SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
1 
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด(มหาชน) 
ความเป็นมา 
อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นหนึ่งในผู้ผลิตโพลีเอสเตอร์ชั้นนาระดับโลกที่มุ่งเน้นบุคลากร และกระบวนการ อันเป็นผลให้บริษัทเป็นหนึ่งในบริษัทที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในโลก 
พันธกิจ 
บริษัทมุ่งพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่อง ผสมผสานความร่วมมือ ของผู้มีส่วนได้เสียและกระบวนการผลิตระดับสากลเพื่อบรรลุความพึงพอใจของลูกค้า ส่งผลให้ เป็นผู้จัดจาหน่ายที่ได้รับความนิยม บริษัทมีการจัดระบบการเรียนรู้ของบุคลากร ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญ ในการเติบโตของธุรกิจ 
ค่านิยม 
เน้นความสาคัญของบุคลากร 
บริษัทเชื่อมั่นว่า บุคคลเป็นกาลังหลักที่สาคัญ ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ผู้จัดจาหน่าย ลูกค้า ผู้ ถือหุ้นหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมและความพึงพอใจเป็นเสมือนพลังขับเคลื่อนที่สาคัญ เพื่อนาไปสู่ความสาเร็จและการเติบโตของธุรกิจ 
ความพึงพอใจของลูกค้า 
บริษัทเชื่อมั่นว่า บริษัทดาเนินธุรกิจได้จนถึงทุกวันนี้เนื่องจากลูกค้าของบริษัท บริษัท มุ่งเน้นการทากิจกรรมเพื่อบรรลุความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้า เพื่อสัมพันธภาพที่ยั่งยืน 
ความรับผิดชอบต่อสังคม 
บริษัทเชื่อมั่นในการเป็นผู้มีความรับผิดชอบและการใส่ใจต่อสังคม การรักษารวมถึงพัฒนา สิ่งแวดล้อมรอบบริษัท 
การกากับดูแลกิจการ 
บริษัทเชื่อมั่นในความโปร่งใส ความถูกต้อง มีเหตุผล และจริยธรรม เพื่อให้บรรลุผลสูงสุด ในเรื่องการกากับดูแลกิจการที่สอดคล้องกับหลักการปฏิบัติที่ดีที่สุด
2 
ภาพรวมบริษัท 
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด (มหาชน) เป็นหนึ่งในผู้ผลิตห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์แบบ ครบวงจรรายใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกและเป็นบริษัทชั้นนาในการผลิตเส้นด้ายขนสัตว์ระดับ โลก จากยอดขายทั่วโลกทาให้เห็นได้ว่ามีการเจริญเติบโตอย่างสูงทั้งทางภาคเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ของบริษัทจาหน่ายแก่ผู้บริโภคได้หลากหลายรูปแบบ เช่น อาหาร เครื่องดื่ม อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้าน และของใช้ส่วนตัว, ผลิตภัณฑ์เพื่อดูแลสุขภาพ, ผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับรถยนต์ สิ่งทอ และ การอุตสาหกรรม อินโดรามา เวนเจอร์ส เห็นความสาคัญของการสร้าง ความสัมพันธ์ที่มั่นคงและยาวนานอย่างแก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งหลาย อันได้แก่ กลุ่มลูกค้า, พนักงาน, สิ่งแวดล้อม, นักลงทุน, หุ้นส่วนทางธุรกิจ และในชุมชนต่างๆ และรวมถึงการผลิตสินค้าที่มี คุณภาพและบริการที่ดี ความสาเร็จของบริษัทมาจากพนักงานที่มีความมุ่งมั่นในการทางานที่มี จานวนมากกว่า 10,000 คนและการกาหนดเป้าหมายที่ชัดเจนของบริษัทที่ถูกกาหนดขึ้นโดย ผู้บริหารที่มีประสบการณ์ ความสัมพันธ์ของบริษัทที่มีต่อลูกค้า,การนาเสนอผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม อุตสาหกรรมที่มีการเจริญเติบโตสูง,การให้ความสาคัญกับการลงทุนที่ต่าและมีประสิทธิภาพและ เช่นเดียวกับความเป็นจริงที่ว่าผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นสินค้าหลักของผู้บริโภคในอันดับต้นๆ ทา ให้ อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นบริษัทที่มีความแข็งแกร่งทางด้านการค้าในสภาวะเศรษฐกิจยุค ปัจจุบัน 
หลักการดาเนินธุรกิจ 
ธุรกิจของอินโดรามา เวนเจอร์ส ถูกพัฒนาเพื่อตอบรับความท้าทายด้านความยั่งยืนที่เกิดขึ้น ทั่วโลก เช่น การร่อยหรอของทรัพยากรและการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่อาจจะส่งผลกระทบ ต่อประชากรและธุรกิจ ทั้งทางกายภาพและทางการเงิน ในรูปแบบการเพิ่มขึ้นภัยธรรมชาติ มลพิษ และราคาของทรัพยากรธรรมชาติที่เพิ่มสูงขึ้น ในทางกลับกันการเติบโตของประชากรจะเพิ่มความ ต้องการผลิตภัณฑ์ เพิ่มโอกาสทางธุรกิจให้แก่บริษัท 
บริษัทอินโดรามา เวนเจอร์ส เชื่อมันว่า อนาคตขึ้นอยู่กับการบริโภคที่มีการคานึงถึง สิ่งแวดล้อมมากขึ้น อันเป็นผลมาจากความตระหนักของลูกค้าที่เพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของการ จัดเก็บภาษีด้านสิ่งแวดล้อมและเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์อื่นๆ เพื่อบรรเทาปัญหา ความท้าทาย ด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคต ดังนั้นบริษัทจึงมีการจัดการทางธุรกิจ เพื่อตอบโจทย์ ประเด็นที่ท้าทาย เหล่านี้ และสร้างโอกาสด้วยการจัดตั้งธุรกิจรีไซเคิล เพื่อลดปริมาณการบริโภควัสดุใหม่และ นาเสนอผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม เพื่อตอบสนองความต้องการที่เฉพาะของลูกค้า พร้อมกับการดาเนิน ธุรกิจอื่นๆ
3 
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด มหาชน ประกอบกิจการภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย และส่งเสริมการเป็นบริษัทที่มีรากฐานองค์กรทางด้านจริยธรรม โดยบริษัทฯมีนโยบายเสาหลัก 7 ประการเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นแนวทาง หลักที่บริษัทมุ่งมั่นในการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตาม เป้าหมายอย่างดี ที่สุด ครอบคลุมการดาเนินงานทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและ บุคลากร เพื่อ อนาคตที่ยั่งยืนของบริษัทและของพนักงานทุกคน ตลอดจนเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมและเสริมสร้าง สัมพันธภาพที่ดี ในระยะยาวในสังคม 
โดยจะร่วมมือกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้มั่นใจได้ว่าได้มีการจ้างงานอย่างเป็นธรรม และ เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึ่งให้ความเคารพต่อหลักสิทธิมนุษยชนและกฎหมายแรงงานทั่วไป บริษัทดาเนินธุรกิจตามหลักจริยธรรมและจะปฏิบัติต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มด้วยความเคารพ อีกทั้งจะธารงไว้ซึ่งการสานเสวนาที่เปิดเผยโปร่งใส เพื่อที่จะสนับสนุนและคงไว้ซึ่งภาพลักษณ์ที่ดี ของบริษัทฯ ทั้งในแง่ของการดาเนินธุรกิจและในแง่ของการมีปฏิสัมพันธ์กับชุมชนในฐานะที่เป็น ผู้นาในอุตสาหกรรม บริษัทมุ่งที่จะลดและจากัดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนข้างเคียงโดย การหาวิธีการเพื่อที่จะลดของเสียจากอุตสาหกรรม โดยการใช้ซ้า การรีไซเคิลและสนับสนุนการใช้ พลังงานอย่างคุ้มค่า 
ประเด็นสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ 
1.ขยะ 
2.ของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต 
3.สภาพแวดล้อมที่มีต่อชุมชน 
4.การใช้พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 
5.พนักงาน 
วิธีการดาเนินการ 
1.ขยะ มีการดาเนินการโดยการรีไซเคิล ดังนี้ 
บริษัทอินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด(มหาชน) เล็งเห็นว่าการรีไซเคิลเป็นประเด็นด้านความ ยั่งยืนที่สาคัญ ดังนั้นบริษัทจึง กาหนดให้การรีไซเคิลเป็นหนึ่งในหัวข้อหลักของกลยุทธ์การเติบโต
4 
ทางธุรกิจ เพื่อให้เป็นบริษัทที่มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการรีไซเคิล ให้แก่บุคคลภายนอกทั่วไป เพื่อสร้างความตระหนักในสังคม และส่งเสริมให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมในการใช้ ผลิตภัณฑ์รีไซเคิล 
บริษัทอินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด มหาชน มีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อใช้วัตถุดิบ อย่างคุ้ม ค่า โครงการวิจัยและพัฒนาของบริษัทฯ จึงมุ่งเน้นที่การปรับปรุงการใช้ทรัพยากรและ วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีน้าหนักเบา เส้นใยทดแทนที่ ผลิตจากพืช ตลอดจนดาเนินการซื้อโรงงาน Wellman รีไซต์เคิล มีกระบวนการที่เรียกว่า Close Loop SystemTM ที่สามารถนาโพลีเอสเตอร์กลับมาใช้ได้ทั้งหมด 100% ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเส้นใย ของ Wellman จึงสามารถนากลับมาใช้เป็นวัตถุดิบอีกครั้งเพื่อนาไปผลิตเป็นเส้นใยใหม่ 
อ้างอิงจากเว็บ http://thailandindustry.com/news/view.php?id=15197&section=27 
การส่งเสริมให้เกิดความตระหนักด้านการรีไซเคิลในสังคม 
อินโดรามา เวนเจอร์ส จัดการแข่งขันที่มีชื่อว่า RECO เป็นประจาทุกปี เพื่อเปิดโอกาสให้ คนรุ่นใหม่ได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ โดยการผลิต ผลงานแฟชั่นหรือผลิตภัณฑ์จากการรีไซเคิล พลาสติก PET และโพลีเอสเตอร์ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้ทุกคนเห็นว่า ของที่ถูกมอง ว่าเป็นขยะสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้หากมีการนามาใช้อย่างสร้างสรรค์ นอกจากนี้ บริษัท ฯ ยังริเริ่มโครงการให้ความรู้แก่ชุมชนทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัดในเรื่องการสร้างมูลค่าเพิ่ม จากวัสดุใช้แล้ว
5 
ในปี 2557 บริษัทฯ มีแผนทบทวนกระบวนการผลิต เพื่อตรวจสอบหาของเสียที่สามารถนา กลับมาใช้ซ้าเพิ่มเติม เพื่อค้นหาสัดส่วนของของเสีย ที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ และมีการ ตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ว่าได้รับผลกระทบจากการรีไซเคิลของเสียนี้หรือไม่ ในบางกรณี อาจ มีการจัดทาโครงการนาร่องเพื่อทดสอบการนาของเสียกลับมาใช้ในกระบวนการผลิต หาก พบว่าของเสียดังกล่าวไม่สามารถนามาใช้ในกระบวนการ ผลิตได้ บริษัทจะตรวจสอบเพิ่มเติมว่า ของเสียเหล่านี้สามารถนาไปใช้ผลิตเป็นพลังงานหรือขายเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพต่าได้หรือไม่ 
2.การลดของเสีย 
ความพยายามในการลดของเสียของบริษัทครอบคลุมทั้งในเรื่องของ เสียและน้าทิ้ง บริษัท มุ่งเน้นการปรับปรุงกระบวนการทุกขั้นตอน ตั้งแต่การลดการใช้วัตถุดิบไปจนถึงการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการดาเนินงานโดยการเพิ่มศักยภาพในการดาเนินงานควบคู่ ไปกับความรับผิดชอบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้นโดยใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานให้น้อยลง 
การลดของเสียในกระบวนการผลิตเป็นส่วนสาคัญในการลดค่าใช้จ่ายของบริษัท บริษัทมี การตรวจสอบกระบวนการผลิตและและบารุงรักษาเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิด ของเสียในกระบวนการผลิต การปรับปรุงกระบวนการผลิต ทาให้เราสามารถที่จะระบุขั้นตอนที่มี การใช้พลังงานหรือวัตถุดิบมากเกินความจาเป็น การสูญเสียในกระบวนการผลิต รวมถึงการเกิด ของเสียในขั้นตอนการตรวจสอบ นอกเหนือจากการป้องกันของเสีย เรามีการนาของเสียกลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ เช่น การนาความร้อนทิ้งจากอากาศที่หมุนเวียนแล้วกลับมาใช้ใหม่ การแปรรูปเศษ ฝุ่น PET ภายในโรงงาน การรีไซเคิลตะกอนกลับไปยังกระบวนการผลิต การกาจัดไกลคอลออกจาก น้าเสีย นอกจากนี้เรายังลงทุนด้านการรีไซเคิลและการเพิ่มการใช้วัตถุดิบรีไซเคิลในกระบวนการ ผลิตของเรามากยิ่งขึ้นการลดของเสียที่เราได้ดาเนินการไป ยังรวมถึงการนาบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้ว นามาใช้ใหม่ การนากระดาษ ตลับหมึกพิมพ์ ของเสียในครัว และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้แล้ว กลับมาใช้ซ้า
6 
3. ความรับผิดชอบด้านชุมชน 
บริษัทฯ มีการดาเนินธุรกิจรอบชุมชน ดังนั้นจึงต้องมีการเชื่อมโยงและเข้าไปมีส่วนร่วมกับ คนในชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท บริษัทมีการติดต่อและ ปฏิสัมพันธ์กับชุมชนท้องถิ่นและมุ่งเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่มั่นคงด้วยการควบคุม ผลกระทบ ทั้งทางสังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพกับชุมชนโดยรอบ รวมทั้งวางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน ชุมชน โรงงานทุกแห่งมี การรับข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะจากผู้นาชุมชนอย่างสม่าเสมอ 
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นมิตรที่ดีต่อชุมชนและต้องการเติบโตอย่างยั่งยืนไป พร้อมๆกัน 
มีการให้คามั่นในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและมีส่วนร่วมในการพัฒนาที่ยั่งยืน สร้าง ผลประโยชน์ในระยะยาวให้แก่ชุมชนที่เรามีการดาเนินธุรกิจ บริษัทมุ่งมั่นที่จะเป็นเพื่อนบ้านที่ดี และทุ่มเทความรู้ ความสามารถและทรัพยากรเพื่อสร้างและพัฒนาชุมชน 
