น ปี 2557
 
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 3 5 ปี 2557
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557
หนังสือคัดสรรสำหรับเด็ก 1 3 ปี 2557
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำสรรพนาม ป.5
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
5675575757575555755555555555555555555555
56755757575755557555555555555555555555555675575757575555755555555555555555555555
5675575757575555755555555555555555555555
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
 
หนังสือคัดสรร 2559
หนังสือคัดสรร 2559หนังสือคัดสรร 2559
หนังสือคัดสรร 2559
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
แบบฝึก
แบบฝึกแบบฝึก
แบบฝึก
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 

Similar to 3เนื้อหา

เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านmaipoom
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยnatta25
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3Prapatsorn Chaihuay
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์krujee
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3PrapatsornPalmmy
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Siriluk Butprom
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑peerapit
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกKu'kab Ratthakiat
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความPensri Sangsuk
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena PmdAkradech M.
 
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...Saowanee Urun
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องkhruphuthons
 

Similar to 3เนื้อหา (20)

เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
thai
thaithai
thai
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
Me and demon
Me and demonMe and demon
Me and demon
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2
 
kumprasom
kumprasomkumprasom
kumprasom
 
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
แผ่นพับกาพย์ยานี๑๑
 
เฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึกเฉลยแบบฝึก
เฉลยแบบฝึก
 
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
ชุดกิจกรรม ๒ การคิดวิเคราะห์ บทความ
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
 
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
E0b981e0b89ae0b89ae0b897e0b894e0b8aae0b8ade0b89ae0b881e0b8b2e0b8a3e0b8ade0b98...
 
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่องแบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
แบบทดสอบการอ่านเอาเรื่อง
 

