SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
การบรรยาย
เรื่อง การบริหารการประชุมสาหรับผู้บริหาร
โดย
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
งานวิจัยและบันทึกเป็นสถิติไว้ พบว่า การประชุมทั้งหลายมีสัมฤทธิ์
ผลเพียงไม่เกิน ๒๑ % ของการประชุมที่ได้จัดกันขึ้น ส่วนที่เหลือถึงเกือบ
๘๐ % ถือว่าล้มเหลว
เหตุที่การประชุมได้ผลน้อย ก็เพราะส่วนใหญ่
ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมเหล่านั้น ทั้งจาก
ทางฝ่ายผู้จัดการประชุมและฝ่ายผู้เข้าร่วมประชุม
ไม่ได้ปฏิบัติตามหลักการที่ถูกต้องตามสมควร
และบางคนไม่เข้าใจหน้าที่และบทบาทของตนใน
การประชุมนั้น
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ประโยชน์ของการประชุม
• ประโยชน์ทางด้านการบริหาร
• ประโยชน์ในด้านการปฏิบัติงาน
• ประโยชน์ในด้านการติดต่อสื่อสาร
• ประโยชน์ในด้านการศึกษาการให้ความรู้
• ประโยชน์ในด้านการรักษาสัมพันธภาพระหว่างกัน
• ประโยชน์ในด้านการลดความขัดแย้งกัน
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
หลากเทคนิคการประชุม….เพื่อมุ่งสู่ความสาเร็จขององค์กร
การทางานในยุคปัจจุบันมี
ลักษณะการทางานเป็นทีม
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่ง
กันและกัน
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
การประชุม หมายถึง ขั้นตอนหรือกระบวนการร่วมกันของ
กลุ่มคนเพื่อเป้ าหมายในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งมีความสาคัญ
อย่างยิ่งในการดาเนินการขององค์กร การประชุมที่ดีนั้นต้อง
ช่วยในการตัดสินใจของคณะ การวางแผนและการติดตามผล
การมอบหมายความรับผิดชอบ
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
การประชุม หมายถึง การที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ได้เข้า
มาทากิจกรรมร่วมกัน มีการสื่อสารระหว่างกัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชี้แจงทาความเข้าใจร่วมกัน
แก้ปัญหาร่วมกัน หรือแจ้งข่าวสาร เป็ นการสื่อสารแนวเดียวกัน
Horizontal Communication)
การประชุมแบ่งออกได้ 5 ประเภท
1. การประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสาร
2 การประชุมเพื่อแก้ปัญหา
3. การประชุมเพื่อร่วมกันคิดสร้างสรรค์ ระดมความคิด
4. การประชุมเพื่อร่วมกันตัดสินใจ
5. การประชุมเพื่อสอนงานและฝึกอบรม
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
การประชุมสามัญ เป็นการประชุมตามที่ข้อบังคับกาหนดไว้ตายตัวว่า จะต้องกระทาตาม
ระยะเวลากาหนด เช่น เดือนละหนึ่งครั้ง ปีละหนึ่งครั้ง เป็นต้น
การประชุมวิสามัญ เป็นการประชุมตามที่ข้อบังคับเปิดโอกาสให้กระทาตามความจาเป็น เช่น
กาหนดไว้ว่าประธานมีสิทธิ์เรียกประชุม หรือสมาชิกจานวนหนึ่ง มีสิทธิ์เรียกร้องให้จัดประชุม
เป็นพิเศษได้ เมื่อมีเรื่องสาคัญที่จะต้องพิจารณาโดยด่วน
- การประชุมลับ เป็นการประชุมที่สมาชิกต้องการให้เป็นเช่นนั้น และได้รับความเห็นชอบจาก
สมาชิกส่วนใหญ่ของที่ประชุม โดยสิ่งที่จะนาไปเปิดเผยได้มีเฉพาะแต่มติหรือข้อปฏิบัติ และ
เปิดเผยตามกาหนดเวลาเท่านั้น ส่วนรายละเอียดการประชุมจะเปิดเผยไม่ได้