3.1 การสร้างงานและการพัฒนาทักษะให้กับชุมชน 
การสร้างงานเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น บริษัทฯ มุ่งเน้น การจ้างงานในท้องถิ่นเมื่อเราจัดตั้งหรือขยายธุรกิจ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและกระตุ้น เศรษฐกิจท้องถิ่น ณ สิ้นปี 2556 บริษัทฯมีพนักงานทั่วโลกกว่า 9,000 คน โดยมีสัดส่วนของ พนักงานในท้องถิ่นสูงกว่าพนักงานนอกท้องถิ่น นอกเหนือจากการจ้างงาน เราทางานร่วมกันกับ ชุมชนท้องถิ่นในการให้ความรู้และฝึกอบรมในประเด็นที่ชุมชนให้ความสนใจ เช่น กลุ่มบริษัท PET ที่ลพบุรีได้เชิญวิทยากรจากสานักงานประมงจังหวัดเข้ามาให้ความรู้ชาวบ้านในการเลี้ยงปลา ดุก บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (นครปฐม)จัดการอบรมการสานตะกร้าและการทา ดอกไม้จันให้ชาวบ้าน เพื่อสร้างรายได้และให้สามารถเลี้ยงตัวเองได้อย่างยั่งยืนบริษัทฯมีกิจกรรมที่ เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาอาชีพโรงงานของเราหลายแห่งได้จัดกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงานให้กับ โรงเรียนในท้องถิ่นเพื่อให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ในสภาพแวดล้อมการทางานจริงและให้ คาแนะนาด้านอาชีพในอนาคตเราได้ให้ความรู้แก่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาเพื่อสนับสนุนการศึกษา และรับเชิญเป็นวิทยากรตามมหาวิทยาลัยต่างๆอีกด้วยเพื่อเพิ่ม การสร้างงานในท้องถิ่น เรามีการ จัดหาผลิตภัณฑ์และบริการหลากหลายชนิดจากธุรกิจในท้องถิ่น รวมทั้งพื้นที่ใกล้เคียงกับโรงงาน ของเรา การซื้อสินค้าและบริการในท้องถิ่นจะช่วยส่งเสริมการเติบโตของธุรกิจในท้องถิ่นและสร้าง ความแข็งแรงให้แก่ชุมชน 
3.2 การมีส่วนร่วมกับชุมชน 
บริษัทฯ มีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาชุมชนหลากหลายรูปแบบ เพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดี และการเติบโตทางเศรษฐกิจของชุมชน การมีส่วนร่วมกับชุมชนของเรามุ่งเน้นกิจกรรมในหัวข้อ
7 
หลัก 6 หัวข้อ ได้แก่ การบริจาคเพื่อการกุศล การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม 
ด้านสิ่งแวดล้อม การศึกษา สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของคนในชุมชนและจิตอาสาพนักงาน 
การให้เพื่อสังคม 
บริษัทฯให้การสนับสนุนโครงการการกุศลที่สอดคล้องกับนโยบายการดาเนินงานด้าน 
ความรับผิดชอบต่อสังคมและเป็นโครงการภายในชุมชน โดยมุ่งเน้นในเรื่องการศึกษา สุขภาพ 
สิ่งแวดล้อม ศิลปะ วัฒนธรรม การบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการพัฒนาชุมชนเป็น 
หลัก 
การสนับสนุนโครงการด้านศิลปะและวัฒนธรรม 
ศิลปะและวัฒนธรรมมีความสาคัญต่อการพัฒนาชุมชน ช่วยเชื่อมโยงคนในชุมชนเข้า 
ด้วยกันและสร้างชุมชนที่น่าอยู่มากยิ่งขึ้น ไอวีแอลให้การ สนับสนุนกิจกรรมในท้องถิ่นหลากหลาย 
รูปแบบ เพื่อช่วยส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมในชุมชน ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน
8 
สิ่งแวดล้อม 
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จา กัด (มหาชน) ริเริ่มโครงการ “Adopt a Beach” ที่บริเวณ 
หาดแม่ราพึง ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญในจังหวัดระยองและอยู่ใกล้โรงงานของเรา โดยมี 
วัตถุประสงค์เพื่อทาความสะอาดและดูแลรักษาชายหาด เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว สร้างรายได้ให้ 
ชุมชนท้องถิ่นและเศรษฐกิจของประเทศ กิจกรรมนี้มีอาสาสมัครเข้าร่วมกว่า 677 คน รวมทั้ง 
ตัวแทนจากสานักงานใหญ่และนักเรียนจากโรงเรียนในท้องถิ่น โครงการนี้เริ่มต้นครั้งแรกในปี 
2555 และมีจา นวนขยะที่เก็บได้ทั้งหมดรวม 7.9 ตัน 
การศึกษา 
ไอวีแอลให้การสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับท้องถิ่นและ 
มีบทบาทในการสร้างพลเมืองและชุมชนที่ดี บริษัทเชื่อมั่นว่า การพัฒนาคนเก่งไม่เพียงแต่ช่วย 
เสริมสร้างความแข็งแกร่งของชุมชนท้องถิ่นแต่ยังพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของ 
การดา เนินธุรกิจของบริษัทในอนาคต บริษัททา งานอย่างใกล้ชิดโรงเรียนและสถาบันการศึกษาใน 
ท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมการศึกษาในทุกระดับ เรามีการให้ทุนการ ศึกษาแก่นักเรียนที่ยากจน เพื่อให้มี 
โอกาสศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและเพิ่มโอกาสในอนาคต
9 
สุขภาพและความเป็นอยู่ในชุมชน 
ไอวีแอลมุ่งส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ของคนในชุมชน บริษัทให้การสนับสนุน โครงการด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีหลากหลายโครงการ ครอบคลุมการพัฒนาและปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับสุขภาพ การป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพที่ดี 
จิตอาสาพนักงาน 
ไอวีแอลสนับสนุนให้พนักงานมีจิตอาสาสร้างความมีส่วนร่วมและพัฒนาชุมชนด้วยการ ร่วมกันทาสิ่งดีๆ คืนกลับสู่สังคม 
4.การใช้พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 
ไอวีแอลมีการลดการใช้พลังงานด้วยการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ซึ่งไม่ เพียงแต่ให้ประโยชน์ทางการเงิน เนื่องจากต้นทุนที่ลดลง แต่ยังช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจก บริษัทมีการนาวิธีการต่างๆ มาใช้ในการปรับปรุงระบบการจัดการก๊าซเรือนกระจก เพื่อ ตรวจสอบและรายงานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งปรับปรุงการดาเนินงาน ปัจจุบันมี โรงงานทั้งหมด 6 แห่งที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบ 
อินโดรามา เวนเจอร์ส มุ่งมั่นในการนาระบบมาตรฐานสากล ISO 14064 ว่าด้วยการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาใช้ (หรือวิธีการอื่นที่เหมาะสม) มาใช้บริหารจัดการการปล่อยก๊าซเรือน กระจกกับโรงงานที่ปัจจุบัน 
การจัดการพลังงาน ISO 50001 ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ตระหนักว่า น้าเป็นทรัพยากรที่จากัดและต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสม เรามีการควบคุม ความต้องการและปริมาณการใช้น้าอย่างเคร่งครัดในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน เพื่อปรับปรุงการ ใช้น้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น บริษัทมีการดาเนินการโครงการหลายโครงการ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้น้า เช่น การลดปริมาณการใช้น้าดิบในหน่วยรีดน้า ด้วยการนาน้าเสียจาก โรงงานผ่านการบาบัดน้าเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ การเปลี่ยนริงเมนยูนิต เพื่อป้องกันการรั่วไหลของ น้าในท่อคุณภาพน้ามีความสาคัญและเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสะอาดและสุขภาพของชุมชน น้าที่ผ่านกระบวนการผลิตของเราจะถูกบาบัดเพื่อให้เป็นไปตามคุณภาพน้าเป็นไปตามมาตรฐาน ไม่ว่าจะด้วยวิธีการบาบัดน้าเสียภายในโรงงานหรือส่งไปยังหน่วยบาบัดภายนอกโรงงาน
10 
อ้างอิงจาก : รายงานความยั่งยืน http://www.indorama.net/TH/CSResponsibility/pdf/Sustain2013_final_THAI.pdf (ในหน้า 46) 
ในปี 2556 ไอวีแอลมีการริเริ่มโครงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในโรงงานหลายโครงการ เช่น 
„ โรงงานอินโดรามา สามารถประหยัดพลังงานได้ 765 เมกกะวัตต์ชั่วโมง (MWh) ต่อปีจาก การถอดตัวห้ามกลไกของวาล์วควบคุมหัวกระจายอากาศในเครื่องตกผลึกตัวแรกออกโดยไม่ กระทบต่อประสิทธิภาพการทางาน ส่งผลให้ลดความดันด้านส่ง ทาให้ลดการใช้พลังงานในเครื่อง อัดอากาศ
11 
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จา กัด(มหาชน) ยังมีนโยบายการนา ทรัพยากรกลับมาใช้ซ้า 
ซึ่งการนา ทรัพยาการกลับมาใช้ซ้า ไม่เพียงแต่เป็นการเพิ่มความ ได้เปรียบในการแข่งขันจากต้นทุนที่ 
ลดลง แต่ยังช่วยแก้ปัญหา ราคาทรัพยากรธรรมชาติที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคตอีกด้วย 
นอกจากนี้บริษัทยังมีนโยบายการใช้พลังงานทดแทน ไอวีแอลมีความพยายามในการใช้ 
พลังงานทดแทนและเชื้อเพลิงทางเลือกให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ บริษัทมีการติดตั้งแผงโซลาร์ 
เพื่อเปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยไม่มีการปล่อยมลพิษทางอากาศหรือน้า 
นอกจากนี้ยังไม่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขั้นตอน การผลิตไฟฟ้า จึงมั่นใจได้ว่า บริษัทช่วยลด 
การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 
5.พนักงาน 
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จา กัด (มหาชน) เชื่อมั่นว่าด้วยรากฐานของพนักงานที่มีความสามารถ 
และมีความหลากหลายจะช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางให้แก่องค์กร 
ของบริษัท พนักงานมีบทบาทหน้าที่ที่หลากหลาย มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตและการบา รุงรักษา 
ตลอดจนการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ตั้งแต่ระดับพนักงานไปจนถึงระดับผู้จัดการและระดับอื่นๆ ก็ 
มีความเชี่ยวชาญ เช่น ด้านการตลาด การขาย การขนส่ง พิธีการศุลกากร ภาษีและการค้า การเงิน 
และบัญชี เป็นต้น 
บริษัทฯ ส่งเสริมและจัดให้มีการรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมในการ 
ทา งานของพนักงาน โดยมอบหลักประกันสุขภาพ ความเป็นอยู่ รวมถึงผลประโยชน์ของพนักงาน 
โดยประเมินถึงความปลอดภัยและความเสี่ยง และมีการติดตาม บริษัทจัดให้มีการอบรมในด้าน 
ความปลอดภัยให้แก่พนักงานโดยคานึงถึงลักษณะงานในแต่ละประเภท และความเสี่ยงจากการ
12 
ทางานบริษัทฯ มีการติดตามและบันทึกการประเมินผลของการเสียโอกาสของเวลา ซึ่งส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมและมาตรฐาน บริษัทฯ ใช้มาตรการซึ่งประกอบไปด้วยการกระจายระบบ ออกจากส่วนกลาง การผลิตภายใน และสถานที่ที่มีพนักงานอยู่เป็นจานวนมาก บริษัทฯ ได้ทาการ ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานทั้งภายในและภายนอก โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งถึงสามปี บนพื้นฐาน ของการดาเนินงานและความเสี่ยง การกาหนดจุดเสี่ยงและสถานที่ที่มีพนักงานอยู่เป็นจานวนมาก และรับมือการอพยพพนักออกจากเหตุอันตรายที่จะเกิดขึ้น บริษัทจะตรวจสอบให้มีการปฏิบัติตาม มาตรฐานการรักษาความปลอดภัย สุขภาพและสิ่งแวดล้อม 
บริษัทฯ มีการจัดประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นประจาทุกปี เพื่อค้นหาผู้ที่มีความสามารถ และเตรียมแผนการพัฒนาที่เหมาะสม โดยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ การประเมินตนเองและการ ประเมินโดยผู้บังคับบัญชาที่ขึ้นตรง เปิดโอกาสให้ผู้ถูกประเมินและผู้ประเมินได้แลกเปลี่ยนพูดคุย เกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานและสิ่งที่คาดหวังสาหรับการทางานในปีต่อไป 
ผลจากการประเมินการปฏิบัติงาน จะถูกนาไปใช้ในการพิจารณาความต้องการในการ ฝึกอบรมสาหรับพนักงานแต่ละคน และบริษัทฯ จะมีการ วางแผนการฝึกอบรมทั้งปี โดยพิจารณา จากความต้องการในการฝึกอบรมทั้งหมด พนักงานจะได้รับการฝึกอบรมตามความต้องการในการ ฝึก อบรม ทั้งในรูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้วิทยากรภายในและภายนอก 
อ้างอิงจาก : รายงานความยั่งยืน http://www.indorama.net/TH/CSResponsibility/pdf/Sustain2013_final_THAI.pdf(ในหน้า 56)
13 
ที่ตั้งของบริษัท
14 
ธุรกิจหลักของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด (มหาชน) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 
1. เม็ดพลาสติก (PET) 
ธุรกิจการผลิตและจาหน่ายเม็ดพลาสติก PET เป็นหนึ่งในธุรกิจหลักของ IVL ผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติก สามารถนามาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตบรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่ม สารเคมีสาหรับใช้ ภายในบ้านและอุตสาหกรรม รวมถึงเวชภัณฑ์ประเภทต่างๆ 
2. เส้นใยโพลีเอสเตอร์ 
ธุรกิจเส้นใยโพลีเอสเตอร์เป็นหนึ่งในธุรกิจหลักของ IVL โดย IVL ผลิตและจาหน่ายโพลี เอสเตอร์ในอุตสาหกรรมสิ่งทอเพื่อผลิตเส้นใยและเส้นด้าย (Fibers and Yarns) เส้นใยโพลีเอสเตอร์ เป็นเส้นใยสังเคราะห์ประเภทหนึ่งที่ใช้ทดแทนเส้นใยธรรมชาติและเป็นเส้นใยที่เป็นที่ต้องการสูง เนื่องจากสามารถนาไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต่างๆ 
3. สาร PTA 
ธุรกิจสาร PTA เป็นธุรกิจเสริมสร้างและสนับสนุนธุรกิจเม็ดพลาสติก PTA และธุรกิจเส้น ใยโพลีเอสเตอร์และเป็นอีกหนึ่งธุรกิจหลักของบริษัทฯ