3เนื้อหา

  • 1. ๑ ที่มาภาพ : http://th.gofreedownload.net/ คาแนะนา การใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประกอบด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความทั้งหมด ๖ เล่ม คือ เล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่านจับใจความ เล่มที่ ๒ การอ่านจับใจจากความนิทาน เล่มที่ ๓ การอ่านจับใจความจากเรื่องเล่า เล่มที่ ๔ การอ่านจับใจความจากบทร้อยกรอง เล่มที่ ๕ การอ่านจับใจความจากสาระการเรียนรู้อื่น เล่มที่ ๖ การอ่านจับใจความจากท้องถิ่นของเรา แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จานวน ๖ เล่ม เป็นแบบฝึกทักษะการอ่านที่มีลักษณะแบบฝึกซ้าๆ โดยเปลี่ยนเนื้อหาที่จะ ให้นักเรียนอ่านหาหลายๆ รูปแบบ โดยอาจจะใช้ประกอบการสอนเสริม หรือให้นักเรียนทา เป็นการบ้านก็ได้เป็นการเพิ่มพูนทักษะการอ่านของนักเรียน ซึ่งตรงกับเป้าหมายการศึกษาใน ปัจจุบันที่มุ่งให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ มีความรู้ความเข้าใจเรื่องราวที่อ่านเพื่อให้นักเรียน สามารถนาความรู้และทักษะในการอ่านที่ได้จากการทากิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจาวัน และการศึกษาหาความรู้ต่อไปในอนาคต
  • 2. ๒ คาชี้แจงสาหรับครู การนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่านจับใจความไปใช้ให้เกิดประโยชน์สาหรับนักเรียนให้ มากที่สุด ครูควรทาความเข้าใจและปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้ ๑. ควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ประจาชุดแบบฝึกประกอบการใช้แบบฝึกทักษะ การอ่านจับใจความให้เข้าใจตลอดทั้งเล่ม แล้วปฏิบัติตามกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู้ ๒. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความชุดนี้ใช้ประกอบการสอนนักเรียนที่ต้องการพัฒนา ทักษะการอ่านจับใจความ หรือใช้สอนเสริมนักเรียนที่เรียนไม่ทันเพื่อน โดยนักเรียนสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ๓. ครูชี้แจงและอธิบายวิธีการศึกษาแบบฝึกทักษะเล่มนี้ให้นักเรียนเข้าใจ โดยละเอียด ๔. เตรียมแบบฝึกทักษะ กระดาษคาตอบให้พร้อม และครบจานวนนักเรียน ๕. เตรียมเฉลยและแบบประเมินผลงานให้พร้อม ๖. เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เอกสารใบความรู้ หนังสือพจนานุกรม เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าสาหรับนักเรียน ๗. แนะนาให้นักเรียนฝึกอ่านในใจ ๘. การประเมินผลงานที่นักเรียนศึกษาแบบฝึกการอ่านจับใจความด้วยตนเอง ครูควร อธิบายวิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และกาชับไม่ให้นักเรียนดูเฉลยคาตอบก่อนถึงเวลา ประเมิน ๙. ควรให้ความเป็นกันเองกับนักเรียนและคอยอานวยความสะดวกในการทากิจกรรม เพื่อให้เกิดความราบรื่น และเกิดความสุขในการเรียน ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
  • 3. ๓ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่านจับใจความ ชุดนี้ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา ทักษะการอ่านจับใจความ สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ดังนี้ ๑. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาชุดฝึกซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๑๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ๒. ศึกษาแบบฝึกทักษะและทากิจกรรมด้วยความตั้งใจ มีสมาธิและมีความรับผิดชอบ ต่อตนเอง ๓. อ่านคาชี้แจง จุดประสงค์การเรียนรู้ ใบความรู้ ให้เข้าใจแล้วจึง เริ่มต้นทากิจกรรมใน แบบฝึกทักษะ ๖. เมื่อทาแบบฝึกเสร็จแล้วให้ตรวจคาตอบจากเฉลย นักเรียนควรมีความซื่อสัตย์ต่อ ตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบฝึก เพื่อเป็นการตรวจสอบตนเองว่า หลังจากที่ศึกษาแบบฝึก การอ่านจับใจความนี้แล้นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความได้สูงขึ้นมากน้อย เพียงใด ๗. ทาแบบทดสอบหลังเรียนประจาชุดฝึกซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จานวน ๑๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ๘. สาหรับนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต้องได้รับการซ่อมเสริมด้วยการย้อนกลับ ไปทบทวนแบบฝึกแล้วตอบคาถามใหม่อีกครั้ง จนผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
  • 4. ๔ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด ป.๓/๑ อ่านออกเสียง ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ป.๓/๓ ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ป.๓/๔ ลาดับเหตุการณ์และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านโดยระบุเหตุผล ประกอบ ป.๓/๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน ป.๓/๙ มีมารยาทในการอ่าน ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