การประชุมเฉพาะกลุ่ม เป็ นการประชุมเฉพาะผู้มีสิทธิ์ และผู้มีหน้าที่เข้าประชุมอาจมี
ผู้ที่ได้รับเชิญเป็ นกรณีพิเศษด้วย การประชุมกลุ่มทางานตามที่ได้รับมอบหมาย ผู้เข้า
ประชุมก็ได้แก่สมาชิกเท่านั้นตามข้อบังคับ สาหรับการประชุมเฉพาะกลุ่มตาม
ระเบียบข้อบังคับ เช่น การประชุมของคณะกรรมการ
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
การประชุมสัมมนา เป็ นการ
ประชุมเฉพาะกลุ่มตามหัวข้อที่
กาหนดเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
ความคิด และประสบการณ์ แล้ว
ประมวลข้อคิดและข้อเสนอแนะ
จากที่ประชุม หัวข้อในการสัมมนา
มักจะเป็ นเรื่องวิชาการ หรือหัวข้อที่
เป็ นประโยชน์ต่อสังคมหรือการ
ทางาน
การประชุมปฏิบัติการ เป็ นการประชุมของคณะบุคคล ที่
ปฏิบัติงานประเภทเดียวกันหรือเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน
จุดมุ่งหมายของการประชุมปฏิบัติการ คือ เพื่อแสวงหาความรู้
ความเข้าใจ และแนวทางปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด มี
การฟังบรรยาย และลงมือทดลองปฏิบัติจริง ทา workshop
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ศัพท์ที่ใช้เรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประชุม
ผู้เข้าประชุม ได้แก่ บุคคลที่ได้รับเชิญ หรือได้รับแต่งตั้งให้เข้า
ประชุม หรือมีสิทธิ์โดยประการใดประการหนึ่งที่จะเข้าประชุมได้
สามารถที่จะมีสิทธิ์อภิปรายได้ ตั้งข้อเสนอให้ที่ประชุมพิจารณา และ
ถ้ามีการลงมติ ก็มีสิทธิ์ออกเสียงได้
องค์ประชุม หมายถึง ผู้มีสิทธิ์เข้าประชุมตามที่ข้อบังคับได้
ตราไว้ว่าจะต้องมีอย่างน้อยกี่คนจึงจะเปิ ดประชุมและ
ดาเนินการประชุมได้ ถ้าผู้เข้าประชุมยังมาไม่ครบตาม
จานวนที่กาหนดไว้ก็ถือว่ายังไม่ครบองค์ประชุม การประชุม
จะดาเนินไปไม่ได้รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
• ระเบียบวาระ หมายถึง หัวข้อในการประชุมตามที่เลขานุการ
โดยความเห็นชอบของประธานเป็ นผู้จัดลาดับไว้เป็ นเรื่องๆไป
แต่ละเรื่องเรียกว่าวาระที่ 1 วาระที่2 ตามลาดับ
• กาหนดการประชุม มักจะเริ่มด้วยการลงทะเบียนสาหรับผู้
เข้าประชุม พิธีเปิ ด การบรรยายหรือการอภิปรายการประชุม
อภิปรายของกลุ่มย่อย และเปิ ดคาบเวลาอภิปรายทั่วไปอีกครั้ง
หนึ่ง แล้วจึงปิ ดพิธี
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ขั้นตอนการประชุม
• การประชุมประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ หลายขั้นตอน ได้แก่
1 ขั้นตอนก่อนการประชุม หรือเรียกว่า การ
เตรียมการประชุม
2 ขั้นการดาเนินการประชุม
3 ขั้นตอนภายหลังการประชุม คือ การจัดทา
บันทึกการประชุม
•
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ขั้นตอนการประชุม
• การประชุมประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ หลายขั้นตอน ได้แก่
1 ขั้นตอนก่อนการประชุม หรือเรียกว่า การ
เตรียมการประชุม
2 ขั้นการดาเนินการประชุม
3 ขั้นตอนภายหลังการประชุม คือ การจัดทา
บันทึกการประชุม
•
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
แผนผังแสดงขั้นตอนของการประชุม