15 
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม มอก. 14001:2548 (ISO 14001: 2004) Environmental Management System (ISO 14001:2004) มี วัตถุประสงค์เพื่อให้องค์กรมีความตระหนักถึงความสาคัญของการ จัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาสิ่งแวดล้อมควบคู่กับการพัฒนา ธุรกิจ โดยมุ่งเน้นในการป้องกันมลพิษ (Prevention of Pollution) และ การปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง การนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 มาใช้จะก่อให้เกิดประโยชน์กับองค์กรในการลดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุดิบ และพลังงาน และการบาบัดมลพิษ 
หลักการสาคัญ ดังนี้ 
1. การกาหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Policy) 
2. การวางแผนเพื่อสนองนโยบาย (Planning) 
3. การนาไปปฏิบัติและการดาเนินการ (Implementation & Operation) 
4. การตรวจสอบและการปฏิบัติแก้ไข (Checking & Corrective Action) 
5. การทบทวนและปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (Management Review & Continual Improvement) 
ประโยชน์ที่ได้รับ 
1. ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สาหรับการนาทรัพยากรไปใช้ในการผลิต 
2. สนองความต้องการของลูกค้า เนื่องจากในปัจจุบันลูกค้าต้องการสินค้าที่ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 
3. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการค้า โดยเฉพาะคู่ค้าหรือคู่แข่งที่มุ่งประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมควบคู่ กับประเด็นคุณภาพอื่นๆ 
4. สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ เนื่องจากจะทาให้องค์กรสามารถวางแผนการใช้ทรัพยากรและ พลังงานให้น้อยลง และลดค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหาและการบาบัดของเสียได้ 
5. มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอมรับและได้รับความเชื่อถือ ความไว้วางใจจากสังคม สถาบันและ หน่วยงานต่างๆมากขึ้น เช่น เป็นที่เชื่อถือของสถาบันการเงินและเพิ่มความเชื่อมั่นสาหรับผู้ลงทุน ในตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น
16 
6. เกิดความสัมพันธ์อันดีต่อสังคมภายนอก เนื่องจากการผลิต การบริการขององค์กรไม่มีผลกระทบต่อ ชุมชนหรือสังคมภายนอก 
ข้อกาหนดของมาตรฐาน ISO 14001: 2004 
4.1 ข้อกาหนดทั่วไป 
องค์กรต้องจัดทาระบบ เป็นเอกสาร นาไปปฏิบัติรักษาไว้ และปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้อง ตามข้อกาหนดของมาตรฐานสากลนี้ และต้องกาหนด ว่าระบบที่จัดทาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อกาหนดอย่างไร 
องค์กรต้องกาหนดขอบเขตของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และจัดทาเป็นเอกสารไว้ 
4.2 นโยบายสิ่งแวดล้อม 
ผู้บริหารสูงสุดต้องกาหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมขององค์กร และต้องมั่นใจว่า ภายใต้ ขอบเขตของการจัดทาระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม นโยบายนั้นจะต้อง 
a) เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจ ขนาด และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และบริการ 
b) รวมถึงความมุ่งมั่นในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และป้องกันมลพิษ 
c) รวมถึงความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามข้อกาหนดของกฎหมายที่ประยุกต์ใช้และข้อกาหนดอื่น ที่องค์กรเป็นสมาชิก ซึ่งเกี่ยวข้อง กับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมขององค์กร 
d) กาหนดกรอบในการกาหนดและทบทวนวัตถุประสงค์และเป้าหมายสิ่งแวดล้อม 
e) จัดทาเป็นเอกสาร นาไปปฏิบัติและคงไว้ 
f) สื่อสารไปยังพนักงานทุกคน หรือบุคคลอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานให้กับองค์กร 
g) เผยแพร่ต่อสาธารณะได้ 
4.3 การวางแผน 
4.3.1 ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น)
17 
a) เพื่อชี้บ่งลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และบริการ ภายใต้ ขอบเขตของการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งในส่วนที่องค์กรสามารถควบคุมได้ และมี อานาจเหนือสิ่งนั้นได้ เพื่อคานึงถึงในการวางแผน หรือการพัฒนาใหม่ ๆ หรือการสร้างหรือ ปรับเปลี่ยนกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ บริการ ใหม่ และ 
b) เพื่อกาหนดว่าลักษณะปัญหานั้น มีหรืออาจมีผลกระทบที่สาคัญต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ องค์กร ต้องจัดทาข้อมูลดังกล่าวเป็นเอกสาร และทาให้เป็น ปัจจุบันเสมอ องค์กรต้องมั่นใจว่าลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญได้ถูก พิจารณาในการจัดทา การนาไปปฏิบัติ และการรักษาไว้ซึ่งระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 
4.3.2 กฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) 
a) เพื่อชี้บ่งและเข้าถึงกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่ประยุกต์ใช้ ซึ่งองค์กรเป็นสมาชิก โดยกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ดังกล่าว เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมขององค์กร และ 
b) เพื่อกาหนดว่าข้อกาหนดต่าง ๆ ดังกล่าว นาไปประยุกต์ใช้กับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ขององค์กรอย่างไร องค์กรต้องมั่นใจว่ากฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่ประยุกต์ใช้ ซึ่งองค์กรเป็น สมาชิกนั้น ได้ถูกพิจารณาในการจัดทา นาไปปฏิบัติและรักษาไว้ซึ่งระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 
4.3.3 วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการ 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งวัตถุประสงค์และเป้าหมายสิ่งแวดล้อมที่เป็นเอกสาร สาหรับหน่วยงานและระดับที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร 
วัตถุประสงค์และเป้าหมายจะต้องวัดผลได้ในกรณีที่สามารถทาได้ และสอดคล้องกับนโยบาย สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความมุ่งมั่นที่จะป้องกันมลพิษ ปฏิบัติให้สอดคล้องตามกฎหมายและข้อกาหนด อื่น ๆ ที่องค์กรเป็นสมาชิก และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ในการจัดทาและทบทวนวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย องค์กรต้องคานึงถึงกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่องค์กรเป็นสมาชิก และพิจารณา ถึงลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ ทางเลือกด้านเทคโนโลยีและการเงิน ข้อกาหนดในการ ปฏิบัติการ และข้อกาหนดทางธุรกิจ รวมถึงมุมมองของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
18 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่ง โครงการ (โครงการเดียวหรือมากกว่านั้น) เพื่อ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย โดยโครงการนั้น ๆ ต้องรวมถึง 
a) การกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ใน หน่วยงานและระดับที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร และ 
b) วิธีการและช่วงเวลาดาเนินการให้บรรลุผล 
4.4 การนาไปปฏิบัติและการดาเนินการ 
4.4.1 ทรัพยากร บทบาท ความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่ 
ฝ่ายบริหารต้องมั่นใจว่า ทรัพยากรที่จาเป็นมีเพียงพอต่อการจัดทา การนาไปปฏิบัติ การ รักษาไว้ และการปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรในที่นี้ รวมถึงทรัพยากรบุคคล และความชานาญเฉพาะทาง โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ขององค์กร เทคโนโลยี และ ทรัพยากรทางการเงิน บทบาท ความรับผิดชอบ และอานาจหน้าที่จะต้องถูกกาหนด จัดทาเป็น เอกสาร และมีการสื่อสารเพื่อช่วยให้ง่ายต่อการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิผล 
บริหารสูงสุดขององค์กรต้องแต่งตั้งผู้แทนฝ่ายบริหารเป็นการเฉพาะ (ท่านเดียวหรือมากกว่า นั้น) ผู้ซึ่งนอกเหนือจากความ รับผิดชอบอื่นแล้ว ต้องถูกกาหนดบทบาท ความรับผิดชอบ และ อานาจหน้าที่เพื่อ 
a) ทาให้มั่นใจว่า ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมได้ถูกจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ โดย สอดคล้องตามข้อกาหนดของ มาตรฐานสากลนี้ 
b) รายงานผลการดาเนินการของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมต่อผู้บริหารสูงสุดเพื่อทบทวน รวมถึงข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง 
4.4.2 ความรู้ความสามารถ การฝึกอบรม และจิตสานึก 
องค์กรต้องมั่นใจว่า บุคคลใด ๆ ก็ตามที่ปฏิบัติงานให้องค์กร หรือปฏิบัติงานในนามองค์กร ซึ่งมีโอกาสก่อให้เกิดผลกระทบที่สาคัญ ต่อสิ่งแวดล้อม (เรื่องเดียวหรือมากกว่านั้น) ที่ชี้บ่งโดย องค์กร เป็นคนที่มีความรู้ความสามารถโดยบนพื้นฐานของการศึกษา การฝึกอบรม หรือ ประสบการณ์ที่เหมาะสม และจัดเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้องไว้
19 
องค์กรต้องชี้บ่งความจาเป็นในการฝึกอบรม (Training needs) ซึ่งเกี่ยวข้องกับลักษณะ ปัญหาสิ่งแวดล้อม และระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม โดยจะต้องจัดให้มีฝึกอบรม หรือดาเนินการ ใด ๆ เพื่อให้ตรงตามความจาเป็นนั้น และจัดเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้องไว้ 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่า นั้น) เพื่อมั่นใจว่าบุคคลใด ๆ ก็ตามที่ ปฏิบัติงานให้องค์กร หรือปฏิบัติงานในนามองค์กร มีความ ตระหนักถึง 
a) ความสาคัญของการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อม และขั้นตอนปฏิบัติงานต่าง ๆ ตลอดจนข้อกาหนดของระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม 
b) ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ และความเกี่ยวข้องกับผลกระทบที่สาคัญต่อ สิ่งแวดล้อมทั้งที่เกิดขึ้นจริงหรือมีแนวโน้มที่จะ เกิดขึ้น จากการปฏิบัติงานนั้น ๆ รวมทั้งประโยชน์ ด้านสิ่งแวดล้อมที่จะได้รับจากการปรับปรุงการปฏิบัติงานของบุคลากร 
c) บทบาท และความรับผิดชอบของบุคลากร เพื่อบรรลุถึงความสอดคล้องกับข้อกาหนด ของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 
d) ผลเสียที่อาจเกิดขึ้นจากการไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนปฏิบัติงานนั้น ๆ 
4.4.3 การสื่อสาร 
ในส่วนที่เกี่ยวกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมและระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม องค์กรต้อง จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอน ปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) สาหรับ 
a) การสื่อสารภายในองค์กร ระหว่างหน่วยงานและระดับต่าง ๆ ขององค์กร 
b) การรับ จัดทาเป็นเอกสาร และตอบสนองการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายนอกองค์กร 
องค์กรต้องตัดสินใจว่าจะสื่อสารเรื่องลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญสู่ภายนอกหรือไม่ และการตัดสินใจดังกล่าวต้องเป็น เอกสาร ถ้าตัดสินใจที่จะสื่อสารแล้ว องค์กรจะต้องจัดทาวิธีการ (หนึ่งวิธีหรือมากกว่านั้น)สาหรับการสื่อสารภายนอก และนาไปปฏิบัติ
20 
4.4.4 เอกสาร เอกสารระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมต้องรวมถึง 
a) นโยบาย วัตถุประสงค์และเป้าหมายสิ่งแวดล้อม 
b) คาอธิบายถึงขอบเขตของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 
c) คาอธิบายถึงข้อกาหนดหลักของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและความสัมพันธ์ของ ข้อกาหนด และการอ้างอิงไปยังเอกสารที่ เกี่ยวข้อง 
d) เอกสารต่าง ๆ รวมถึงบันทึก ที่มาตรฐานสากลนี้กาหนด และ 
e) เอกสารต่าง ๆ รวมถึง บันทึกที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรที่จาเป็นต้องมี เพื่อมั่นใจว่า มีการ วางแผน การดาเนินการ และการควบคุม กระบานการที่เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ สาคัญ อย่างมีประสิทธิผล 
4.4.5 การควบคุมเอกสาร 
เอกสารที่จาเป็นต้องมีตามที่ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานสากลกาหนด ต้อง ได้รับการควบคุม บันทึกก็จัดเป็นเอกสารชนิดพิเศษอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องได้รับการควบคุมเพื่อให้ สอดคล้องกับข้อกาหนดที่ 4.5.4 องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) เพื่อ 
a) อนุมัติเอกสารว่าเหมาะสมต่อการใช้งาน/ก่อนแจกจ่าย 