  • 5. ๕ วัตถุประสงค์ ของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ๑. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความของนักเรียน ๒. เพื่อฝึกความสามารถในการอ่านจับใจความจากเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน ๓. เพื่อให้นักเรียนสามารถนาทักษะการอ่านจับใจความ ไปประยุกต์ใช้ ในการดารงชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถตอบคาถามเกี่ยวกับหลักการอ่านจับใจความได้ ๒. นักเรียนปฏิบัติการอ่านและบอกข้อคิดของเรื่องที่อ่านได้ ๓. นักเรียนเห็นคุณค่าของการอ่านแล้วสรุป และจับใจความเรื่องที่อ่านได้
  • 6. ๖ แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวและทาเครื่องหมาย X ลงใน กระดาษคาตอบ (๑๐ คะแนน) ๑. ข้อใดถือว่าเป็นขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ ก. อ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจ ข. เรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่อง ค. อ่านซ้าตอนที่ไม่เข้าใจ ง. อ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่อง ๒. ข้อใดเป็นความหมายของการอ่านจับใจความ ก. อ่านเพื่อความรู้ ข. อ่านเพื่อความบันเทิง ค. อ่านเพื่อหาสาระสาคัญของเรื่อง ง. อ่านเพื่อค้นหาแนวทางในการดาเนินชีวิต ๓. เมื่อพบศัพท์ยากอ่านแล้วไม่เข้าใจนักเรียนควรทาอย่างไร ก. ถามคุณครู ข. เปิดพจนานุกรม ค. ปล่อยไปก่อน ง. อ่านข้ามๆ ไปเพื่อความรวดเร็ว
  • 7. ๗ จุดประสงค์การเรียนรู้ อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๔ – ๕ เดือนธันวาคมปีนี้อากาศหนาวมาก วันนี้เป็นวันเสาร์ นิดและหน่อยไม่ต้องรีบไป โรงเรียน แม่ตื่นเช้าเพื่อเตรียมอาหารไว้ให้ลูกๆ วันนี้แม่ทาขนมจีนแกงไก่กับบัวลอยไข่หวาน นิดชอบรับประทานขนมจีนแกงไก่มาก ส่วนหน่อยชอบรับประทานขนมหวานมากกว่า ๔. เหตุการณ์ในเรื่องนี้อยู่ในช่วงฤดูอะไร ก. ฤดูหนาว ข. ฤดูฝน ค. ฤดูร้อน ง. ฤดูแล้ง ๕. ใครชอบรับประทานขนมหวาน ก. พ่อ ข. นิด ค. แม่ ง. หน่อย อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๖ – ๗ งูบางชนิดดุร้ายมาก เช่น งูจงอาง ที่พ่อเรียกว่า “งูบอง” งูชนิดนี้ออกหากินตอน พระอาทิตย์ใกล้จะลับฟ้า มันกินสัตว์จาพวกนก หนู กบ เขียด และแม้แต่กับงูด้วยกันมันก็กินได้ ยิ่งเวลามันออกไข่จะยิ่งมีความดุร้ายมากขึ้นด้วยความหวงไข่ หากคนเข้าใกล้มีหวังโดน มันไล่ฉกกัดเอา งูจงอางตัวโตประเปรียวและกล้าสู้กับคน พวกเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก จากเรื่อง ชีวิตบ้านป่า ของ ประสิทธิ์ มุสิกเกษม ๖. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของงูชนิดนี้ ก. กลัวคน ข. ดุร้าย ค. ตัวโต ง. ประเปรียว ๗. เหตุใดพวกนักเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก ก. เพราะไม่มียารักษาถ้าถูกกัด ข. เพรามันตัวใหญ่ ค. เพราะมันดุร้าย ง. เพราะมันกล้าสู้คน
  • 8. ๘ อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ข้อ ๘ – ๑๐ ธรรมเนียมประเพณี พี่น้องไทยแต่โบราณ แขกเยือนถึงเรือนชาน ต้องต้อนรับประทับใจ จนยากวิบากย้า ไม่อับจนน้าหทัยไทย ทุกยุคทุกสมัย มรดกตกทอดมา จากหนังสือเพื่อแก้ว ของ ศิวกานท์ ปทุมสูติ ๘. คากลอนนี้กล่าวถึงเรื่องใด ก. การทามาหากิน ข. การต้อนรับแขก ค. ประเพณีไทย ง. ความเป็นอยู่ที่ยากไร้ ๙. จากคากลอนนี้คนไทยมีนิสัยอย่างไร ก. ขยัน ข. ประหยัด ค. อดทน ง. มีน้าใจ ๑๐. บุคคลในข้อใดเป็นคนมีน้าใจ ก. มะม่วงตักขนมไปให้เพื่อนบ้าน ข. มะปรางแอบไปเด็ดลูกมะม่วงของคนอื่น ค. มะนาวชอบแย่งของเล่นเพื่อน ง. มะขามไล่เตะแมวที่เข้ามาในบ้าน ที่มาภาพ : http://saintsdd.exteen.com
  • 9. ๙ ข้อ ก ข ค ง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวมคะแนน กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน
  • 10. ๑๐ ใบความรู้ เรื่อง การอ่านจับใจความ ความหมายของการจับใจความ การอ่านจับใจความ คือการค้นหาสาระสาคัญ ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นของเรื่องหรือ หนังสือที่อ่าน ใจความสาคัญของเรื่อง คือ ข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด ข้อความตอนหนึ่งหรือเรื่องหนึ่งจะมีใจความสาคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งใจความสาคัญก็คือ สิ่งที่เป็นสาระสาคัญของเรื่อง คาว่าใจความสาคัญนี้ผู้รู้ได้เรียกไว้เป็นหลายอย่าง เช่น ข้อคิดสาคัญของเรื่อง แก่นของ เรื่อง หรือ ความคิดหลัก ของเรื่องแต่จะเป็นอย่างไรก็ตาม ใจความสาคัญก็คือสิ่งที่เป็นสาระที่ สาคัญที่สุดของเรื่องนั่นเอง ใจความสาคัญส่วนมากจะมีลักษณะเป็นประโยคซึ่งอาจปรากฏอยู่ ในส่วนใดส่วนหนึ่งของย่อหน้าก็ได้ จุดที่พบใจความสาคัญของเรื่อง ในแต่ละย่อหน้ามากที่สุดคือ ประโยคที่อยู่ตอนต้นย่อ หน้าเพราะผู้เขียนมักบอกประเด็นสาคัญไว้ก่อน แล้วจึงขยายรายละเอียดให้ชัดเจน รองลงมา คือประโยคตอนท้ายย่อหน้าโดยผู้เขียนจะบอกรายละเอียดหรือประเด็นย่อยก่อน แล้วจึงสรุป ด้วยประโยคที่เป็นประเด็นไว้ภายหลัง สาหรับจุดที่พบใจความสาคัญยากขึ้นก็คือ ประโยคตอนกลางย่อหน้า ซึ่งผู้อ่านจะต้อง ใช้ความสังเกตและพิจารณาให้ดี ส่วนจุดที่หาใจความสาคัญยากที่สุดคือย่อหน้าที่ไม่มีประโยค ใจความสาคัญปรากฏชัดเจน อาจมีประโยค หรืออาจอยู่รวมๆ กันในย่อหน้าก็ได้ ซึ่งผู้อ่าน จะต้องสรุปออกมาเอง ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
  • 11. ๑๑ เมื่อฤดูที่หนาวเย็นมาถึง ฝูงห่านป่าที่อาศัยอยู่ในแคนาดา จะพากันบินอพยพหนี ความหนาวเย็นมายังสหรัฐอเมริกา โดยพวกมันจะเลือกภูมิประเทศที่คล้ายคลึงกับที่เคย อยู่ เวลาที่มันบินผ่านที่ใด ผู้คนจะพากันแหงนหน้ามองดูบนท้องฟ้า ห่านป่าจะพากันบิน ว่อนไปทั่วเมืองเมื่อพบสถานที่ถูกใจ มันจะพากันบินวนเป็นวงกลมอีกครั้งเพื่อสารวจพื้นที่ ให้แน่ใจ ก่อนจะบินลงไป แนวการอ่านจับใจความ การอ่านจับใจความให้บรรลุจุดประสงค์ มีแนวทางดังนี้ ๑. อ่านผ่านๆ โดยตลอด เพื่อให้รู้ว่าเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อไร ๒. เมื่ออ่านจบแล้ว ให้จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ๓. อ่านให้ละเอียดอีกครั้งหนึ่งเพื่อทาความเข้าใจเรื่องที่อ่าน ๔. ให้เขียนเรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่องที่อ่านด้วยสานวนภาษาของตนเอง ๕. อ่านทบทวนเพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่าง การอ่านจับใจความสาคัญ อ่านเรื่องจบแล้ว ก็เขียนสรุปใจความสาคัญ เป็นหัวข้อต่างๆ ต่อไปเลยนะคะ
  • 12. ๑๒ ใจความสาคัญของเรื่อง ฝูงห่านป่าที่อยู่ในแคนาดาอพยพหนีความหนาวเย็นในช่วงฤดูหนาวไป สหรัฐอเมริกา เมื่อพบสถานที่ที่ถูกใจ พวกมันจะบินสารวจเป็นวงกลม และเมื่อ แน่ใจจึงจะบินลงไป ประโยชน์ของการอ่านจับใจความสาคัญ ๑. ช่วยพัฒนาการอ่านหรือการฟังให้ดียิ่งขึ้น เพราะถ้าได้ฝึกจับใจความสาคัญเป็น ประจา จะทาให้เกิดทักษะในการอ่านหรือการฟังที่ดีขึ้น นอกจากนี้ ยังทาให้เข้าใจเนื้อเรื่องที่ อ่านหรือฟังได้ดียิ่งขึ้น ๒. ช่วยให้เกิดประโยชน์ในการจดบันทึกเรื่องราวที่ได้ศึกษา ๓. ช่วยให้เรียนวิชาต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น ใคร  ฝูงห่านป่าที่อยู่ในแคนาดา ทาอะไร  อพยพหนีความหนาวเย็นไปสหรัฐอเมริกา เมื่อไร  ฤดูหนาว อย่างไร  บินไปพร้อมกัน ผลเป็นอย่างไร  เมื่อพบสถานที่ที่ถูกใจ ฝูงห่านป่าจะบินวน เป็นวงกลม เมื่อแน่ใจจึงจะบินลงไปที่นั่น ที่มาภาพ : http://www.happyreading.in.th/
  • 13. ๑๓ แบบฝึกทักษะที่ ๑ คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย หน้าข้อที่คิดว่าถูกต้อง และทาเครื่องหมาย  หน้าข้อที่คิดว่าผิด (๑๐ คะแนน) ....... ๑. การอ่านจับใจความ คือ การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องที่เป็นส่วนใจความสาคัญ และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง ....... ๒. ใจความสาคัญของเรื่อง คือ ข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้า นั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด ....... ๓. การอ่านจับใจความต้องอ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่ควร หยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทาให้ความเข้าใจไม่ต่อเนื่อง ....... ๔. เราไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน ....... ๕. ใจความสาคัญส่วนมากจะปรากฏอยู่ทุกส่วนของย่อหน้า ....... ๖. ใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้ามักปรากฏอยู่ในลักษณะของประโยค ....... ๗. การอ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่องคือขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ ....... ๘. ไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน ....... ๙. ควรตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านอย่างชัดเจน เพราะจะเป็นแนวทางกาหนดการอ่านได้ อย่างเหมาะสม และจับใจความได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ....... ๑๐. การบันทึกย่อใจความสาคัญควรใช้ภาษาและสานวนของตนเอง