เตรียมการประชุม ผู้มาประชุม ดาเนินการประชุม ผลการประชุม
สถานที่
วัน เวลา ประชุม
อุปกรณ์
วาระการประชุม
รายงานการประชุมครั้งก่อน
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
แม้หลายคนอาจเคยผ่านการประชุมมาแล้ว แต่อาจไม่ใช่การ
ประชุมที่เหมาะสม ดังนั้นก่อนการประชุมทุกครั้ง
ผู้จัดควรตั้งคาถามดังนี้
• 1. มีการตั้งวัตถุประสงค์สาหรับการประชุมแล้วหรือยัง
• 2. วาระการประชุมถูกจัดทาไว้ล่วงหน้าก่อนการประชุม
หรือไม่
• 3. ผู้ที่มีความเหมาะสมนั้นสามารถเข้าร่วมประชุมได้หรือไม่
• 4. หัวข้อหรือประเด็นปัญหานั้นๆเป็ นเรื่องส่วนตัวหรือไม่
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
เป้ าหมายของการประชุมเพื่อการพัฒนามีปัจจัยหลัก 7 ประการคือ
มุ่งความสาเร็จ (Achievement)
หาข้อตกลงร่วมกัน (Agreement)
ปรับตัวในด้านการปฏิบัติงาน (Adjust)
การมีส่วนร่วมในกิจกรรม (Activity)
ความก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าที่ (Advancement)
การนาไปประยุกต์ใช้จริง (Apply)
การปรับปรุงแก้ไขยึดถือเป็ นแนวปฏิบัติ (Acting)รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
T = Target - เป้ าหมาย
• E = Empathy - ความเห็นอกเห็นใจ
• A = Application - การมีส่วนร่วม
• M = Moral - มีคุณธรรม
• W = Welfare - มีความเป็ นธรรม
• O = Open Mind - เปิ ดใจกว้าง
• R = Responsibility - ความรับผิดชอบ
• K = Knowledge - มีความรู้
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
วัตถุประสงค์ของการประชุม
• 1. การประชุมเพื่อแจ้งให้ทราบ (To Inform)
• 2. การประชุมเพื่อแก้ปัญหา (To Make Solution)
• 3. การประชุมเพื่อขอความคิดเห็นเพื่อตัดสินใจในเรื่องต่าง
ๆ
• (To Make Agreement)
• 4. การประชุมเพื่อประสานงาน (To Coordination)
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
การกระตุ้นและรวบรวมความคิด
Individual
ผู้ปฏิบัติงาน
มุ่งปรับปรุง สื่อสาร
สร ้างสัมพันธ์
เปิดใจรับฟัง
ให ้ข ้อมูลย ้อนกลับ
ให ้สิ่งเสริมแรง
รางวัล
สร ้าง
ความไว ้วางใจ
ส่งเสริม
การเรียนรู้
พัฒนา
ความคิดสร้างสรรค์
ให ้คาแนะนา
กาลังใจ
กระตุ้นแรงจูงใจ
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
เปิดใจกว้าง รับมุมมองใหม่ๆ
ฝึกคิด/ลองทากิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ
ลองทางานประจาโดยใช้วิธีการที่แตกต่างจากเดิม
ลดความยึดติดกับกติกา/ระเบียบปฏิบัติบางอย่างที่ขาดความยืดหยุ่น
สร้างความมั่นใจในความสามารถของตนเอง
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
สิ่งที่คุณเสนอมาน่ะ เคยลองทาแล้ว ไม่สาเร็จหรอก
ต้องใช้งบประมาณมาก คงเป็ นไปไม่ได้
ที่นี่เราไม่ทาอะไรอย่างที่คุณเสนอมาหรอก มันไม่ใช่แนวทางของเรา
ผู้บริหารเค้าไม่เล่นด้วยหรอก ยากที่เขาจะยอมรับ
ก็ของเดิมมันดีอยู่แล้ว จะต้องไปแก้ไขอะไรให้ยุ่งยาก
ประโยคสกัดกั้นความคิดสร้างสรรค์
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ประเด็นคำถำม
1. เป้ ำหมำยสูงสุดหรือผลสัมฤทธิ์ที่สำคัญที่องค์กรต้องกำรให้เกิดขึ้นใน
1-3 ปีข้ำงหน้ำ คืออะไร
 งำนกระบวนงำน
1) ลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนให้สั้น เป็นระบบ
 คน
2) ข้ำรำชกำรมีควำมเป็นมืออำชีพ
 ทรัพยำกร
3) ใช้ทรัพยำกรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
 ลูกค้ำ/ผู้รับบริกำรหรือผู้รับผลกระทบภำยนอกองค์กร
4) ประชำชนพึงพอใจต่อกำรทำงำนของหน่วยงำน
กำรประชุมเกี่ยวกับ กำรประเมินสถำนภำพด้ำนกำรบริหำร
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ประเด็นกำรประชุมควรเป็นเรื่องเกี่ยวกับ
2. อะไรบ้ำงที่เป็นจุดแข็งหรือสิ่งที่ดีที่องค์กรมีอยู่ และอยำกจะให้รักษำไว้
ต่อไป หรือมุ่งเน้นให้ดียิ่งๆ ขึ้น
5) คนมีควำมรู้ควำมสำมำรถเชี่ยวชำญเฉพำะทำงสูง
3. อะไรบ้ำงที่เป็นสิ่งท้ำทำย หรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้กำรบริหำรงำน
ขององค์กรประสบผลสำเร็จ เป้ ำหมำยสูงสุดที่คำดหวัง
6) จำนวนบุคลำกรรุ่นใหม่ที่จะมำทดแทนไม่ทันและไม่เพียงพอกับ
ภำรกิจ
4. อะไรบ้ำงที่หน่วยงำนกำรเจ้ำหน้ำที่ควรจะทำ แต่ไม่ได้ทำให้ช่วงที่ผ่ำนมำ
หรือท่ำนคำดหวังให้หน่วยงำนกำรเจ้ำหน้ำที่สนับสนุน
7) สภำพแวดล้อม บรรยำกำศกำรทำงำนที่ดีขึ้น
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
กำหนดประเด็นยุทธศำสตร์ด้ำนกำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคล
• กำรวิเครำะห์ทิศทำง นโยบำย ยุทธศำสตร์
แผนงำน/โครงกำรของส่วนรำชกำร
• กำหนดประเด็นยุทธศำสตร์กำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคล (ให้สอดคล้องกับทิศทำง
นโยบำยยุทธศำสตร์ของส่วนรำชกำร )
เครื่องมือ: 1. กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
กำหนดประเด็นยุทธศำสตร์ด้ำนกำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคล
จะต้องทำอะไร ด้ำน
กำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคลเพื่อ
ทำให้เป้ ำหมำย
สูงสุดหรือ
ผลสัมฤทธิ์บรรลุ
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
กำรกำหนดประเด็นยุทธศำสตร์กำรประชุมด้ำนกำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคล
จะใช้ประโยชน์จำกจุดแข็ง
อย่ำงไร เพื่อให้ยุทธศำสตร์ของ
หน่วยงำนประสบควำมสำเร็จ
กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล จะ
จัดกำรสิ่งท้ำทำยหรือสิ่งที่ต้อง
ปรับปรุงอย่ำงไร เพื่อให้
เป้ ำหมำยประสบควำมสำเร็จ
ควรบริหำรทรัพยำกรบุคคล
อย่ำงไร จึงจะทำให้ควำม
คำดหวังเป็นจริงได้
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
กำหนดประเด็นยุทธศำสตร์ด้ำนกำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคล
ประเด็นคำถำม
2. จุดแข็งหรือสิ่งที่ดีที่มีอยู่
5) คนมีควำมรู้ควำมสำมำรถเชี่ยวชำญ
เฉพำะทำงสูง
3. สิ่งท้ำทำยหรือสิ่งที่ต้องปรับปรุง
6) จำนวนบุคลำกรรุ่นใหม่ที่จะมำ
ทดแทนไม่ทันและไม่เพียงพอกับภำรกิจ
ประเด็นยุทธศำสตร์ด้ำน
กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล
กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลจะใช้ประโยชน์
จำกจุดแข็งอย่ำงไร เพื่อให้ยุทธศำสตร์ของ
หน่วยงำนประสบควำมสำเร็จ
5) พัฒนำระบบสร้ำงแรงจูงใจ เพื่อรักษำ
บุคลำกรที่มีประสิทธิภำพสูงไว้
กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลจะจัดกำรสิ่ง ท้ำ
ทำยหรือสิ่งที่ต้องปรับปรุงอย่ำงไร เพื่อให้
เป้ ำหมำยประสบควำมสำเร็จ
6) วำงแผนกำรบริหำรอัตรำกำลังและปรับ
อัตรำกำลังให้เหมำะสมเพียงพอกับภำรกิจ
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
กำหนดประเด็นยุทธศำสตร์ด้ำนกำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคล
ขั้นตอนที่ 3
ประเด็นคำถำม
4. สิ่งที่หน่วยงำนทรัพยำกรบุคคลควรจะทำ
รวมทั้งสิ่งที่คำดหวังจำกหน่วยงำนด้ำน
ทรัพยำกรบุคคล
7) สภำพแวดล้อม บรรยำกำศกำร
ทำงำนที่ดีขึ้น
ประเด็นยุทธศำสตร์ด้ำน
กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล
ควรบริหำรทรัพยำกรบุคคลอย่ำงไร จึงจะทำ
ให้ควำมคำดหวังเป็นจริงได้
7) สร้ำงสภำพแวดล้อมกำรปฏิบัติงำนให้
คนทำงำนอย่ำงมีควำมสุข
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
กำหนดเป้ ำประสงค์เชิงกลยุทธ์ด้ำนกำร
บริหำรทรัพยำกรบุคคล และตัวชี้ วัดผล
กำรปฏิบัติงำนของแต่ละเป้ ำประสงค์
• กำหนดเป้ ำประสงค์เชิงกลยุทธ์
• กำหนดตัวชี้ วัดผลกำรดำเนินงำน (KPIs)
ค่ำพื้นฐำน (Baseline) และค่ำเป้ ำหมำย
เครื่องมือ: 1. กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร
2. กำรวิเครำะห์แรงเสริม - แรงต้ำน (Force Field
Analysis)
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
เอกสารที่ใช้ประกอบการประชุม
เอกสารคืออะไร
• สิ่งหรือสื่อที่ใช้อธิบายถึงทิศทาง แนวทาง ขั้นตอนหรือวิธีการ
ปฏิบัติงาน โดยอาจจะอยู่ในลักษณะต่าง ๆ เช่น ระเบียบปฏิบัติ
คู่มือการปฏิบัติงาน วิธีการทางาน รูปภาพ แบบฟอร์ม เป็นต้น
การจัดทาเอกสารคืออะไร
• การกาหนดแนวทาง ขั้นตอน หรือวิธีการไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารหรือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ภาพรวมด้านเอกสารภายในองค์กร
(Documentation Overview)
เอกสารของแต่ละองค์กรมักประกอบด้วย
– เอกสารแสดงวิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบาย และวัตถุประสงค์์ ขององค์กร
– คู่มือคุณภาพ (Quality Manual)
– ระเบียบปฏิบัติ คู่มือการปฏิบัติงาน (Procedure Manual/Work
Manual)
– วิธีการทางาน (Work Instruction)
– เอกสารจากภายนอกที่จาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน (Support
Document)
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
โครงสร้างของระบบเอกสารในองค์กร
1
2
3
4
แบบฟอร์ม, บันทึกและเอกสาร
สนับสนุน (Form, Record and
Support document)
วิธีปฏิบัติงาน/วิธีการทางาน
( Work Instruction)
ระเบียบปฏิบัติงาน (Procedure Manual),
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
คู่มือคุณภาพ (Quality Manual)
โดยทั่วไปแบ่งเป็น 4 ระดับ
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ระดับที่ 1: คู่มือคุณภาพ
คู่มือคุณภาพ (Quality Manual)
• ระบุรายละเอียดขององค์กร และนโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ ขององค์กร
• ประกอบด้วยกระบวนการต่างๆที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กร