b) ทบทวน และปรับปรุงเอกสารตามความจาเป็น รวมทั้งอนุมัติเอกสารที่ปรับแก้ซ้า 
c) มั่นใจว่ามีการชี้บ่งสถานการณ์แก้ไข และสถานะความเป็นปัจจุบันของเอกสาร 
d) มั่นใจว่ามีเอกสารฉบับที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน มีพร้อมใช้ที่จุดปฏิบัติงาน 
e) มั่นใจว่าเอกสารยังคงสภาพที่สามารถเข้าใจและอ่านได้ง่าย 
f) มั่นใจว่า เอกสารจากภายนอกที่องค์กรเห็นว่าจาเป็นต้องใช้ในการวางแผน และการ ดาเนินการของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการชี้บ่งไว้ และควบคุมการแจกจ่ายเอกสาร เหล่านั้น และ
21 
g) ป้องกันการนาเอกสารทีถูกยกเลิกไปใช้โดยไม่ตั้งใจ และมีการชี้บ่งเอกสารเหล่านั้นอย่าง เหมาะสม หากต้องจัดเก็บไว้เพื่อ วัตถุประสงค์ใด ๆ ก็ตาม 
4.4.6 การควบคุมการดาเนินงาน 
องค์กรต้องบ่งชี้และวางแผนดาเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ สาคัญ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์และเป้าหมาย เพื่อมั่นใจว่าการดาเนินการ ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดไว้ โดย 
a) จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือ มากกว่านั้น) เพื่อควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งหากปราศจากขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสารนั้น แล้ว อาจนาไปสู่การปฏิบัติที่เบี่ยงเบนไปจากนโยบายสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ และเป้าหมายได้ และ 
b) กาหนดเกณฑ์การดาเนินงานไว้ในขั้นตอนปฏิบัติงาน และ 
c) จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหา สิ่งแวดล้อมที่สาคัญของสินค้าและการบริการ ขององค์กร ที่ได้ชี้บ่งไว้แล้ว และสื่อสารขั้นตอน ปฏิบัติงานที่ใช้และข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องไปยังผู้ขาย รวมถึงผู้รับจ้างช่วง 
4.4.7 การเตรียมพร้อม และตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียว หรือมากกว่านั้น) เพื่อชี้บ่งสภาวะฉุกเฉิน และอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งสามารถเกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม (เรื่องเดียวหรือมากกว่านั้น) และวิธีการตอบสนองขององค์กร ต่อเหตุการณ์เหล่านั้น 
องค์กรต้องตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจริงและป้องกัน หรือ ลด ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเชิงลบ (Adverse) ที่เกี่ยวข้อง 
องค์กรต้องทบทวนขั้นตอนปฏิบัติงานสาหรับการเตรียมพร้อม และตอบสนองต่อสภาวะ ฉุกเฉินเป็นระยะ และให้ปรับปรุงขั้นตอน ปฏิบัติงานตามความจาเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังเกิด อุบัติเหตุหรือสภาวะฉุกเฉินจริง
22 
องค์กรต้องทดสอบขั้นตอนปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ เท่าที่สามารถทาได้ 
4.5 การตรวจสอบ 
4.5.1 การติดตามผลและการตรวจวัด 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียว หรือมากกว่านั้น) เพื่อติดตามและ ตรวจวัดอย่างสม่าเสมอ ในจุดสาคัญของการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจมี ผลกระทบที่สาคัญต่อสิ่ง แวดล้อม ขั้นตอนปฏิบัติงานนี้ต้องรวมถึง การเก็บข้อมูลเพื่อติดตามผลการ ดาเนินงาน การติดตามการควบคุมการดาเนินงาน และการติดตามความสอดคล้องตาม วัตถุประสงค์ และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร เป็นเอกสาร 
องค์กรต้องมั่นใจว่า อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและตรวจวัดผ่านการสอบเทียบ หรือทวนสอบและรักษาอุปกรณ์ เครื่องมือนั้น รวมทั้งต้องจัดเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้องไว้ 
4.5.2 การประเมินความสอดคล้อง 
4.5.2.1 เพื่อให้เป็นไปตามความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติให้สอดคล้อง องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และ รักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่ เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) สาหรับการประเมินความ สอดคล้องกับข้อกาหนดของกฎหมายที่ประยุกต์ใช้องค์กรต้อง จัดเก็บบันทึกผลการประเมินเป็น ระยะนั้นไว้ 
4.5.2.2 องค์กรต้องประเมินความสอดคล้องตามข้อกาหนดอื่น ๆ ที่องค์กรเป็นสมาชิก โดยองค์กร อาจประสงค์ที่จะรวมการประเมิน ความสอดคล้องนี้เข้ากับการประเมินความสอดคล้องกับ ข้อกาหนดของกฎหมาย ที่อ้างอิงในข้อกาหนด ที่ 4.5.2.1 หรืออาจจัดทา ขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็น เอกสาร (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) แยกต่างหากก็ได้ 
องค์กรต้องจัดเก็บบันทึกผลการประเมินเป็นระยะนั้นไว้ 
4.5.3 ข้อบกพร่อง การปฏิบัติการแก้ไข และการปฏิบัติป้องกัน 
องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียว หรือมากกว่านั้น) เพื่อดาเนินการกับ ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น และข้อบกพร่องที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้น รวมทั้งดาเนินการปฏิบัติการแก้ไขและดาเนินการปฏิบัติการป้องกัน โดยขั้นตอนปฏิบัติงานนี้ ต้อง
23 
ครอบคลุมถึง 
a) การชี้บ่งและแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น และดาเนินการ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นั้น 
b) การสืบสวนข้อบกพร่อง และการหาสาเหตุ และดาเนินการเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดซ้า 
c) การประเมินความจาเป็นของการดาเนินการเพื่อป้องกันข้อบกพร่อง และปฏิบัติตามแนว ดาเนินการที่เหมาะสมที่วางไว้เพื่อ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง 
d) บันทึกผลการปฏิบัติการแก้ไขและการปฏิบัติการป้องกันที่ดาเนินการไป และ 
e) ทบทวนประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ไข และการปฏิบัติการป้องกันที่ดาเนินการไป 
การดาเนินการที่ดาเนินการไปจะต้องเหมาะสมกับขนาดของปัญหาและผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น องค์กรต้องมั่นใจว่า เอกสารระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ได้ถูกแก้ไขตามการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามความจาเป็น 
4.5.4 การควบคุมบันทึก 
องค์กรต้องจัดทา และรักษาบันทึกที่จาเป็นต้องมี เพื่อแสดงถึงความสอดคล้องตาม ข้อกาหนดของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และ มาตรฐานสากลนี้ และผลลัพธ์ที่ได้ องค์กรต้อง จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือ มากกว่านั้น) สาหรับการชี้บ่ง การจัดเก็บ การรักษาสภาพ การเรียกใช้ ระยะเวลาเก็บรักษา และการทาลายบันทึก 
บันทึกต้องเข้าใจได้ง่าย ชี้บ่งได้ และสามารถสอบย้อนได้ 
4.5.5 การตรวจติดตามภายใน 
องค์กรต้องมั่นใจว่า การตรวจติดตามภายในตามระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมต้องดาเนินการ ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อ 
a) พิจารณาว่าระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 
1) สอดคล้องตามแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กาหนดไว้ รวมถึงข้อกาหนดของ
24 
มาตรฐานสากลนี้ และ 
2) ได้ถูกนาไปปฏิบัติอย่างเหมาะสมและสามารถรักษาระบบไว้ได้ และ 
b) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับผลการตรวจติดตามให้แก่ฝ่ายบริหาร 
องค์กรจะต้องวางแผน จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ ซึ่งโปรแกรมการตรวจติดตาม โดย พิจารณาถึงความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อม ของการปฏิบัติการต่าง ๆ และผลของการตรวจติดตามครั้งที่ ผ่านมา ต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือ มากกว่านั้น) ซึ่งระบุถึงสิ่งต่อไปนี้ 
„ความรับผิดชอบ และข้อกาหนดในการวางแผนและดาเนินการตรวจติดตาม การรายงานผล การตรวจ และเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้อง 
„การกาหนดเกณฑ์การตรวจติดตาม ขอบเขต ความถี่ และวิธีการตรวจ 
การคัดเลือกผู้ตรวจประเมินและการดาเนินการตรวจ ต้องมั่นใจ ในเรื่องการตรวจโดยยึดตาม ข้อเท็จจริงที่พบ (Objectivity) และมี ความเป็นกลาง (Impartiality) ตลอดกระบวนการตรวจติดตาม 
4.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร 
ผู้บริหารสูงสุดต้องทบทวนระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรตามช่วงเวลาที่กาหนด ไว้ เพื่อมั่นใจว่าระบบยังคงความเหมาะสม ความเพียงพอ และความมีประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง โดย การทบทวนนี้ต้องครอบคลุมถึงการประเมินโอกาสในการปรับปรุง และ ความจาเป็นในการ เปลี่ยนแปลงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายสิ่งแวดล้อม และ วัตถุประสงค์และ เป้าหมายสิ่งแวดล้อม โดยต้องจัดเก็บบันทึกผลของการทบทวนของฝ่ายบริหารไว้ ข้อมูลที่นาเสนอในการทบทวนของฝ่ายบริหาร ต้องครอบคลุมถึง 
a) ผลการตรวจติดตามภายในและการประเมินความสอดคล้องกับข้อกาหนดของกฎหมาย และข้อกาหนดอื่น ๆ ที่องค์กรเป็น สมาชิก 
b) การสื่อสารจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกองค์กรรวมทั้ง ข้อร้องเรียน 
c) ผลการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร
25 
d) การบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 
e) สถานะของการปฏิบัติการแก้ไขและการปฏิบัติการป้องกัน 
f) การติดตามการดาเนินการจากการทบทวนของฝ่ายบริหารครั้งก่อน 
g) การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ รวมทั้ง การพัฒนาของกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม และ 
h) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง 
ผลจากการประชุมทบทวนของฝ่ายบริหารต้องรวมถึงการตัดสินใจและการดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับความเป็นไปได้ในการ ปรับเปลี่ยนนโยบายสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และ ประเด็นอื่น ๆ ของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับความ มุ่งมั่นที่จะปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง
26 
มาตรการจัดการของเสียอันตราย อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของอันตรายและการกาจัด (Basel Convention on the Control of Transboundary Movement of Hazardous Waste and their Disposal :BASEL) หลักการและสาระสาคัญ อนุสัญญาบาเซลฯ มีเจตนารมณ์ในการคุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจาก ของเสียอันตรายและการป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในประเทศกาลังพัฒนา โดยมี วัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) เพื่อลดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายข้ามแดนให้น้อยที่สุด (2) เพื่อกาจัดของเสียอันตรายที่แหล่งกาเนิดให้ได้มากที่สุด (3) เพื่อลดการก่อกาเนิดของเสียอันตรายทั้งในเชิงปริมาณและความเป็นอันตราย อนุสัญญาบาเซลฯ ประกอบด้วยมาตรการด้านกฎหมายในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของของ เสีย และเครื่องมือหรือกลไกการจัดการของเสียอันตรายให้อยู่ในระดับสากล มาตรการด้านกฎหมาย กาหนดขึ้นเพื่อควบคุมการเคลื่อนย้ายของของเสียอันตรายข้ามแดนโดย กาหนดระบบการแจ้งข้อมูลล่วงหน้า กล่าวคือ ก่อนการนาเข้า ส่งออก และนาผ่านของเสียอันตราย ไปยังประเทศอื่นจะต้องแจ้งรายละเอียดและขออนุญาตตามขั้นตอนจากหน่วยงานที่มีอานาจของ ประเทศที่เกี่ยวข้องก่อนการขนส่ง และการขนส่งต้องจัดให้มีเอกสารการเคลื่อนย้ายการบรรจุหีบ ห่อ การติดฉลาก และการขนส่งด้วยวิธีการที่กาหนดตามมาตรฐานสากล ตลอดจนต้องมีการ ประกันภัยพันธบัตร (bond) หรือหลักประกันทางการเงิน และรับผิดชอบในกรณีที่เกิดความเสียหาย โดยต้องนากลับภายใน 30 วัน และต้องชดใช้ค่าเสียหายหากเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลและปนเปื้อน นอกจากนี้ไม่อนุญาตให้มีการส่งออก หรือนาเข้าของเสียอันตรายจากประเทศที่มิได้เป็นภาคี ยกเว้น จะทาความตกลงทวีภาคี พหุภาคี หรือระดับภูมิภาค รวมทั้งไม่อนุญาตให้มีการส่งออกหรือ เคลื่อนย้ายของของเสียอันตรายหรือของเสียอื่นไปทิ้งหรือกาจัดในพื้นที่ใต้เส้นละติจูด 60 องศาใต้ เครื่องมือและกลไกการจัดการของเสียอันตรายที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม (environmentally sound management) ได้แก่ การพัฒนาและใช้เทคโนโลยีที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดของเสียน้อย
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อม