  • 14. ๑๔ แบบฝึกทักษะที่ ๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านเรื่องต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม (๑๐ คะแนน) ๑. อากาศหนาวเย็นมากในฤดูใด ตอบ..................................................................................................................... ๒. ในฤดูหนาวนักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร ตอบ.................................................................................................................... ๓. ทางภาคไหนของไทยที่อากาศหนาวเย็นมาก ตอบ.................................................................................................................... ๓. ในฤดูหนาวเราต้องใส่ เสื้อผ้าหนาๆ ร่างกายจะได้ อบอุ่น เวลานอนควรห่มผ้า หนาๆ ๔. ทางภาคเหนือ ภาคอีสานอากาศจะ หนาวเย็น ๕. คนส่วนใหญ่จะเป็นไข้หวัด ในช่วงฤดูหนาวกัน คาถาม ที่มาภาพ : http://www.jomgan.com ๑. ฉันเป็นคนหนึ่ง ที่ชอบฤดูหนาว ๒. ในฤดูหนาวอากาศจะ หนาวเย็นลมพัดสบาย
  • 15. ๑๕ ๔. เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อใด ตอบ................................................................................................................... ๕. เพราะเหตุใดน้อยจึงทากระทงจากใบตอง ตอบ................................................................................................................... ๖. วัสดุใดบ้างที่ย่อยสลายง่าย ตอบ.................................................................................................................... คาถาม ที่มาภาพ : http://www.gangtoon.com ที่มาภาพ : https://www.dek-d.com ๑. วันนี้เป็นวันลอยกระทง พระจันทร์เต็ม ดวงเพราะเป็นวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ มี ผู้คนมากมายมาลอยกระทง ๒. น้อยและเพื่อนๆ ร่วมกันทากระทง จากใบตอง ขนมปัง และเศษวัสดุอื่นๆ ๓. ใบตองเป็นวัสดุที่ย่อยสลายง่าย ขนมปังก็เป็นอาหารของปลาได้ น้อยและเพื่อนๆ จึงไม่ใช้โฟมใน การทากระทง ๔. กระทงอื่นๆ ของคนทั่วไปทามาจาก วัสดุต่างๆ กันออกไป บางคนก็ทาจาก ใบตอง ขนมปัง ผัก และผลไม้บางชนิด ตามความชอบและความนิยมของแต่ละ คน ๕. ครูบอกพวกเราว่าการลอยกระทงเป็น ประเพณีที่ดีงาม เราทุกคนควรจะร่วม อนุรักษ์ไว้และต้องไม่ทาให้สิ่งแวดล้อม เสียหายด้วย
  • 16. ๑๖ ๑. แตงโมเป็นผลไม้ของไทยมีรสหวานอร่อย น่ารับประทาน ๒. แตงโมมีทั้งผลกลมและผลรีและผล สี่เหลี่ยม ๓. แตงโมรับประทานสดก็ได้นาไปทา เป็นเครื่องดื่มก็ได้ ๔. ก่อนจะรับประทานควรล้างให้ สะอาด เพื่อป้องกันยาฆ่าแมลง ๕. การรับประทานผลไม้ช่วยให้ระบบ ขับถ่ายดีขึ้น ๗. แตงโมมีรูปร่างอย่างไร ตอบ.................................................................................................................... ๘. ทาไมเราต้องล้างแตงโมให้สะอาดก่อนรับประทาน ตอบ.................................................................................................................... ที่มาภาพ : http://kasetsil.blogspot.com ที่มาภาพ : http://wallpapersok.com/ คาถาม
  • 17. ๑๗ แบบฝึกที่ ๓ ๙. นักเรียนทากิจกรรมอะไรกัน ตอบ..................................................................................................................... ๑๐. นักเรียนชอบกิจกรรมใดมากที่สุด ตอบ.................................................................................................................... ๑. ฉันและเพื่อนได้ไปอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือ ๒. ที่ค่ายพักแรมมีเพื่อนที่มาจากโรงเรียน เดียวกันและต่างโรงเรียนด้วย ๓. อากาศกลางคืนหนาวเย็นเล็กน้อยเรา นอนรวมกันในเต็นท์ เต็นท์ละ ๒-๓ คน อบอุ่นดี ๔. กลางคืนจะมีการแสดง รอบกองไฟของ ลูกเสือแต่ละหมู่ พวกเราสนุกสนานมาก เพราะได้ดูการแสดงของเพื่อนๆ๕. วันกลับทุกคนรู้สึกเสียดาย อยากอยู่ค่าย พักแรมหลายๆวัน เพราะเราได้ความรู้ มากมาย ที่มาภาพ : http://www.bloggang.com/ คาถาม ที่มาภาพ : https://pipatbook.wordpress.com/