• อ้างอิงถึงระเบียบปฏิบัติที่สนับสนุนนโยบายขององค์กรและกระบวนการ
• อธิบายปฏิสัมพันธ์ของแต่ละกระบวนการภายในองค์กร
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
โครงสร้างของคู่มือคุณภาพ
ประกอบด้วย
– วัตถุประสงค์/ขอบเขตขององค์กร
– ข้อมูลแนะนาองค์กร ประวัติองค์กร
– โครงสร้างองค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบ
– นโยบายขององค์กร (นโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ)
– ผังกระบวนการภายในองค์กร
– รายละเอียดของแต่ละกระบวนการโดยสังเขป
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ประโยชน์ของคู่มือคุณภาพ
• เป็นแนวทางให้กับเจ้าหน้าที่ทราบถึงนโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ ของ
องค์กร
• ใช้อธิบายจุดประสงค์และโครงสร้างองค์กร
• สร้างความประทับใจให้แก่บุคคลทั่วไป ให้มีความมั่นใจมากขึ้น
• ใช้อธิบายรายละเอียดของกระบวนการ
• เป็นพื้นฐานสาหรับผู้บริหารใช้ในการทบทวนและตรวจติดตามระบบ
บริหารคุณภาพภายใน
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
ระดับที่ 2: ระเบียบปฏิบัติ / คู่มือการปฏิบัติงาน
(Procedure / Work Manual)
• เปรียบเสมือนแผนที่บอกเส้นทางการทางานที่มีจุดเริ่มต้น และ
สิ้นสุดของกระบวนการ
• ระบุถึงขั้นตอนและรายละเอียดของกระบวนการต่างๆ ขององค์กรและ
วิธีควบคุมกระบวนการนั้น
• มักจัดทาขึ้นสาหรับลักษณะงานที่ซับซ้อน มีหลายขั้นตอนและ
เกี่ยวข้องกับคนหลายคน
• สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน
ควำมสอดคล้องเชิงยุทธศำสตร์
(Strategic HR Alignment)
 นโยบำย แผนงำน และมำตรกำรด้ำนกำรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคล สอดคล้องกับเป้ ำหมำย พันธกิจ
ของส่วนรำชกำรและจังหวัด
 มีกำรวำงแผนและบริหำรกำลังคน
 มีกำรบริหำรกำลังคนกลุ่มที่มีทักษะและสมรรถนะสูง
 มีกำรสร้ำง พัฒนำ และสืบทอดของตำแหน่ง
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
กำหนดตัวชี้ วัดผลกำรปฏิบัติงำนของแต่ละ
เป้ ำประสงค์
ขั้นตอนที่ 4
Performance Pyramid
ผู้ปฏิบัติงำน
หน่วยงำน
องค์กร
OUTCOMES
ควำมพึงพอใจของผู้รับบริกำร
OUTPUTS
ผู้รับบริกำรได้รับคำแนะนำที่ดี
ACTIVITIES
ตอบข้อซักถำมผู้รับบริกำร
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
Copyright © 2004 Accenture. Strictly and Confidential.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การวิเคราะห์และการคัดเลือกแนวทางการพัฒนาขีด
สมรรถนะองค์กรและบุคลากร
สรุปแนวคิดและคาถามที่ได้ฝากไว้สาหรับการประชุม
 องค์กรมีกลยุทธ์อะไรบ้างที่จะต้องปฏิบัติเพื่อนาพาสู่ความสาเร็จขององค์กร ?
 บุคลากรกลุ่มใดบ้างที่รับผิดชอบต่อความสาเร็จเหล่านั้น ?
 Competency อะไรบ้างที่กลุ่มบุคลากรเหล่านั้นจาเป็นต้องมี ?
 กลุ่มบุคลากรเหล่านั้นมี Competency อะไรอยู่แล้วบ้างในปัจจุบัน ?
 การฝึกอบรมที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ?
การประชุมเชิง
ปฏิบัติการ
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช
รองศาสตราจารย์ ดร. เนตร์พัณณา ยาวิราช