More Related Content

Similar to Ema ส งแวดล_อม

รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560Taungza Brotherbears
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยsomsak kathong
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
ไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาส
ไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาสไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาส
ไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาสjeabjeab
 
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์Utai Sukviwatsirikul
 
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารPeter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารmaruay songtanin
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหาfreelance
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10topstarteam
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ DrDanai Thienphut
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community societySirirat Yimthanom
 

Similar to Ema ส งแวดล_อม (20)

Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
Sub report update 2560
Sub report update 2560 Sub report update 2560
Sub report update 2560
 
รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560รายงานความยั่งยืน 2560
รายงานความยั่งยืน 2560
 
Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
#2 edward jones
#2 edward jones#2 edward jones
#2 edward jones
 
ไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาส
ไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาสไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาส
ไม่บ่อยครั้งจะมีโอกาส
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
สรรสร้าง แบรนด์ สร้างสรรค์
 
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหารPeter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
Peter drucker เรียนรู้จากกูรูด้านบริหาร
 
ิีbs
ิีbsิีbs
ิีbs
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10
 
Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 

More from สุชญา สกุลวงศ์ (9)

ร ปเล ม
ร ปเล มร ปเล ม
ร ปเล ม
 
บร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ด
บร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ดบร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ด
บร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ด
 
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
 
รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
 
31 12-56
31 12-5631 12-56
31 12-56
 
เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบเปรียบเทียบ
เปรียบเทียบ
 
เหมืองแร่
เหมืองแร่เหมืองแร่
เหมืองแร่
 
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_องข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
 
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อมพ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
 