  • 18. ๑๘ แบบฝึกทักษะที่ ๓ คาชี้แจง ให้นักเรียนขีดเส้นใต้ข้อความที่เป็นใจความสาคัญของเรื่อง (๕ คะแนน) ตัวอย่าง การปลูกผักเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทาให้ได้กินผักปลอดสารพิษด้วย ๑. มะขามชอบไปเที่ยวหาดเจ้าไหม เพราะเป็นชายหาดที่สวยงาม และมีทรายสีขาวละเอียด ๒. มะพร้าวเป็นพืชตระกูลปาล์ม สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทาง เช่น น้าและเนื้อมะพร้าวอ่อน ใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นาไปขูดและคั้นกะทิ กะลานาไปประดิษฐ์สิ่งของต่างๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ที่วางแก้วน้า เครื่องประดับ ฯลฯ ๓. อาหารการกินเป็นเรื่องสาคัญที่เราควรให้ความสาคัญไม่น้อย อาหารที่รับประทานเข้าไปใน แต่ละวันนอกจากจะต้องครบ ๕ หมู่แล้ว เกลือแร่และวิตามินก็มีความสาคัญ เพราะร่างกาย ของเราเจริญเติบโตทุกวัน ๔. นกเป็ดน้าจะอพยพตอนฤดูหนาว เมื่อถึงฤดูร้อนก็อพยพกลับไปยังถิ่นเดิมเพื่อสร้างรัง วางไข่ และเลี้ยงลูกนกให้เติบโตแข็งแรง จากนั้น เมื่อถึงฤดูหนาวนกก็อพยพมาทางใต้อีก จะเกิดขึ้น เช่นนี้เป็นประจา ๕. น้านมแม่ คืออาหารที่ดีและวิเศษสุดของมวลมนุษย์ เป็นอาหารแห่งความเอื้ออาทรของแม่สู่ลูก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นศิลปะแห่งความสวยงามและมีชีวิต น้านมแม่ไม่เพียงแต่จะทาให้ลูก อิ่มท้องและสร้างความเจริญเติบโตเท่านั้น แต่ยังพัฒนาจิตใจของแม่และลูกได้อย่างดีเลิศ
  • 19. ๑๙ แบบฝึกทักษะที่ ๔ คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความที่กาหนดให้แล้วทาเครื่องหมาย  คาตอบที่ถูกต้อง ๑. ฉันตื่นนอนแต่เช้าทุกวัน เพื่อช่วยพ่อแม่ทางานบ้าน แล้วก็เตรียม ตัวไปโรงเรียน โรงเรียนของฉันมีครูหลายคน มีห้องเรียนมากมาย คือ มี ห้องอนุบาล – ป.6 มีห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องประชุม นอกจากห้องเรียนแล้วยังมีสวนสมุนไพรที่พวกเราช่วยกันปลูกก็มี ตะไคร้ กะเพรา ว่านหางจระเข้ และมีอื่นๆ อีกหลายอย่าง นอกจากนี้ยัง มีแปลงเกษตรที่ปลูกผักสวนครัว พวกต้นหอม ผักกาดขาว ผักคะน้า ผักบุ้ง นี่แหล่ะคือ โรงเรียนของฉัน ๑. ฉันในเรื่องนี้น่าจะเป็นใคร  ครู  แม่  นักเรียน ๒. ก่อนไปโรงเรียนฉันทาอะไรก่อน  ช่วยพ่อแม่ทางาน  รับประทานอาหาร  ให้อาหารสัตว์ ๓. ห้องใดที่ไม่ได้กล่าวถึงในเรื่องนี้  ห้องวิทยาศาสตร์  ห้องสมุด  ห้องจริยธรรม ๔. ข้อใดเป็นพืชสมุนไพรที่ช่วยกันปลูกที่โรงเรียน  ตะไคร้  ผักกาด  ดอกมะลิ คาถาม
  • 20. ๒๐ ที่มาภาพ : https://es.aliexpress.com ๒. แมงมุมออกลูกเป็นไข่ เมื่อออกจากไข่จะเป็นแมงมุมตัวเล็กมีรูปร่าง เหมือนพ่อแม่ แมงมุมจะมีใยใสๆ อ่อนและยาว แต่เมื่อใยถูกอากาศก็จะ แข็งตัวกลายเป็นเส้นใยเหนียวๆ เพื่อเอาไว้ขึงดักเหยื่อและใช้เป็นที่อยู่ อาศัย ๕. สัตว์ชนิดใดออกลูกเป็นตัว  ยุง  แมงมุม  กระต่าย ๖. เส้นใยของแมงมุมเมื่อถูกกับสิ่งใดจะทาให้เส้นใยเหนียวยิ่งขึ้น  อากาศ  น้า  แสงแดด ๗. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของใยแมงมุม  ใช้ดักเหยื่อ  ใช้เป็นอาหาร  ใช้เป็นที่อยู่ คาถาม ๓. ทานตะวันมีถิ่นกาเนิดอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ เชื่อกันว่าชาวญี่ปุ่นนาเมล็ด ทานตะวันจากญี่ปุ่นเข้ามาปลูกที่คลองตะเคียนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชนิยมปลูกกันเป็นไม้ประดับ ในปลายสมัยรัชการที่ ๕ ปลูกเพื่อใช้ เมล็ดเป็นอาหารไก่ ทานตะวันมีชื่ออื่นว่า ชอนตะวัน บัวผัด บัวทอง ( จากสารานุกรมไทย เล่ม ๒ ของอุทัย สินธุสาร ) ๘. ต้นทานตะวันมีถิ่นกาเนิดอยู่ที่ใด  ทวีปแอฟริกา  ทวีปเอเชีย  ทวีปอเมริกาเหนือ ๙. ต้นทานตะวันถูกนาเข้ามาปลูกที่จังหวัดใด  พระนครศรีอยุธยา  ลพบุรี  สุโขทัย ๑๐. ข้อใดไม่ใช่ชื่อของทานตะวัน  บัวผัด  บัวผัน  บัวทอง คาถาม ที่มาภาพ : http://www.keywordhut.com/
  • 21. ๒๑ แบบฝึกทักษะที่ ๕ ๑. คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน มะละกอ มีถิ่นกาเนิดในอเมริกากลาง ถูกนาเข้าสู่ประเทศไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มะละกอมีด้วยกันหลายสายพันธุ์ เช่น พันธุ์ พื้นเมือง พันธุ์แขกดา พันธุ์โกโก้ เป็นต้น ผลดิบมีสีเขียวเมื่อสุกแล้ว เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนามารับประทานทั้งสดและนาไปปรุง อาหาร เช่น ส้มตา ฯลฯ ใคร ............................................................................. ทาอะไร ............................................................................ อย่างไร ............................................................................ ข้อคิด ..............................................................................