More Related Content

What's hot

โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักพัน พัน
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกkunkrooyim
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016Kasem Boonlaor
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002Thidarat Termphon
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศAugusts Programmer
 
แผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdfแผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdfssuser639c13
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการNatthawut Sutthi
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
สัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวกสัญลักษณ์แทนการบวก
สัญลักษณ์แทนการบวก
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ
 
แผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdfแผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdf
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการ
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 

Viewers also liked

2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tykSirisin Thaburai
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาAom Sinlapawiwat
 
บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์
บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์
บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์Natepanna Yavirach
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การwanna2728
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาNatepanna Yavirach
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)Aj Muu
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (14)

2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk2014 10-isots16949-training-tyk
2014 10-isots16949-training-tyk
 
Lesson3 seminar process
Lesson3  seminar processLesson3  seminar process
Lesson3 seminar process
 
Ema ส งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อมEma ส  งแวดล_อม
Ema ส งแวดล_อม
 
งานสารบรรณ
งานสารบรรณงานสารบรรณ
งานสารบรรณ
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
 
4.fmea
4.fmea4.fmea
4.fmea
 
บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์
บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์
บรรยายภาวะผู้นำและกลยุทธ์
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณาSlide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
Slide การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง รศ.ดร.เนตร์พัณณา
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
ศัพท์เกี่ยวกับการประชุม (Meetings)
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 

Similar to Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง

การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)Sornram Wicheislang
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้Perus Saranurak
 
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
Lesson2 the purpose of the seminar
Lesson2  the purpose of the seminarLesson2  the purpose of the seminar
Lesson2 the purpose of the seminarboonlua12040337
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)Nat Thida
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfSuphol Sutthiyutthasenee
 
Leadership series 5 of 6 running effective department meetings การประชุมอย...
Leadership series 5 of  6   running effective department meetings การประชุมอย...Leadership series 5 of  6   running effective department meetings การประชุมอย...
Leadership series 5 of 6 running effective department meetings การประชุมอย...maruay songtanin
 

Similar to Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง (20)

การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)การประชุมใหญ่ (Convention)
การประชุมใหญ่ (Convention)
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
เทคนิคการประชุม Ppt
เทคนิคการประชุม Pptเทคนิคการประชุม Ppt
เทคนิคการประชุม Ppt
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
How to Design Knowledge Toolkit - การออกแบบชุดสื่อเรียนรู้
 
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
นักจัดการงานทั่วไป(ปฏิบัติการ ชำนาญการพิเศษ)
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
Lesson2 the purpose of the seminar
Lesson2  the purpose of the seminarLesson2  the purpose of the seminar
Lesson2 the purpose of the seminar
 
%Ba%b
%Ba%b%Ba%b
%Ba%b
 
การนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุมการนำเสนอในการประชุม
การนำเสนอในการประชุม
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
กว่าจะเป็นผู้นำ
กว่าจะเป็นผู้นำกว่าจะเป็นผู้นำ
กว่าจะเป็นผู้นำ
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
Leadership series 5 of 6 running effective department meetings การประชุมอย...
Leadership series 5 of  6   running effective department meetings การประชุมอย...Leadership series 5 of  6   running effective department meetings การประชุมอย...
Leadership series 5 of 6 running effective department meetings การประชุมอย...
 

Presentation การประชุมสำหรับผู้บริหารระดับสูง