Ema ส งแวดล_อม

  • 1. 1 บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด(มหาชน) ความเป็นมา อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นหนึ่งในผู้ผลิตโพลีเอสเตอร์ชั้นนาระดับโลกที่มุ่งเน้นบุคลากร และกระบวนการ อันเป็นผลให้บริษัทเป็นหนึ่งในบริษัทที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในโลก พันธกิจ บริษัทมุ่งพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่อง ผสมผสานความร่วมมือ ของผู้มีส่วนได้เสียและกระบวนการผลิตระดับสากลเพื่อบรรลุความพึงพอใจของลูกค้า ส่งผลให้ เป็นผู้จัดจาหน่ายที่ได้รับความนิยม บริษัทมีการจัดระบบการเรียนรู้ของบุคลากร ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญ ในการเติบโตของธุรกิจ ค่านิยม เน้นความสาคัญของบุคลากร บริษัทเชื่อมั่นว่า บุคคลเป็นกาลังหลักที่สาคัญ ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ผู้จัดจาหน่าย ลูกค้า ผู้ ถือหุ้นหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมและความพึงพอใจเป็นเสมือนพลังขับเคลื่อนที่สาคัญ เพื่อนาไปสู่ความสาเร็จและการเติบโตของธุรกิจ ความพึงพอใจของลูกค้า บริษัทเชื่อมั่นว่า บริษัทดาเนินธุรกิจได้จนถึงทุกวันนี้เนื่องจากลูกค้าของบริษัท บริษัท มุ่งเน้นการทากิจกรรมเพื่อบรรลุความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้า เพื่อสัมพันธภาพที่ยั่งยืน ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทเชื่อมั่นในการเป็นผู้มีความรับผิดชอบและการใส่ใจต่อสังคม การรักษารวมถึงพัฒนา สิ่งแวดล้อมรอบบริษัท การกากับดูแลกิจการ บริษัทเชื่อมั่นในความโปร่งใส ความถูกต้อง มีเหตุผล และจริยธรรม เพื่อให้บรรลุผลสูงสุด ในเรื่องการกากับดูแลกิจการที่สอดคล้องกับหลักการปฏิบัติที่ดีที่สุด
  • 2. 2 ภาพรวมบริษัท บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด (มหาชน) เป็นหนึ่งในผู้ผลิตห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์แบบ ครบวงจรรายใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกและเป็นบริษัทชั้นนาในการผลิตเส้นด้ายขนสัตว์ระดับ โลก จากยอดขายทั่วโลกทาให้เห็นได้ว่ามีการเจริญเติบโตอย่างสูงทั้งทางภาคเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ของบริษัทจาหน่ายแก่ผู้บริโภคได้หลากหลายรูปแบบ เช่น อาหาร เครื่องดื่ม อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้าน และของใช้ส่วนตัว, ผลิตภัณฑ์เพื่อดูแลสุขภาพ, ผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับรถยนต์ สิ่งทอ และ การอุตสาหกรรม อินโดรามา เวนเจอร์ส เห็นความสาคัญของการสร้าง ความสัมพันธ์ที่มั่นคงและยาวนานอย่างแก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งหลาย อันได้แก่ กลุ่มลูกค้า, พนักงาน, สิ่งแวดล้อม, นักลงทุน, หุ้นส่วนทางธุรกิจ และในชุมชนต่างๆ และรวมถึงการผลิตสินค้าที่มี คุณภาพและบริการที่ดี ความสาเร็จของบริษัทมาจากพนักงานที่มีความมุ่งมั่นในการทางานที่มี จานวนมากกว่า 10,000 คนและการกาหนดเป้าหมายที่ชัดเจนของบริษัทที่ถูกกาหนดขึ้นโดย ผู้บริหารที่มีประสบการณ์ ความสัมพันธ์ของบริษัทที่มีต่อลูกค้า,การนาเสนอผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม อุตสาหกรรมที่มีการเจริญเติบโตสูง,การให้ความสาคัญกับการลงทุนที่ต่าและมีประสิทธิภาพและ เช่นเดียวกับความเป็นจริงที่ว่าผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นสินค้าหลักของผู้บริโภคในอันดับต้นๆ ทา ให้ อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นบริษัทที่มีความแข็งแกร่งทางด้านการค้าในสภาวะเศรษฐกิจยุค ปัจจุบัน หลักการดาเนินธุรกิจ ธุรกิจของอินโดรามา เวนเจอร์ส ถูกพัฒนาเพื่อตอบรับความท้าทายด้านความยั่งยืนที่เกิดขึ้น ทั่วโลก เช่น การร่อยหรอของทรัพยากรและการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่อาจจะส่งผลกระทบ ต่อประชากรและธุรกิจ ทั้งทางกายภาพและทางการเงิน ในรูปแบบการเพิ่มขึ้นภัยธรรมชาติ มลพิษ และราคาของทรัพยากรธรรมชาติที่เพิ่มสูงขึ้น ในทางกลับกันการเติบโตของประชากรจะเพิ่มความ ต้องการผลิตภัณฑ์ เพิ่มโอกาสทางธุรกิจให้แก่บริษัท บริษัทอินโดรามา เวนเจอร์ส เชื่อมันว่า อนาคตขึ้นอยู่กับการบริโภคที่มีการคานึงถึง สิ่งแวดล้อมมากขึ้น อันเป็นผลมาจากความตระหนักของลูกค้าที่เพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของการ จัดเก็บภาษีด้านสิ่งแวดล้อมและเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์อื่นๆ เพื่อบรรเทาปัญหา ความท้าทาย ด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคต ดังนั้นบริษัทจึงมีการจัดการทางธุรกิจ เพื่อตอบโจทย์ ประเด็นที่ท้าทาย เหล่านี้ และสร้างโอกาสด้วยการจัดตั้งธุรกิจรีไซเคิล เพื่อลดปริมาณการบริโภควัสดุใหม่และ นาเสนอผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม เพื่อตอบสนองความต้องการที่เฉพาะของลูกค้า พร้อมกับการดาเนิน ธุรกิจอื่นๆ
  • 3. 3 บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด มหาชน ประกอบกิจการภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย และส่งเสริมการเป็นบริษัทที่มีรากฐานองค์กรทางด้านจริยธรรม โดยบริษัทฯมีนโยบายเสาหลัก 7 ประการเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นแนวทาง หลักที่บริษัทมุ่งมั่นในการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตาม เป้าหมายอย่างดี ที่สุด ครอบคลุมการดาเนินงานทางด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและ บุคลากร เพื่อ อนาคตที่ยั่งยืนของบริษัทและของพนักงานทุกคน ตลอดจนเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมและเสริมสร้าง สัมพันธภาพที่ดี ในระยะยาวในสังคม โดยจะร่วมมือกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้มั่นใจได้ว่าได้มีการจ้างงานอย่างเป็นธรรม และ เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึ่งให้ความเคารพต่อหลักสิทธิมนุษยชนและกฎหมายแรงงานทั่วไป บริษัทดาเนินธุรกิจตามหลักจริยธรรมและจะปฏิบัติต่อผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มด้วยความเคารพ อีกทั้งจะธารงไว้ซึ่งการสานเสวนาที่เปิดเผยโปร่งใส เพื่อที่จะสนับสนุนและคงไว้ซึ่งภาพลักษณ์ที่ดี ของบริษัทฯ ทั้งในแง่ของการดาเนินธุรกิจและในแง่ของการมีปฏิสัมพันธ์กับชุมชนในฐานะที่เป็น ผู้นาในอุตสาหกรรม บริษัทมุ่งที่จะลดและจากัดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนข้างเคียงโดย การหาวิธีการเพื่อที่จะลดของเสียจากอุตสาหกรรม โดยการใช้ซ้า การรีไซเคิลและสนับสนุนการใช้ พลังงานอย่างคุ้มค่า ประเด็นสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ 1.ขยะ 2.ของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต 3.สภาพแวดล้อมที่มีต่อชุมชน 4.การใช้พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ 5.พนักงาน วิธีการดาเนินการ 1.ขยะ มีการดาเนินการโดยการรีไซเคิล ดังนี้ บริษัทอินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด(มหาชน) เล็งเห็นว่าการรีไซเคิลเป็นประเด็นด้านความ ยั่งยืนที่สาคัญ ดังนั้นบริษัทจึง กาหนดให้การรีไซเคิลเป็นหนึ่งในหัวข้อหลักของกลยุทธ์การเติบโต
  • 4. 4 ทางธุรกิจ เพื่อให้เป็นบริษัทที่มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการรีไซเคิล ให้แก่บุคคลภายนอกทั่วไป เพื่อสร้างความตระหนักในสังคม และส่งเสริมให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมในการใช้ ผลิตภัณฑ์รีไซเคิล บริษัทอินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด มหาชน มีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อใช้วัตถุดิบ อย่างคุ้ม ค่า โครงการวิจัยและพัฒนาของบริษัทฯ จึงมุ่งเน้นที่การปรับปรุงการใช้ทรัพยากรและ วัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีน้าหนักเบา เส้นใยทดแทนที่ ผลิตจากพืช ตลอดจนดาเนินการซื้อโรงงาน Wellman รีไซต์เคิล มีกระบวนการที่เรียกว่า Close Loop SystemTM ที่สามารถนาโพลีเอสเตอร์กลับมาใช้ได้ทั้งหมด 100% ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเส้นใย ของ Wellman จึงสามารถนากลับมาใช้เป็นวัตถุดิบอีกครั้งเพื่อนาไปผลิตเป็นเส้นใยใหม่ อ้างอิงจากเว็บ http://thailandindustry.com/news/view.php?id=15197&section=27 การส่งเสริมให้เกิดความตระหนักด้านการรีไซเคิลในสังคม อินโดรามา เวนเจอร์ส จัดการแข่งขันที่มีชื่อว่า RECO เป็นประจาทุกปี เพื่อเปิดโอกาสให้ คนรุ่นใหม่ได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ โดยการผลิต ผลงานแฟชั่นหรือผลิตภัณฑ์จากการรีไซเคิล พลาสติก PET และโพลีเอสเตอร์ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้ทุกคนเห็นว่า ของที่ถูกมอง ว่าเป็นขยะสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้หากมีการนามาใช้อย่างสร้างสรรค์ นอกจากนี้ บริษัท ฯ ยังริเริ่มโครงการให้ความรู้แก่ชุมชนทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัดในเรื่องการสร้างมูลค่าเพิ่ม จากวัสดุใช้แล้ว
  • 5. 5 ในปี 2557 บริษัทฯ มีแผนทบทวนกระบวนการผลิต เพื่อตรวจสอบหาของเสียที่สามารถนา กลับมาใช้ซ้าเพิ่มเติม เพื่อค้นหาสัดส่วนของของเสีย ที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ และมีการ ตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ว่าได้รับผลกระทบจากการรีไซเคิลของเสียนี้หรือไม่ ในบางกรณี อาจ มีการจัดทาโครงการนาร่องเพื่อทดสอบการนาของเสียกลับมาใช้ในกระบวนการผลิต หาก พบว่าของเสียดังกล่าวไม่สามารถนามาใช้ในกระบวนการ ผลิตได้ บริษัทจะตรวจสอบเพิ่มเติมว่า ของเสียเหล่านี้สามารถนาไปใช้ผลิตเป็นพลังงานหรือขายเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพต่าได้หรือไม่ 2.การลดของเสีย ความพยายามในการลดของเสียของบริษัทครอบคลุมทั้งในเรื่องของ เสียและน้าทิ้ง บริษัท มุ่งเน้นการปรับปรุงกระบวนการทุกขั้นตอน ตั้งแต่การลดการใช้วัตถุดิบไปจนถึงการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการดาเนินงานโดยการเพิ่มศักยภาพในการดาเนินงานควบคู่ ไปกับความรับผิดชอบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้นโดยใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานให้น้อยลง การลดของเสียในกระบวนการผลิตเป็นส่วนสาคัญในการลดค่าใช้จ่ายของบริษัท บริษัทมี การตรวจสอบกระบวนการผลิตและและบารุงรักษาเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิด ของเสียในกระบวนการผลิต การปรับปรุงกระบวนการผลิต ทาให้เราสามารถที่จะระบุขั้นตอนที่มี การใช้พลังงานหรือวัตถุดิบมากเกินความจาเป็น การสูญเสียในกระบวนการผลิต รวมถึงการเกิด ของเสียในขั้นตอนการตรวจสอบ นอกเหนือจากการป้องกันของเสีย เรามีการนาของเสียกลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ เช่น การนาความร้อนทิ้งจากอากาศที่หมุนเวียนแล้วกลับมาใช้ใหม่ การแปรรูปเศษ ฝุ่น PET ภายในโรงงาน การรีไซเคิลตะกอนกลับไปยังกระบวนการผลิต การกาจัดไกลคอลออกจาก น้าเสีย นอกจากนี้เรายังลงทุนด้านการรีไซเคิลและการเพิ่มการใช้วัตถุดิบรีไซเคิลในกระบวนการ ผลิตของเรามากยิ่งขึ้นการลดของเสียที่เราได้ดาเนินการไป ยังรวมถึงการนาบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้ว นามาใช้ใหม่ การนากระดาษ ตลับหมึกพิมพ์ ของเสียในครัว และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้แล้ว กลับมาใช้ซ้า
  • 6. 6 3. ความรับผิดชอบด้านชุมชน บริษัทฯ มีการดาเนินธุรกิจรอบชุมชน ดังนั้นจึงต้องมีการเชื่อมโยงและเข้าไปมีส่วนร่วมกับ คนในชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท บริษัทมีการติดต่อและ ปฏิสัมพันธ์กับชุมชนท้องถิ่นและมุ่งเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่มั่นคงด้วยการควบคุม ผลกระทบ ทั้งทางสังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพกับชุมชนโดยรอบ รวมทั้งวางแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน ชุมชน โรงงานทุกแห่งมี การรับข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะจากผู้นาชุมชนอย่างสม่าเสมอ บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นมิตรที่ดีต่อชุมชนและต้องการเติบโตอย่างยั่งยืนไป พร้อมๆกัน มีการให้คามั่นในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและมีส่วนร่วมในการพัฒนาที่ยั่งยืน สร้าง ผลประโยชน์ในระยะยาวให้แก่ชุมชนที่เรามีการดาเนินธุรกิจ บริษัทมุ่งมั่นที่จะเป็นเพื่อนบ้านที่ดี และทุ่มเทความรู้ ความสามารถและทรัพยากรเพื่อสร้างและพัฒนาชุมชน 3.1 การสร้างงานและการพัฒนาทักษะให้กับชุมชน การสร้างงานเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น บริษัทฯ มุ่งเน้น การจ้างงานในท้องถิ่นเมื่อเราจัดตั้งหรือขยายธุรกิจ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและกระตุ้น เศรษฐกิจท้องถิ่น ณ สิ้นปี 2556 บริษัทฯมีพนักงานทั่วโลกกว่า 9,000 คน โดยมีสัดส่วนของ พนักงานในท้องถิ่นสูงกว่าพนักงานนอกท้องถิ่น นอกเหนือจากการจ้างงาน เราทางานร่วมกันกับ ชุมชนท้องถิ่นในการให้ความรู้และฝึกอบรมในประเด็นที่ชุมชนให้ความสนใจ เช่น กลุ่มบริษัท PET ที่ลพบุรีได้เชิญวิทยากรจากสานักงานประมงจังหวัดเข้ามาให้ความรู้ชาวบ้านในการเลี้ยงปลา ดุก บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ (นครปฐม)จัดการอบรมการสานตะกร้าและการทา ดอกไม้จันให้ชาวบ้าน เพื่อสร้างรายได้และให้สามารถเลี้ยงตัวเองได้อย่างยั่งยืนบริษัทฯมีกิจกรรมที่ เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาอาชีพโรงงานของเราหลายแห่งได้จัดกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงานให้กับ โรงเรียนในท้องถิ่นเพื่อให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ในสภาพแวดล้อมการทางานจริงและให้ คาแนะนาด้านอาชีพในอนาคตเราได้ให้ความรู้แก่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาเพื่อสนับสนุนการศึกษา และรับเชิญเป็นวิทยากรตามมหาวิทยาลัยต่างๆอีกด้วยเพื่อเพิ่ม การสร้างงานในท้องถิ่น เรามีการ จัดหาผลิตภัณฑ์และบริการหลากหลายชนิดจากธุรกิจในท้องถิ่น รวมทั้งพื้นที่ใกล้เคียงกับโรงงาน ของเรา การซื้อสินค้าและบริการในท้องถิ่นจะช่วยส่งเสริมการเติบโตของธุรกิจในท้องถิ่นและสร้าง ความแข็งแรงให้แก่ชุมชน 3.2 การมีส่วนร่วมกับชุมชน บริษัทฯ มีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาชุมชนหลากหลายรูปแบบ เพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดี และการเติบโตทางเศรษฐกิจของชุมชน การมีส่วนร่วมกับชุมชนของเรามุ่งเน้นกิจกรรมในหัวข้อ
  • 7. 7 หลัก 6 หัวข้อ ได้แก่ การบริจาคเพื่อการกุศล การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม การศึกษา สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของคนในชุมชนและจิตอาสาพนักงาน การให้เพื่อสังคม บริษัทฯให้การสนับสนุนโครงการการกุศลที่สอดคล้องกับนโยบายการดาเนินงานด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคมและเป็นโครงการภายในชุมชน โดยมุ่งเน้นในเรื่องการศึกษา สุขภาพ สิ่งแวดล้อม ศิลปะ วัฒนธรรม การบรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการพัฒนาชุมชนเป็น หลัก การสนับสนุนโครงการด้านศิลปะและวัฒนธรรม ศิลปะและวัฒนธรรมมีความสาคัญต่อการพัฒนาชุมชน ช่วยเชื่อมโยงคนในชุมชนเข้า ด้วยกันและสร้างชุมชนที่น่าอยู่มากยิ่งขึ้น ไอวีแอลให้การ สนับสนุนกิจกรรมในท้องถิ่นหลากหลาย รูปแบบ เพื่อช่วยส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมในชุมชน ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน
  • 8. 8 สิ่งแวดล้อม บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จา กัด (มหาชน) ริเริ่มโครงการ “Adopt a Beach” ที่บริเวณ หาดแม่ราพึง ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญในจังหวัดระยองและอยู่ใกล้โรงงานของเรา โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อทาความสะอาดและดูแลรักษาชายหาด เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว สร้างรายได้ให้ ชุมชนท้องถิ่นและเศรษฐกิจของประเทศ กิจกรรมนี้มีอาสาสมัครเข้าร่วมกว่า 677 คน รวมทั้ง ตัวแทนจากสานักงานใหญ่และนักเรียนจากโรงเรียนในท้องถิ่น โครงการนี้เริ่มต้นครั้งแรกในปี 2555 และมีจา นวนขยะที่เก็บได้ทั้งหมดรวม 7.9 ตัน การศึกษา ไอวีแอลให้การสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับท้องถิ่นและ มีบทบาทในการสร้างพลเมืองและชุมชนที่ดี บริษัทเชื่อมั่นว่า การพัฒนาคนเก่งไม่เพียงแต่ช่วย เสริมสร้างความแข็งแกร่งของชุมชนท้องถิ่นแต่ยังพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของ การดา เนินธุรกิจของบริษัทในอนาคต บริษัททา งานอย่างใกล้ชิดโรงเรียนและสถาบันการศึกษาใน ท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมการศึกษาในทุกระดับ เรามีการให้ทุนการ ศึกษาแก่นักเรียนที่ยากจน เพื่อให้มี โอกาสศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและเพิ่มโอกาสในอนาคต
  • 9. 9 สุขภาพและความเป็นอยู่ในชุมชน ไอวีแอลมุ่งส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ของคนในชุมชน บริษัทให้การสนับสนุน โครงการด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีหลากหลายโครงการ ครอบคลุมการพัฒนาและปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับสุขภาพ การป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพที่ดี จิตอาสาพนักงาน ไอวีแอลสนับสนุนให้พนักงานมีจิตอาสาสร้างความมีส่วนร่วมและพัฒนาชุมชนด้วยการ ร่วมกันทาสิ่งดีๆ คืนกลับสู่สังคม 4.การใช้พลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไอวีแอลมีการลดการใช้พลังงานด้วยการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ซึ่งไม่ เพียงแต่ให้ประโยชน์ทางการเงิน เนื่องจากต้นทุนที่ลดลง แต่ยังช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจก บริษัทมีการนาวิธีการต่างๆ มาใช้ในการปรับปรุงระบบการจัดการก๊าซเรือนกระจก เพื่อ ตรวจสอบและรายงานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งปรับปรุงการดาเนินงาน ปัจจุบันมี โรงงานทั้งหมด 6 แห่งที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบ อินโดรามา เวนเจอร์ส มุ่งมั่นในการนาระบบมาตรฐานสากล ISO 14064 ว่าด้วยการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาใช้ (หรือวิธีการอื่นที่เหมาะสม) มาใช้บริหารจัดการการปล่อยก๊าซเรือน กระจกกับโรงงานที่ปัจจุบัน การจัดการพลังงาน ISO 50001 ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ตระหนักว่า น้าเป็นทรัพยากรที่จากัดและต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสม เรามีการควบคุม ความต้องการและปริมาณการใช้น้าอย่างเคร่งครัดในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน เพื่อปรับปรุงการ ใช้น้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น บริษัทมีการดาเนินการโครงการหลายโครงการ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้น้า เช่น การลดปริมาณการใช้น้าดิบในหน่วยรีดน้า ด้วยการนาน้าเสียจาก โรงงานผ่านการบาบัดน้าเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ การเปลี่ยนริงเมนยูนิต เพื่อป้องกันการรั่วไหลของ น้าในท่อคุณภาพน้ามีความสาคัญและเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสะอาดและสุขภาพของชุมชน น้าที่ผ่านกระบวนการผลิตของเราจะถูกบาบัดเพื่อให้เป็นไปตามคุณภาพน้าเป็นไปตามมาตรฐาน ไม่ว่าจะด้วยวิธีการบาบัดน้าเสียภายในโรงงานหรือส่งไปยังหน่วยบาบัดภายนอกโรงงาน
  • 10. 10 อ้างอิงจาก : รายงานความยั่งยืน http://www.indorama.net/TH/CSResponsibility/pdf/Sustain2013_final_THAI.pdf (ในหน้า 46) ในปี 2556 ไอวีแอลมีการริเริ่มโครงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในโรงงานหลายโครงการ เช่น „ โรงงานอินโดรามา สามารถประหยัดพลังงานได้ 765 เมกกะวัตต์ชั่วโมง (MWh) ต่อปีจาก การถอดตัวห้ามกลไกของวาล์วควบคุมหัวกระจายอากาศในเครื่องตกผลึกตัวแรกออกโดยไม่ กระทบต่อประสิทธิภาพการทางาน ส่งผลให้ลดความดันด้านส่ง ทาให้ลดการใช้พลังงานในเครื่อง อัดอากาศ
  • 11. 11 บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จา กัด(มหาชน) ยังมีนโยบายการนา ทรัพยากรกลับมาใช้ซ้า ซึ่งการนา ทรัพยาการกลับมาใช้ซ้า ไม่เพียงแต่เป็นการเพิ่มความ ได้เปรียบในการแข่งขันจากต้นทุนที่ ลดลง แต่ยังช่วยแก้ปัญหา ราคาทรัพยากรธรรมชาติที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคตอีกด้วย นอกจากนี้บริษัทยังมีนโยบายการใช้พลังงานทดแทน ไอวีแอลมีความพยายามในการใช้ พลังงานทดแทนและเชื้อเพลิงทางเลือกให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ บริษัทมีการติดตั้งแผงโซลาร์ เพื่อเปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยไม่มีการปล่อยมลพิษทางอากาศหรือน้า นอกจากนี้ยังไม่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขั้นตอน การผลิตไฟฟ้า จึงมั่นใจได้ว่า บริษัทช่วยลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 5.พนักงาน บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จา กัด (มหาชน) เชื่อมั่นว่าด้วยรากฐานของพนักงานที่มีความสามารถ และมีความหลากหลายจะช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางให้แก่องค์กร ของบริษัท พนักงานมีบทบาทหน้าที่ที่หลากหลาย มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตและการบา รุงรักษา ตลอดจนการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ตั้งแต่ระดับพนักงานไปจนถึงระดับผู้จัดการและระดับอื่นๆ ก็ มีความเชี่ยวชาญ เช่น ด้านการตลาด การขาย การขนส่ง พิธีการศุลกากร ภาษีและการค้า การเงิน และบัญชี เป็นต้น บริษัทฯ ส่งเสริมและจัดให้มีการรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมในการ ทา งานของพนักงาน โดยมอบหลักประกันสุขภาพ ความเป็นอยู่ รวมถึงผลประโยชน์ของพนักงาน โดยประเมินถึงความปลอดภัยและความเสี่ยง และมีการติดตาม บริษัทจัดให้มีการอบรมในด้าน ความปลอดภัยให้แก่พนักงานโดยคานึงถึงลักษณะงานในแต่ละประเภท และความเสี่ยงจากการ
  • 12. 12 ทางานบริษัทฯ มีการติดตามและบันทึกการประเมินผลของการเสียโอกาสของเวลา ซึ่งส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมและมาตรฐาน บริษัทฯ ใช้มาตรการซึ่งประกอบไปด้วยการกระจายระบบ ออกจากส่วนกลาง การผลิตภายใน และสถานที่ที่มีพนักงานอยู่เป็นจานวนมาก บริษัทฯ ได้ทาการ ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานทั้งภายในและภายนอก โดยใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่งถึงสามปี บนพื้นฐาน ของการดาเนินงานและความเสี่ยง การกาหนดจุดเสี่ยงและสถานที่ที่มีพนักงานอยู่เป็นจานวนมาก และรับมือการอพยพพนักออกจากเหตุอันตรายที่จะเกิดขึ้น บริษัทจะตรวจสอบให้มีการปฏิบัติตาม มาตรฐานการรักษาความปลอดภัย สุขภาพและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มีการจัดประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นประจาทุกปี เพื่อค้นหาผู้ที่มีความสามารถ และเตรียมแผนการพัฒนาที่เหมาะสม โดยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ การประเมินตนเองและการ ประเมินโดยผู้บังคับบัญชาที่ขึ้นตรง เปิดโอกาสให้ผู้ถูกประเมินและผู้ประเมินได้แลกเปลี่ยนพูดคุย เกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานและสิ่งที่คาดหวังสาหรับการทางานในปีต่อไป ผลจากการประเมินการปฏิบัติงาน จะถูกนาไปใช้ในการพิจารณาความต้องการในการ ฝึกอบรมสาหรับพนักงานแต่ละคน และบริษัทฯ จะมีการ วางแผนการฝึกอบรมทั้งปี โดยพิจารณา จากความต้องการในการฝึกอบรมทั้งหมด พนักงานจะได้รับการฝึกอบรมตามความต้องการในการ ฝึก อบรม ทั้งในรูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้วิทยากรภายในและภายนอก อ้างอิงจาก : รายงานความยั่งยืน http://www.indorama.net/TH/CSResponsibility/pdf/Sustain2013_final_THAI.pdf(ในหน้า 56)
  • 14. 14 ธุรกิจหลักของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จากัด (มหาชน) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. เม็ดพลาสติก (PET) ธุรกิจการผลิตและจาหน่ายเม็ดพลาสติก PET เป็นหนึ่งในธุรกิจหลักของ IVL ผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติก สามารถนามาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตบรรจุภัณฑ์ของเครื่องดื่ม สารเคมีสาหรับใช้ ภายในบ้านและอุตสาหกรรม รวมถึงเวชภัณฑ์ประเภทต่างๆ 2. เส้นใยโพลีเอสเตอร์ ธุรกิจเส้นใยโพลีเอสเตอร์เป็นหนึ่งในธุรกิจหลักของ IVL โดย IVL ผลิตและจาหน่ายโพลี เอสเตอร์ในอุตสาหกรรมสิ่งทอเพื่อผลิตเส้นใยและเส้นด้าย (Fibers and Yarns) เส้นใยโพลีเอสเตอร์ เป็นเส้นใยสังเคราะห์ประเภทหนึ่งที่ใช้ทดแทนเส้นใยธรรมชาติและเป็นเส้นใยที่เป็นที่ต้องการสูง เนื่องจากสามารถนาไปใช้เป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต่างๆ 3. สาร PTA ธุรกิจสาร PTA เป็นธุรกิจเสริมสร้างและสนับสนุนธุรกิจเม็ดพลาสติก PTA และธุรกิจเส้น ใยโพลีเอสเตอร์และเป็นอีกหนึ่งธุรกิจหลักของบริษัทฯ
  • 15. 15 กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม มอก. 14001:2548 (ISO 14001: 2004) Environmental Management System (ISO 14001:2004) มี วัตถุประสงค์เพื่อให้องค์กรมีความตระหนักถึงความสาคัญของการ จัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการพัฒนาสิ่งแวดล้อมควบคู่กับการพัฒนา ธุรกิจ โดยมุ่งเน้นในการป้องกันมลพิษ (Prevention of Pollution) และ การปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง การนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 มาใช้จะก่อให้เกิดประโยชน์กับองค์กรในการลดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุดิบ และพลังงาน และการบาบัดมลพิษ หลักการสาคัญ ดังนี้ 1. การกาหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Policy) 2. การวางแผนเพื่อสนองนโยบาย (Planning) 3. การนาไปปฏิบัติและการดาเนินการ (Implementation & Operation) 4. การตรวจสอบและการปฏิบัติแก้ไข (Checking & Corrective Action) 5. การทบทวนและปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง (Management Review & Continual Improvement) ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สาหรับการนาทรัพยากรไปใช้ในการผลิต 2. สนองความต้องการของลูกค้า เนื่องจากในปัจจุบันลูกค้าต้องการสินค้าที่ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการค้า โดยเฉพาะคู่ค้าหรือคู่แข่งที่มุ่งประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมควบคู่ กับประเด็นคุณภาพอื่นๆ 4. สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ เนื่องจากจะทาให้องค์กรสามารถวางแผนการใช้ทรัพยากรและ พลังงานให้น้อยลง และลดค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหาและการบาบัดของเสียได้ 5. มีภาพลักษณ์ที่ดี เป็นที่ยอมรับและได้รับความเชื่อถือ ความไว้วางใจจากสังคม สถาบันและ หน่วยงานต่างๆมากขึ้น เช่น เป็นที่เชื่อถือของสถาบันการเงินและเพิ่มความเชื่อมั่นสาหรับผู้ลงทุน ในตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น
  • 16. 16 6. เกิดความสัมพันธ์อันดีต่อสังคมภายนอก เนื่องจากการผลิต การบริการขององค์กรไม่มีผลกระทบต่อ ชุมชนหรือสังคมภายนอก ข้อกาหนดของมาตรฐาน ISO 14001: 2004 4.1 ข้อกาหนดทั่วไป องค์กรต้องจัดทาระบบ เป็นเอกสาร นาไปปฏิบัติรักษาไว้ และปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้อง ตามข้อกาหนดของมาตรฐานสากลนี้ และต้องกาหนด ว่าระบบที่จัดทาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อกาหนดอย่างไร องค์กรต้องกาหนดขอบเขตของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และจัดทาเป็นเอกสารไว้ 4.2 นโยบายสิ่งแวดล้อม ผู้บริหารสูงสุดต้องกาหนดนโยบายสิ่งแวดล้อมขององค์กร และต้องมั่นใจว่า ภายใต้ ขอบเขตของการจัดทาระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม นโยบายนั้นจะต้อง a) เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจ ขนาด และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และบริการ b) รวมถึงความมุ่งมั่นในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และป้องกันมลพิษ c) รวมถึงความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามข้อกาหนดของกฎหมายที่ประยุกต์ใช้และข้อกาหนดอื่น ที่องค์กรเป็นสมาชิก ซึ่งเกี่ยวข้อง กับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมขององค์กร d) กาหนดกรอบในการกาหนดและทบทวนวัตถุประสงค์และเป้าหมายสิ่งแวดล้อม e) จัดทาเป็นเอกสาร นาไปปฏิบัติและคงไว้ f) สื่อสารไปยังพนักงานทุกคน หรือบุคคลอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานให้กับองค์กร g) เผยแพร่ต่อสาธารณะได้ 4.3 การวางแผน 4.3.1 ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น)
  • 17. 17 a) เพื่อชี้บ่งลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และบริการ ภายใต้ ขอบเขตของการจัดทาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ทั้งในส่วนที่องค์กรสามารถควบคุมได้ และมี อานาจเหนือสิ่งนั้นได้ เพื่อคานึงถึงในการวางแผน หรือการพัฒนาใหม่ ๆ หรือการสร้างหรือ ปรับเปลี่ยนกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ บริการ ใหม่ และ b) เพื่อกาหนดว่าลักษณะปัญหานั้น มีหรืออาจมีผลกระทบที่สาคัญต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ องค์กร ต้องจัดทาข้อมูลดังกล่าวเป็นเอกสาร และทาให้เป็น ปัจจุบันเสมอ องค์กรต้องมั่นใจว่าลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญได้ถูก พิจารณาในการจัดทา การนาไปปฏิบัติ และการรักษาไว้ซึ่งระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 4.3.2 กฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) a) เพื่อชี้บ่งและเข้าถึงกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่ประยุกต์ใช้ ซึ่งองค์กรเป็นสมาชิก โดยกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ดังกล่าว เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมขององค์กร และ b) เพื่อกาหนดว่าข้อกาหนดต่าง ๆ ดังกล่าว นาไปประยุกต์ใช้กับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม ขององค์กรอย่างไร องค์กรต้องมั่นใจว่ากฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่ประยุกต์ใช้ ซึ่งองค์กรเป็น สมาชิกนั้น ได้ถูกพิจารณาในการจัดทา นาไปปฏิบัติและรักษาไว้ซึ่งระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 4.3.3 วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการ องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งวัตถุประสงค์และเป้าหมายสิ่งแวดล้อมที่เป็นเอกสาร สาหรับหน่วยงานและระดับที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร วัตถุประสงค์และเป้าหมายจะต้องวัดผลได้ในกรณีที่สามารถทาได้ และสอดคล้องกับนโยบาย สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความมุ่งมั่นที่จะป้องกันมลพิษ ปฏิบัติให้สอดคล้องตามกฎหมายและข้อกาหนด อื่น ๆ ที่องค์กรเป็นสมาชิก และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ในการจัดทาและทบทวนวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย องค์กรต้องคานึงถึงกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่องค์กรเป็นสมาชิก และพิจารณา ถึงลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ ทางเลือกด้านเทคโนโลยีและการเงิน ข้อกาหนดในการ ปฏิบัติการ และข้อกาหนดทางธุรกิจ รวมถึงมุมมองของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
  • 18. 18 องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่ง โครงการ (โครงการเดียวหรือมากกว่านั้น) เพื่อ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมาย โดยโครงการนั้น ๆ ต้องรวมถึง a) การกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ใน หน่วยงานและระดับที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร และ b) วิธีการและช่วงเวลาดาเนินการให้บรรลุผล 4.4 การนาไปปฏิบัติและการดาเนินการ 4.4.1 ทรัพยากร บทบาท ความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่ ฝ่ายบริหารต้องมั่นใจว่า ทรัพยากรที่จาเป็นมีเพียงพอต่อการจัดทา การนาไปปฏิบัติ การ รักษาไว้ และการปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรในที่นี้ รวมถึงทรัพยากรบุคคล และความชานาญเฉพาะทาง โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ขององค์กร เทคโนโลยี และ ทรัพยากรทางการเงิน บทบาท ความรับผิดชอบ และอานาจหน้าที่จะต้องถูกกาหนด จัดทาเป็น เอกสาร และมีการสื่อสารเพื่อช่วยให้ง่ายต่อการจัดการ สิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิผล บริหารสูงสุดขององค์กรต้องแต่งตั้งผู้แทนฝ่ายบริหารเป็นการเฉพาะ (ท่านเดียวหรือมากกว่า นั้น) ผู้ซึ่งนอกเหนือจากความ รับผิดชอบอื่นแล้ว ต้องถูกกาหนดบทบาท ความรับผิดชอบ และ อานาจหน้าที่เพื่อ a) ทาให้มั่นใจว่า ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมได้ถูกจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ โดย สอดคล้องตามข้อกาหนดของ มาตรฐานสากลนี้ b) รายงานผลการดาเนินการของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมต่อผู้บริหารสูงสุดเพื่อทบทวน รวมถึงข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง 4.4.2 ความรู้ความสามารถ การฝึกอบรม และจิตสานึก องค์กรต้องมั่นใจว่า บุคคลใด ๆ ก็ตามที่ปฏิบัติงานให้องค์กร หรือปฏิบัติงานในนามองค์กร ซึ่งมีโอกาสก่อให้เกิดผลกระทบที่สาคัญ ต่อสิ่งแวดล้อม (เรื่องเดียวหรือมากกว่านั้น) ที่ชี้บ่งโดย องค์กร เป็นคนที่มีความรู้ความสามารถโดยบนพื้นฐานของการศึกษา การฝึกอบรม หรือ ประสบการณ์ที่เหมาะสม และจัดเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้องไว้