  • 22. ๒๒ ๒. ๓. ใคร ............................................................................. ทาอะไร ............................................................................. อย่างไร ............................................................................ ข้อคิด .............................................................................. สมัยโบราณการติดต่อสื่อสารทาได้ยาก เราจึงใช้นกพิราบใน การส่งข่าวสารต่าง ๆ ซึ่งนกพิราบสื่อสารมีสัญชาตญาณในการจดจา ทิศทางได้แม่นยา โดยมันจะอาศัยตาแหน่งของดวงอาทิตย์และ สัญชาตญาณในการหาทางกลับบ้าน โดยเราต้องฝึกนกพิราบตั้งแต่มันยัง เล็กๆ โดยนามันไปปล่อยในระยะใกล้ก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่มระยะทางให้ ไกลขึ้น ลิงน้อยถูกฝึกให้เก็บมะพร้าว มันเก็บได้อย่างรวดเร็ว เจ้าของจึง ส่งไปแข่งขันเก็บมะพร้าว มันได้รับรางวัลที่หนึ่ง ได้รับถ้วยรางวัลและ กล้วย มันดีใจมาก ส่งเสียงร้องเจี๊ยก ๆ ใคร  ............................................................................. ทาอะไร  ............................................................................. อย่างไร ............................................................................ ข้อคิด ..............................................................................
  • 23. ๒๓ แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวและทาเครื่องหมาย X ลงใน กระดาษคาตอบ (๑๐ คะแนน) ๑. ข้อใดเป็นความหมายของการอ่านจับใจความ ก. อ่านเพื่อค้นหาแนวทางในการดาเนินชีวิต ข. อ่านเพื่อหาสาระสาคัญของเรื่อง ค. อ่านเพื่อความรู้ ง. อ่านเพื่อความบันเทิง ๒. เมื่อพบศัพท์ยากอ่านแล้วไม่เข้าใจนักเรียนควรทาอย่างไร ก. อ่านข้ามๆ ไปเพื่อความรวดเร็ว ข. ปล่อยไปก่อน ค. ถามคุณครู ง. เปิดพจนานุกรม ๓. ข้อใดถือว่าเป็นขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ ก. อ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่อง ข. อ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจ ค. อ่านซ้าตอนที่ไม่เข้าใจ ง. เรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่อง
  • 24. ๒๔ อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ข้อ ๔ – ๖ ธรรมเนียมประเพณี พี่น้องไทยแต่โบราณ แขกเยือนถึงเรือนชาน ต้องต้อนรับประทับใจ จนยากวิบากย้า ไม่อับจนน้าหทัยไทย ทุกยุคทุกสมัย มรดกตกทอดมา ที่มา : จากหนังสือเพื่อแก้ว ของ ศิวกานท์ ปทุมสูติ ๔. บุคคลในข้อใดเป็นคนมีน้าใจ ก. มะนาวชอบแย่งของเล่นเพื่อน ข. มะขามไล่เตะแมวที่เข้ามาในบ้าน ค. มะม่วงตักขนมไปให้เพื่อนบ้าน ง. มะปรางแอบไปเด็ดลูกมะม่วงของคนอื่น ๕. คากลอนนี้กล่าวถึงเรื่องใด ก. การต้อนรับแขก ข. ประเพณีไทย ค. ความเป็นอยู่ที่ยากไร้ ง. การทามาหากิน ๖. จากคากลอนนี้คนไทยมีนิสัยอย่างไร ก. อดทน ข. มีน้าใจ ค. ขยัน ง. ประหยัด
  • 25. ๒๕ อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๗ – ๘ งูบางชนิดดุร้ายมาก เช่น งูจงอาง ที่พ่อเรียกว่า “งูบอง” งูชนิดนี้ออกหากินตอน พระอาทิตย์ใกล้จะลับฟ้า มันกินสัตว์จาพวกนก หนู กบ เขียด และแม้แต่กับงูด้วยกันมันก็ กินได้ ยิ่งเวลามันออกไข่จะยิ่งมีความดุร้ายมากขึ้นด้วยความหวงไข่ หากคนเข้าใกล้มีหวังโดน มันไล่ฉกกัดเอา งูจงอางตัวโตประเปรียวและกล้าสู้กับคน พวกเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก ที่มา : จากเรื่อง ชีวิตบ้านป่า ของ ประสิทธิ์ มุสิกเกษม ๗. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของงูชนิดนี้ ก. กลัวคน ข. ดุร้าย ค. ตัวโต ง. ประเปรียว ๘. เหตุใดพวกนักเดินป่าจึงกลัวงูชนิดนี้มาก ก. เพราะไม่มียารักษาถ้าถูกกัด ข. เพรามันตัวใหญ่ ค. เพราะมันดุร้าย ง. เพราะมันกล้าสู้คน อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ข้อ ๙ – ๑๐ เดือนธันวาคมปีนี้อากาศหนาวมาก วันนี้เป็นวันเสาร์ นิดและหน่อยไม่ต้องรีบไป โรงเรียน แม่ตื่นเช้าเพื่อเตรียมอาหารไว้ให้ลูกๆ วันนี้แม่ทาขนมจีนแกงไก่กับบัวลอยไข่หวาน นิดชอบรับประทานขนมจีนแกงไก่มาก ส่วนหน่อยชอบรับประทานขนมหวานมากกว่า ๙. ใครชอบรับประทานขนมหวาน ก. แม่ ข. พ่อ ค. หน่อย ง. นิด ๑๐. เหตุการณ์ในเรื่องนี้อยู่ในช่วงฤดูอะไร ก. ฤดูร้อน ข. ฤดูแล้ง ค. ฤดูฝน ง. ฤดูหนาว
  • 26. ๒๖ ข้อ ก ข ค ง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวมคะแนน กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรียน
  • 28. ๒๘ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน ๑. ง ๒. ค ๓. ข ๔. ก ๕. ง ๖. ค ๗. ง ๘. ข ๙. ง ๑๐. ก ๑. ข ๒. ง ๓. ก ๔. ค ๕. ก ๖. ข ๗. ค ๘. ง ๙. ค ๑๐. ง