  • 19. 19 องค์กรต้องชี้บ่งความจาเป็นในการฝึกอบรม (Training needs) ซึ่งเกี่ยวข้องกับลักษณะ ปัญหาสิ่งแวดล้อม และระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม โดยจะต้องจัดให้มีฝึกอบรม หรือดาเนินการ ใด ๆ เพื่อให้ตรงตามความจาเป็นนั้น และจัดเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้องไว้ องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่า นั้น) เพื่อมั่นใจว่าบุคคลใด ๆ ก็ตามที่ ปฏิบัติงานให้องค์กร หรือปฏิบัติงานในนามองค์กร มีความ ตระหนักถึง a) ความสาคัญของการปฏิบัติตามนโยบายสิ่งแวดล้อม และขั้นตอนปฏิบัติงานต่าง ๆ ตลอดจนข้อกาหนดของระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม b) ลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ และความเกี่ยวข้องกับผลกระทบที่สาคัญต่อ สิ่งแวดล้อมทั้งที่เกิดขึ้นจริงหรือมีแนวโน้มที่จะ เกิดขึ้น จากการปฏิบัติงานนั้น ๆ รวมทั้งประโยชน์ ด้านสิ่งแวดล้อมที่จะได้รับจากการปรับปรุงการปฏิบัติงานของบุคลากร c) บทบาท และความรับผิดชอบของบุคลากร เพื่อบรรลุถึงความสอดคล้องกับข้อกาหนด ของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม d) ผลเสียที่อาจเกิดขึ้นจากการไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนปฏิบัติงานนั้น ๆ 4.4.3 การสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมและระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม องค์กรต้อง จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอน ปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) สาหรับ a) การสื่อสารภายในองค์กร ระหว่างหน่วยงานและระดับต่าง ๆ ขององค์กร b) การรับ จัดทาเป็นเอกสาร และตอบสนองการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายนอกองค์กร องค์กรต้องตัดสินใจว่าจะสื่อสารเรื่องลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญสู่ภายนอกหรือไม่ และการตัดสินใจดังกล่าวต้องเป็น เอกสาร ถ้าตัดสินใจที่จะสื่อสารแล้ว องค์กรจะต้องจัดทาวิธีการ (หนึ่งวิธีหรือมากกว่านั้น)สาหรับการสื่อสารภายนอก และนาไปปฏิบัติ
  • 20. 20 4.4.4 เอกสาร เอกสารระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมต้องรวมถึง a) นโยบาย วัตถุประสงค์และเป้าหมายสิ่งแวดล้อม b) คาอธิบายถึงขอบเขตของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม c) คาอธิบายถึงข้อกาหนดหลักของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและความสัมพันธ์ของ ข้อกาหนด และการอ้างอิงไปยังเอกสารที่ เกี่ยวข้อง d) เอกสารต่าง ๆ รวมถึงบันทึก ที่มาตรฐานสากลนี้กาหนด และ e) เอกสารต่าง ๆ รวมถึง บันทึกที่กาหนดขึ้นโดยองค์กรที่จาเป็นต้องมี เพื่อมั่นใจว่า มีการ วางแผน การดาเนินการ และการควบคุม กระบานการที่เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ สาคัญ อย่างมีประสิทธิผล 4.4.5 การควบคุมเอกสาร เอกสารที่จาเป็นต้องมีตามที่ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานสากลกาหนด ต้อง ได้รับการควบคุม บันทึกก็จัดเป็นเอกสารชนิดพิเศษอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องได้รับการควบคุมเพื่อให้ สอดคล้องกับข้อกาหนดที่ 4.5.4 องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงาน (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) เพื่อ a) อนุมัติเอกสารว่าเหมาะสมต่อการใช้งาน/ก่อนแจกจ่าย b) ทบทวน และปรับปรุงเอกสารตามความจาเป็น รวมทั้งอนุมัติเอกสารที่ปรับแก้ซ้า c) มั่นใจว่ามีการชี้บ่งสถานการณ์แก้ไข และสถานะความเป็นปัจจุบันของเอกสาร d) มั่นใจว่ามีเอกสารฉบับที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน มีพร้อมใช้ที่จุดปฏิบัติงาน e) มั่นใจว่าเอกสารยังคงสภาพที่สามารถเข้าใจและอ่านได้ง่าย f) มั่นใจว่า เอกสารจากภายนอกที่องค์กรเห็นว่าจาเป็นต้องใช้ในการวางแผน และการ ดาเนินการของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม จะต้องมีการชี้บ่งไว้ และควบคุมการแจกจ่ายเอกสาร เหล่านั้น และ
  • 21. 21 g) ป้องกันการนาเอกสารทีถูกยกเลิกไปใช้โดยไม่ตั้งใจ และมีการชี้บ่งเอกสารเหล่านั้นอย่าง เหมาะสม หากต้องจัดเก็บไว้เพื่อ วัตถุประสงค์ใด ๆ ก็ตาม 4.4.6 การควบคุมการดาเนินงาน องค์กรต้องบ่งชี้และวางแผนดาเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ สาคัญ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย สิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์และเป้าหมาย เพื่อมั่นใจว่าการดาเนินการ ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดไว้ โดย a) จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือ มากกว่านั้น) เพื่อควบคุมสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งหากปราศจากขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสารนั้น แล้ว อาจนาไปสู่การปฏิบัติที่เบี่ยงเบนไปจากนโยบายสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ และเป้าหมายได้ และ b) กาหนดเกณฑ์การดาเนินงานไว้ในขั้นตอนปฏิบัติงาน และ c) จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหา สิ่งแวดล้อมที่สาคัญของสินค้าและการบริการ ขององค์กร ที่ได้ชี้บ่งไว้แล้ว และสื่อสารขั้นตอน ปฏิบัติงานที่ใช้และข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องไปยังผู้ขาย รวมถึงผู้รับจ้างช่วง 4.4.7 การเตรียมพร้อม และตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียว หรือมากกว่านั้น) เพื่อชี้บ่งสภาวะฉุกเฉิน และอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งสามารถเกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม (เรื่องเดียวหรือมากกว่านั้น) และวิธีการตอบสนองขององค์กร ต่อเหตุการณ์เหล่านั้น องค์กรต้องตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจริงและป้องกัน หรือ ลด ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเชิงลบ (Adverse) ที่เกี่ยวข้อง องค์กรต้องทบทวนขั้นตอนปฏิบัติงานสาหรับการเตรียมพร้อม และตอบสนองต่อสภาวะ ฉุกเฉินเป็นระยะ และให้ปรับปรุงขั้นตอน ปฏิบัติงานตามความจาเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังเกิด อุบัติเหตุหรือสภาวะฉุกเฉินจริง
  • 22. 22 องค์กรต้องทดสอบขั้นตอนปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ เท่าที่สามารถทาได้ 4.5 การตรวจสอบ 4.5.1 การติดตามผลและการตรวจวัด องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียว หรือมากกว่านั้น) เพื่อติดตามและ ตรวจวัดอย่างสม่าเสมอ ในจุดสาคัญของการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจมี ผลกระทบที่สาคัญต่อสิ่ง แวดล้อม ขั้นตอนปฏิบัติงานนี้ต้องรวมถึง การเก็บข้อมูลเพื่อติดตามผลการ ดาเนินงาน การติดตามการควบคุมการดาเนินงาน และการติดตามความสอดคล้องตาม วัตถุประสงค์ และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร เป็นเอกสาร องค์กรต้องมั่นใจว่า อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและตรวจวัดผ่านการสอบเทียบ หรือทวนสอบและรักษาอุปกรณ์ เครื่องมือนั้น รวมทั้งต้องจัดเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้องไว้ 4.5.2 การประเมินความสอดคล้อง 4.5.2.1 เพื่อให้เป็นไปตามความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติให้สอดคล้อง องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และ รักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่ เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) สาหรับการประเมินความ สอดคล้องกับข้อกาหนดของกฎหมายที่ประยุกต์ใช้องค์กรต้อง จัดเก็บบันทึกผลการประเมินเป็น ระยะนั้นไว้ 4.5.2.2 องค์กรต้องประเมินความสอดคล้องตามข้อกาหนดอื่น ๆ ที่องค์กรเป็นสมาชิก โดยองค์กร อาจประสงค์ที่จะรวมการประเมิน ความสอดคล้องนี้เข้ากับการประเมินความสอดคล้องกับ ข้อกาหนดของกฎหมาย ที่อ้างอิงในข้อกาหนด ที่ 4.5.2.1 หรืออาจจัดทา ขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็น เอกสาร (ฉบับเดียวหรือมากกว่านั้น) แยกต่างหากก็ได้ องค์กรต้องจัดเก็บบันทึกผลการประเมินเป็นระยะนั้นไว้ 4.5.3 ข้อบกพร่อง การปฏิบัติการแก้ไข และการปฏิบัติป้องกัน องค์กรต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียว หรือมากกว่านั้น) เพื่อดาเนินการกับ ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น และข้อบกพร่องที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้น รวมทั้งดาเนินการปฏิบัติการแก้ไขและดาเนินการปฏิบัติการป้องกัน โดยขั้นตอนปฏิบัติงานนี้ ต้อง
  • 23. 23 ครอบคลุมถึง a) การชี้บ่งและแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น และดาเนินการ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นั้น b) การสืบสวนข้อบกพร่อง และการหาสาเหตุ และดาเนินการเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดซ้า c) การประเมินความจาเป็นของการดาเนินการเพื่อป้องกันข้อบกพร่อง และปฏิบัติตามแนว ดาเนินการที่เหมาะสมที่วางไว้เพื่อ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง d) บันทึกผลการปฏิบัติการแก้ไขและการปฏิบัติการป้องกันที่ดาเนินการไป และ e) ทบทวนประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ไข และการปฏิบัติการป้องกันที่ดาเนินการไป การดาเนินการที่ดาเนินการไปจะต้องเหมาะสมกับขนาดของปัญหาและผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น องค์กรต้องมั่นใจว่า เอกสารระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ได้ถูกแก้ไขตามการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามความจาเป็น 4.5.4 การควบคุมบันทึก องค์กรต้องจัดทา และรักษาบันทึกที่จาเป็นต้องมี เพื่อแสดงถึงความสอดคล้องตาม ข้อกาหนดของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และ มาตรฐานสากลนี้ และผลลัพธ์ที่ได้ องค์กรต้อง จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือ มากกว่านั้น) สาหรับการชี้บ่ง การจัดเก็บ การรักษาสภาพ การเรียกใช้ ระยะเวลาเก็บรักษา และการทาลายบันทึก บันทึกต้องเข้าใจได้ง่าย ชี้บ่งได้ และสามารถสอบย้อนได้ 4.5.5 การตรวจติดตามภายใน องค์กรต้องมั่นใจว่า การตรวจติดตามภายในตามระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมต้องดาเนินการ ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อ a) พิจารณาว่าระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม 1) สอดคล้องตามแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กาหนดไว้ รวมถึงข้อกาหนดของ
  • 24. 24 มาตรฐานสากลนี้ และ 2) ได้ถูกนาไปปฏิบัติอย่างเหมาะสมและสามารถรักษาระบบไว้ได้ และ b) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับผลการตรวจติดตามให้แก่ฝ่ายบริหาร องค์กรจะต้องวางแผน จัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ ซึ่งโปรแกรมการตรวจติดตาม โดย พิจารณาถึงความสาคัญต่อสิ่งแวดล้อม ของการปฏิบัติการต่าง ๆ และผลของการตรวจติดตามครั้งที่ ผ่านมา ต้องจัดทา นาไปปฏิบัติ และรักษาไว้ซึ่งขั้นตอนปฏิบัติงานที่เป็นเอกสาร (ฉบับเดียวหรือ มากกว่านั้น) ซึ่งระบุถึงสิ่งต่อไปนี้ „ความรับผิดชอบ และข้อกาหนดในการวางแผนและดาเนินการตรวจติดตาม การรายงานผล การตรวจ และเก็บบันทึกที่เกี่ยวข้อง „การกาหนดเกณฑ์การตรวจติดตาม ขอบเขต ความถี่ และวิธีการตรวจ การคัดเลือกผู้ตรวจประเมินและการดาเนินการตรวจ ต้องมั่นใจ ในเรื่องการตรวจโดยยึดตาม ข้อเท็จจริงที่พบ (Objectivity) และมี ความเป็นกลาง (Impartiality) ตลอดกระบวนการตรวจติดตาม 4.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร ผู้บริหารสูงสุดต้องทบทวนระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรตามช่วงเวลาที่กาหนด ไว้ เพื่อมั่นใจว่าระบบยังคงความเหมาะสม ความเพียงพอ และความมีประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง โดย การทบทวนนี้ต้องครอบคลุมถึงการประเมินโอกาสในการปรับปรุง และ ความจาเป็นในการ เปลี่ยนแปลงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบายสิ่งแวดล้อม และ วัตถุประสงค์และ เป้าหมายสิ่งแวดล้อม โดยต้องจัดเก็บบันทึกผลของการทบทวนของฝ่ายบริหารไว้ ข้อมูลที่นาเสนอในการทบทวนของฝ่ายบริหาร ต้องครอบคลุมถึง a) ผลการตรวจติดตามภายในและการประเมินความสอดคล้องกับข้อกาหนดของกฎหมาย และข้อกาหนดอื่น ๆ ที่องค์กรเป็น สมาชิก b) การสื่อสารจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกองค์กรรวมทั้ง ข้อร้องเรียน c) ผลการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กร
  • 25. 25 d) การบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย e) สถานะของการปฏิบัติการแก้ไขและการปฏิบัติการป้องกัน f) การติดตามการดาเนินการจากการทบทวนของฝ่ายบริหารครั้งก่อน g) การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ รวมทั้ง การพัฒนาของกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม และ h) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง ผลจากการประชุมทบทวนของฝ่ายบริหารต้องรวมถึงการตัดสินใจและการดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับความเป็นไปได้ในการ ปรับเปลี่ยนนโยบายสิ่งแวดล้อม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และ ประเด็นอื่น ๆ ของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ที่สอดคล้องกับความ มุ่งมั่นที่จะปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง
  • 26. 26 มาตรการจัดการของเสียอันตราย อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของอันตรายและการกาจัด (Basel Convention on the Control of Transboundary Movement of Hazardous Waste and their Disposal :BASEL) หลักการและสาระสาคัญ อนุสัญญาบาเซลฯ มีเจตนารมณ์ในการคุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจาก ของเสียอันตรายและการป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในประเทศกาลังพัฒนา โดยมี วัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ (1) เพื่อลดการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายข้ามแดนให้น้อยที่สุด (2) เพื่อกาจัดของเสียอันตรายที่แหล่งกาเนิดให้ได้มากที่สุด (3) เพื่อลดการก่อกาเนิดของเสียอันตรายทั้งในเชิงปริมาณและความเป็นอันตราย อนุสัญญาบาเซลฯ ประกอบด้วยมาตรการด้านกฎหมายในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของของ เสีย และเครื่องมือหรือกลไกการจัดการของเสียอันตรายให้อยู่ในระดับสากล มาตรการด้านกฎหมาย กาหนดขึ้นเพื่อควบคุมการเคลื่อนย้ายของของเสียอันตรายข้ามแดนโดย กาหนดระบบการแจ้งข้อมูลล่วงหน้า กล่าวคือ ก่อนการนาเข้า ส่งออก และนาผ่านของเสียอันตราย ไปยังประเทศอื่นจะต้องแจ้งรายละเอียดและขออนุญาตตามขั้นตอนจากหน่วยงานที่มีอานาจของ ประเทศที่เกี่ยวข้องก่อนการขนส่ง และการขนส่งต้องจัดให้มีเอกสารการเคลื่อนย้ายการบรรจุหีบ ห่อ การติดฉลาก และการขนส่งด้วยวิธีการที่กาหนดตามมาตรฐานสากล ตลอดจนต้องมีการ ประกันภัยพันธบัตร (bond) หรือหลักประกันทางการเงิน และรับผิดชอบในกรณีที่เกิดความเสียหาย โดยต้องนากลับภายใน 30 วัน และต้องชดใช้ค่าเสียหายหากเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลและปนเปื้อน นอกจากนี้ไม่อนุญาตให้มีการส่งออก หรือนาเข้าของเสียอันตรายจากประเทศที่มิได้เป็นภาคี ยกเว้น จะทาความตกลงทวีภาคี พหุภาคี หรือระดับภูมิภาค รวมทั้งไม่อนุญาตให้มีการส่งออกหรือ เคลื่อนย้ายของของเสียอันตรายหรือของเสียอื่นไปทิ้งหรือกาจัดในพื้นที่ใต้เส้นละติจูด 60 องศาใต้ เครื่องมือและกลไกการจัดการของเสียอันตรายที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม (environmentally sound management) ได้แก่ การพัฒนาและใช้เทคโนโลยีที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดของเสียน้อย