  • 29. ๒๙ เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑  ๑. การอ่านจับใจความ คือ การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องที่เป็นส่วนใจความสาคัญ และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง  ๒. ใจความสาคัญของเรื่อง คือ ข้อความที่มีสาระครอบคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้า นั้นหรือเนื้อเรื่องทั้งหมด  ๓. การอ่านจับใจความต้องอ่านให้ละเอียดเพื่อทาความเข้าใจอย่างชัดเจน ไม่ควร หยุดอ่านระหว่างเรื่องเพราะจะทาให้ความเข้าใจไม่ต่อเนื่อง  ๔. เราไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน  ๕. ใจความสาคัญส่วนมากจะปรากฏอยู่ทุกส่วนของย่อหน้า  ๖. ใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้ามักปรากฏอยู่ในลักษณะของประโยค  ๗. การอ่านผ่านๆ โดยตลอดเพื่อให้รู้เรื่องคือขั้นตอนแรกของการอ่านจับใจความ  ๘. ไม่จาเป็นต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่องก็ได้เพราะไม่มีผลต่อเรื่องที่อ่าน  ๙. ควรตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านอย่างชัดเจน เพราะจะเป็นแนวทางกาหนดการอ่านได้ อย่างเหมาะสม และจับใจความได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น  ๑๐. การบันทึกย่อใจความสาคัญควรใช้ภาษาและสานวนของตนเอง
  • 30. ๓๐ เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๒ ๑. ฤดูหนาว ๒. ใส่เสื้อผ้าหนาๆ ๓. ภาคเหนือ ๔. วันลอยกระทง ๕. เพราะเป็นวัสดุที่ย่อยสลายง่าย ๖. ขนมปัง ผัก และผลไม้บางชนิด ๗. ผลกลม และผลรี ๘. ป้องกันยาฆ่าแมลง ๙. เข้าค่ายพักแรมลูกเสือ ๑๐. การแสดงรอบกองไฟ
  • 31. ๓๑ เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๓ เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๔ ๑. มะขามชอบไปเที่ยวหาดเจ้าไหม ๒. มะพร้าวเป็นพืชตระกูลปาล์ม สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทาง ๓. อาหารการกินเป็นเรื่องสาคัญที่เราควรให้ความสาคัญไม่น้อย ๔. นกเป็ดน้าจะอพยพตอนฤดูหนาว ๕. น้านมแม่ คืออาหารที่ดีและวิเศษสุดของมวลมนุษย์ ๑. นักเรียน ๒. ช่วยพ่อแม่ทางาน ๓. ห้องจริยธรรม ๔. ตะไคร้ ๕. กระต่าย ๖. อากาศ ๗. ใช้เป็นอาหาร ๘. ทวีปอเมริกาเหนือ ๙. พระนครศรีอยุธยา ๑๐. บัวผัน
  • 32. ๓๒ เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๕ . ใคร ...........มะละกอ...................................................... ทาอะไร ...........ถูกนาเข้ามาในประเทศไทย......................... อย่างไร ...........ในสมัยกรุงศรีอยุธยา.................................. ข้อคิด ............ควรทาอะไรให้ได้หลายๆ อย่าง................ ใคร ...........ลิง.................................................................. ทาอะไร ...........เก็บมะพร้าว................................................. อย่างไร ...........ได้อย่างรวดเร็ว............................................. ข้อคิด ............คนเราควรขยันเหมือนลิง............................ ใคร ...........สมัยโบราณ.................................................. ทาอะไร ...........ติดต่อสื่อสาร................................................. อย่างไร ...........โดยใช้นกพิราบ............................................. ข้อคิด ............จะฝึกอะไรต้องฝึกตั้งแต่เล็กๆ...................... ๑. ๒. . ๓. .
  • 33. ๓๓ บรรณานุกรม คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สานักงาน (๒๕๕๘). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิตภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ทินรัตน์ จันทราภินันท์. (๒๕๕๒). แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕. กรุงเทพฯ : บริษัทสานักพิมพ์เดอะบุคส์ จากัด. แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๕). การอ่านจับใจความ. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก สมศักดิ์ อัมพรวิสิทธิ์โสภาและคณะ. (ม.ป.ป.). ทักษะการอ่านจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓. กรุงเทพฯ : หจก.สานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต สาระน่ารู้เรื่องผลไม้. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๗. เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/saranarureuxngphlmi/ สาระน่ารู้สุขภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘. เข้าถึงได้จาก http://www.krabork.com สานักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ.[ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘. เข้าถึงได้จาก http://www.thaihealth.or.th เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. (ม.ป.ป.). สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ชุด แม่บทมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง ภาษาไทย ป.๓. กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด