SlideShare a Scribd company logo
1 of 269
Download to read offline
กฎหมายวิธีพจารณาความอาญา
ิ
โดย
รศ. ณรงค์ ใจหาญ

1
หัวข้ อศึกษา
 หลักทั่วไปในการดําเนินคดีอาญา

 บทบาทของเจ้ าพนักงานและบุคคลที่

เกี่ยวข้ อง
 ขันตอนการดําเนินคดีอาญา
้
 ผู้มีอานาจฟอง
ํ
้
 เขตอํานาจศาล
2
การฟองคดี
้

การขอเข้ าร่วมเป็ นโจทก์
การถอนฟอง
้
สิทธินาคดีอาญามาฟองระงับ
้
การฟองคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
้

3
การจํากัดเสรี ภาพของบุคคล
หมายเรี ยก

หมายอาญา
จับ

ควบคุม
ขัง
4
 การร้ องขอให้ ปล่อยกรณีคมขังโดยมิชอบ
ุ
 การปล่อยชัวคราว
่
 การค้ น
 ค้ นตัวบุคคล

 ค้ นสถานที่
 ค้ นกรณีพิเศษ
 ค้ นบุคคลเพื่อตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์

5
 การสอบสวนสามัญ
 การชันสูตรพลิกศพ
 การไต่ สวนมูลฟอง การพิจารณา การพิพากษา
้
 การอุทธรณ์

 การฎีกา
 การบังคับโทษ
 ค่ าธรรมเนียม
 การอภัยโทษ
6
บทบาทของกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา
ิ
 กฎหมายวิธีพจารณาความอาญา เป็ นกฎหมายที่
ิ

กําหนดกระบวนการเพื่อทําให้ รัฐสามารถค้ นหา
ความจริง และทําให้ สามารถบังคับกฎหมายอาญา
ได้
 กระบวนการที่กาหนดไว้ ในกฎหมายวิธีพจารณา
ํ
ิ
ความอาญา จึงเป็ นกระบวนการที่ให้ ความสมดุล
ระหว่ างหลักประกันสิทธิของประชาชนและการใช้
อํานาจรัฐในกระบวนการยุตธรรมทางอาญาในการ
ิ
หาความจริงและได้ ตวผู้กระทําความผิดมาลงโทษ
ั
7
หลักในการดาเนินคดีอาญา

1. ระบบไต่ สวน กับ ระบบกล่ าวหา
2. หลัก Due process กับ
Crime Control

8
ระบบไต่สวน เป็ นระบบที่เดิมไม่แยก
หน้ าที่สอบสวนฟองร้ องและพิจารณา
้
พิพากษาออกจากกัน และจาเลยไม่มีสิทธิ
ในการแก้ ตว
ั
มีใช้ ในยุโรปตังแต่สมัยกลาง
้

9
ระบบกล่าวหา เป็ นระบบที่ให้ สิทธิในการ

ต่อสู้คดีของจาเลย ศาลเป็ นคนกลาง และ
คูความนาพยานมาเสนอ โดยศาลหรื อ
่
ลูกขุนเป็ นผู้ชี ้ขาด
มีใช้ ในอังกฤษ สหรัฐอเมริ กา แคนาดา

10
ระบบไต่สวน

ระบบกล่าวหา

ศาลเป็ นหลักในการชี ้ขาด
ตัดสิน
 ศาลไม่ผกพันว่าจะต้ อง
ู
พิจารณาข้ อเท็จจริ งตามที่
คูความนาเสนอ
่
 ไม่แยกหน้ าที่สอบสวนฟองร้ อง
้
กับชี ้ขาดตัดสิน
 คูความมีอานาจในการนาเสนอ
่
ข้ อเท็จจริ งเท่าที่ศาลอนุญาต


คูความเป็ นหลักในการนาเสนอ
่
ข้ อเท็จจริ ง
 ศาลต้ องผูกพันที่จะวินิจฉัย
ข้ อเท็จจริ งเฉพาะที่คความ
ู่
นาเสนอ
 คูความมีความเท่าเทียมกันใน
่
การนาเสนอหลักฐาน
 แยกหน้ าที่สอบสวนออกจาก
หน้ าที่ชี ้ขาดตัดสิน


11
หลัก Crime Control
มีใช้ ในระบบกฎหมายยุโรป
 ซึ่งมุ่งเน้ นการควบคุมอาชญากรรมเป็ นหลัก
 หากมีความจําเป็ นต้ องก้ าวล่ วงเพื่อจํากัดเสรี ภาพของ
ประชาชน ก็สามารถกระทําได้ ภายใต้ การตรวจสอบของ
องค์ กรภายนอก เช่ น ศาล เป็ นต้ น
 ดังนันกระบวนการนี ้ ให้ ความคุ้มครองสิทธิและเสรี ภาพแก่
้
ประชาชนเป็ นลําดับรองจากเหตุผลในการสร้ าง
ประสิทธิภาพในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม
้


12
Due Process
ใช้ ในสหรัฐอเมริกา
 เน้ นการให้ หลักประกันสิทธิและเสรี ภาพของประชาชน
เป็ นหลัก
 ดังนัน หากมีการละเมิดสิทธิเสรี ภาพของประชาชน แม้ จะ
้
กระทําเพื่อให้ ได้ มาซึ่งพยานหลักฐานในการพิจารณาคดี
หรือเพื่อให้ ได้ มาซึ่งตัวบุคคล ศาลจะไม่ อนุญาตให้ กระทํา
 เพราะเห็นว่ าสิทธิและเสรี ภาพของประชาชนเป็ นสิ่งที่ต้อง
ให้ การปกปองและศาลจะไม่ ยอมให้ มีการละเมิดโดย
้
อําเภอใจและหากปล่ อยให้ เจ้ าพนักงานกระทํา เท่ ากับเป็ น
การยอมรับผลของการกระทําที่ฝ่าฝื นกฎหมาย


13
Crime Control








Due Process

ค้ นหาความจริงและการพิสจน์
ู
ความผิด
ให้ ความสําคัญของสิทธิผ้ ูเสียหาย
หากจําเป็ นเพื่อการสืบสวน
สอบสวนและปองกันอาชญากรรม
้
ขยายอํานาจตํารวจได้
กฎหมายต้ องไม่ จากัดการปองกัน
ํ
้
อาชญากรรม

เน้ นการตรวจสอบในระหว่ าง
การดําเนินกระบวนพิจารณา
และความเป็ นธรรม
 ให้ หลักประกันของผู้ถูกกล่ าวหา
 อํานาจตํารวจมีอย่ างจํากัด
 กฎหมายมีไว้ เพื่อควบคุมการใช้
อํานาจที่ก้าวล่ วงสิทธิของ
ประชาชน


ข้ อเปรี ยบเทียบ
14
Crime Control

Due Proces

 ทุกขันตอนต้ องมีระเบียบ
้

 ทุกขันตอนของ
้

เพื่อให้ อานาจเจ้ าพนักงาน
ํ
ปฏิบัตงานได้ อย่ างมี
ิ
ประสิทธิภาพ
 เมื่อฟองแล้ ว ถือว่ าน่ าจะเป็ น
้
ผู้ผิดเพราะมีกระบวนการ
ตรวจสอบที่เข้ มงวด

กระบวนการยุตธรรมต้ อง
ิ
มีหลักประกันสิทธิและ
เสรีภาพ
 ได้ รับการสันนิษฐานว่ า
บริสุทธิ์จนกว่ าจะมีคา
ํ
พิพากษาถึงที่สุดว่ าผิด

15
การดาเนินคดีอาญา
 การดาเนินคดีอาญาโดยประชาชน ( popular

prosecution)
 ประชาชนมีอานาจในการดาเนินคดีอาญา ใช้ ใน
อังกฤษ
 การดาเนินคดีอาญาโดยรัฐ (public
prosecution)
 รัฐมีหน้ าที่ในการดาเนินคดีอาญา ใช้ ในยุโรป
16
หลักการดําเนินคดีอาญา
 การดําเนินคดีอาญาตามกฎหมาย (legality

principle)
 เมื่อมีหลักฐานในการดําเนินคดีท่ มีมูลแล้ วต้ องดําเนินคดี
ี
เพราะเป็ นหน้ าที่ของเจ้ าพนักงานที่จะนําตัวผู้กระทําผิด
มาลงโทษ
 การดําเนินคดีอาญาตามดุลพินิจ (opportunity
principle)
 แม้ จะมีหลักฐานว่ าผู้นันกระทําความผิด รั ฐอาจไม่
้
ดําเนินคดีเพราะเหตุผลของการไม่ เป็ นประโยชน์ หรื อ
ประโยชน์ สาธารณะ
17
หลักการค้ นหาความจริง
 การค้ นหาความจริ งตามรู ปแบบ

 ศาลอาจยอมรั บพยานที่ค่ ความตกลงกันแล้ วได้ โดย
ู

ไม่ ต้องตรวจสอบ
 การค้ นหาความจริ งตามเนือหา
้
 คดีอาญา โดยศาลต้ องค้ นหาความจริ งด้ วยตัวของ
ศาลเอง โดยไม่ จากัดว่ าเป็ นพยานของฝ่ ายใด และ
ํ
ศาลเป็ นผู้ซักถามพยานนัน
้
18
หลักฟั งความทุกฝ่ าย
หมายความว่ าในกระบวนการค้ นหาความจริงใน
ทุกขันตอนโดยเฉพาะในชันอัยการ และศาล
้
้
ต้ องรั บฟั งข้ อมูลที่ได้ จากทังสองฝ่ าย โดยทังผู้
้
้
กล่ าวหาและผู้ถกกล่ าวหา
ู
ซึ่งแตกต่ างจากแบบเดิมที่เน้ นการซักฟอก
จากตัวผู้ถูกกล่ าวหา

19
หลักวาจา
 การพิจารณาคดีในศาล ต้ องเบิกความด้ วย

วาจาต่ อหน้ าศาล
 ข้ อเท็จจริ งที่อยู่ในเอกสารต้ องมาเบิกความ
ประกอบ
 ทังนีเพื่อให้ ศาลสามารถตรวจสอบความ
้ ้
จริงได้ โดยอาศัยจิตวิทยาพยาน
 และคู่ความมีสิทธิตรวจสอบ
20
หลักพยานโดยตรง
 ใกล้ เคียงกับหลักวาจา

 การสืบพยานเป็ นหน้ าที่ของศาล จะไม่ อาจ

มอบหมายให้ ผ้ ูอ่ ืนปฏิบัตหน้ าที่ได้
ิ
 เพื่อที่จะตรวจสอบพยานหลักฐานด้ วยตนเอง
จึงจะพิสูจน์ ความจริงได้

21
หลักเปิ ดเผย
 การพิจารณาของศาลต้ องทําโดยเปิ ดเผย

 เปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้ าฟั งการพิจารณา
 ถือเป็ นการทําให้ เกิดความโปร่ งใสในการ

พิจารณาและให้ ความเป็ นธรรมแก่ ผ้ ูถูก
กล่ าวหา
 ข้ อยกเว้ น
 พิจารณาลับ
22
หลักอิสระในการชั่งนําหนักพยานหลักฐาน
้
ศาลมีดลพินิจเต็มที่ในการวินิจฉัยว่า
ุ

พยานหลักฐานที่นาเสนอนี ้มีความน่าเชื่อ
เพียงใด
จึงไม่มีกฎหมายกาหนดว่า พยานหลักฐาน
ใดที่มีความน่าเชื่อกว่ากัน
23
หลักยกประโยชน์ แห่ งความสงสัยให้ จาเลย
ํ
 หลักที่ยกประโยชน์ แห่ งความสงสัยให้ จาเลย
ํ

เป็ นหลักที่ปองกันมิให้ รัฐลงโทษผู้กระทําผิด
้
โดยอาศัยหลักฐานที่ยังไม่ ชัดแจ้ งว่ าเป็ น
ผู้กระทําผิด
 จึงมีหลักในทางอาญาว่ า
 Proof beyond reasonable
doubt
 แต่ ในทางแพ่ งใช้ หลักความน่ าเชื่อ

24
เอกสิทธิท่ จะไม่ ให้ การเป็ นปฏิปักษ์ กับตนเอง
ี
 The

Privilege against selfincrimination
 สิทธิท่ จะไม่ ถกบังคับเพื่อให้ การเป็ นปฏิปักษ์
ี
ู
กับตนเอง
 คอมมอนลอว์ ใช้ กับผู้ถูกกล่ าวหา พยานและ
ครอบครั ว
 ซิวิลลอว์ ใช้ กับพยาน
25
หลักฟองซ ้า
้
Ne bis in Idem
การกระทาความผิดครังเดียว ผู้นนไม่ควร
้
ั้

ต้ องเดือดร้ อนซ ้าสอง
คุ้มครองผู้ต้องหาและจาเลย

26
หลักการดําเนินคดีของไทย
 ผู้เสียหายฟองคดีอาญาได้
้

 ผู้เสียหายในความผิดต่ อส่ วนตัว มีส่วนในการ

เริ่มคดีและระงับคดี
 ตํารวจมีบทบาทในการสอบสวน
 พนักงานอัยการมีบทบาทในการสั่งคดีแต่ ไม่ มี
อํานาจสอบสวนคดีท่ วไป ยกเว้ นมีกฎหมาย
ั
กําหนดไว้ เป็ นพิเศษ
27
ขันตอนการการดําเนินกระบวนการยุตธรรมทาง
้
ิ
อาญา
 ก่ อนฟองคดี
้

 ร้ องทุกข์

กล่ าวโทษ

 สืบสวน

 สอบสวน
 สั่งคดี

28
หลังฟองคดี
้
ตรวจคาฟอง
้

ไต่สวนมูลฟอง
้

29
นัดตรวจพยานหลักฐาน
สืบพยาน
พิพากษาคดี
อุทธรณ์ ฎีกา

30
 หลังจากศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุด
ํ

 บังคับโทษ
 ประหารชีวิต
 จําคุก
 ปรั บ
 ริ บทรั พย์

31
หลักการดาเนินกระบวนพิจารณาในชันก่อนฟอง
้
้

ผู้เสียหายมีสิทธิฟองคดีและร้ องทุกข์
้

ต่อเจ้ าพนักงานเพื่อให้ ดาเนินคดีแก่
ผู้กระทาความผิดได้
ฝรั่งเศส เยอรมัน ไม่เปิ ดโอกาสให้ ฟอง
้
ส่วนอังกฤษ ให้ ประชาชนสามารถฟอง
้
ได้
32
ในคดีความผิดต่อส่วนตัว (ความผิดอันยอม

ความได้ ) การเริ่ มคดีและยุติคดีขึ ้นอยูกบ
่ ั
ความประสงค์ของผู้เสียหายเป็ นสาคัญ แต่ถ้า
เป็ นความผิดที่ไม่อาจยอมความได้ แม้
ผู้เสียหายไม่แจ้ งความหรื อถอนคาฟอง ไม่ตด
้
ั
สิทธิพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการที่จะ
ดาเนินคดีตอไป
่

33
 ในคดีอาญามีความจําเป็ นต้ องได้ ข้อเท็จจริ ง

เกี่ยวกับความผิดจึงต้ องมีพยานรู้เห็น
เหตุการณ์ มานําสืบประกอบกับพยานหลักฐาน
อื่นหากไม่ มี ก็อาจไม่ สามารถลงโทษจําเลยได้
เพราะหลักที่ว่า ศาลต้ องแน่ ใจว่ าผู้นันกระทํา
้
ความผิด จึงจะลงโทษได้ และโจทก์ ต้องพิสูจน์
ว่ าจําเลยเป็ นผู้กระทําความผิด
34
การให้ ความคุ้มครองสิทธิของผู้ถกจับ
ู

ผู้ต้องหา และประชาชนโดยทัวไปจากการใช้
่
อานาจเกินขอบเขตของเจ้ าพนักงาน
จับไม่ได้ ถ้าไม่มีหมายจับจากศาล เว้ นแต่จะ
เข้ าเหตุจบโดยไม่มีหมายหรื อเป็ นการกระทา
ั
ความผิดซึงหน้ า ตามมาตรา 78
่

35
หลักในการดาเนินคดีในชันพิจารณา
้
จาเลยมีสิทธิตงทนายความ ถ้ าไม่มี
ั้

ศาลต้ องตังให้ ม. 173
้
จาเลยมีสิทธิฟังการพิจารณาและต่อสู้
คดีได้ เต็มที่

36
การพิจารณาคดีตอกระทาโดย
่

เปิ ดเผย ต่อเนื่องและเป็ นธรรม
พิจารณาลับ เป็ นข้ อยกเว้ น เพราะ
เหตุความสงบเรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรม
อันดีของประชาชน

37
การพิจารณาคดีต้องทาโดยองค์คณะ

และหากไม่ได้ นงพิจารณาจะ
ั่
พิพากษาตัดสินไม่ได้
ห้ ามดาเนินคดีซ ้า (ฟองซ ้า ดาเนิน
้
กระบวนพิจารณาคดีซ ้า ฟองซ้ อน)
้

38
การพิจารณาคดีใช้ หลักพยานโดยตรง ต้ องเป็ น

พยานที่ร้ ูเห็นเหตุการณ์ และต้ องเป็ นพยานที่
ได้ มาโดยชอบ
ถ้ าเป็ นคดีแพ่งอาจเป็ นการตกลงในข้ อเท็จจริ ง
โดยไม่สืบพยานได้
มีข้อห้ ามมิให้ รับฟั งพยานหลักฐานที่เกิดและ
ได้ มาโดยมิชอบ ตามมาตรา 226, 226/1
ห้ ามรับฟั งพยานบอกเล่า

39
คาพิพากษาต้ องให้ ให้ เหตุผล

คูความมีสิทธิโต้ แย้ งได้ ทงข้ อเท็จจริ งและ
่
ั้

ข้ อกฎหมาย เว้ นแต่จะมีกฎหมายห้ าม
การพิจารณาในศาลสูง อาจไม่ได้
สืบพยาน แต่ถ้าสืบต้ องเปิ ดเผย

40
 หากมีข้อผิดพลาดในกระบวนพิจารณา ถ้ าอยู่

ในศาลสูง ศาลสูงเพิกถอนแล้ วให้ พจารณา
ิ
พิพากษาใหม่ ตามรูปคดี
 แต่ ถ้าเป็ นข้ อผิดพลาดหลังจากที่มีคาพิพากษา
ํ
ถึงที่สุดแล้ ว ต้ องใช้ การรือฟื ้ นคดีอาญาขึน
้
้
พิจารณาใหม่ ตามพระราชบัญญัตรือฟื ้ น
ิ ้
คดีอาญาขึนมาพิจารณาใหม่ พ.ศ. 2526
้

41
 กรณีท่ จาเลยได้ รับความเสียหายจากกระบวน
ี ํ

พิจารณาที่ผดพลาด แต่ ศาลสูงยกฟอง
ิ
้
 ความเสียหายที่จะได้ รับชดเชย ต้ องเป็ นไปตาม
พระราชบัญญัตค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่ า
ิ
ทดแทนและค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา
ํ
พ.ศ. 2544 ซึ่งต้ องเป็ นกรณีท่ จาเลยไม่ ได้
ี ํ
กระทําความผิดแต่ ถกคุมขังในระหว่ างพิจารณา
ู
 ในรั ฐธรรมนูญให้ ผ้ ูต้องหามีสิทธิได้ รับ
ค่ าชดเชยจากการถูกคุมขังโดยมิชอบ
42
ผู้มีอานาจฟอง
้
กฎหมายไทย มี สองประเภท
ฟองโดยรัฐ ได้ แก่ พนักงาน
้

อัยการ
ฟองโดย ผู้เสียหาย
้

43
เงื่อนไขการฟองคดี
้
พนักงานอัยการ

จะฟองได้ ต้ องมี
้
การสอบสวนในข้ อหานันก่อน
้
ผู้เสียหาย ไม่กาหนดเงื่อนไขก่อน
ฟอง แต่ต้องเป็ นผู้ได้ รับความ
้
เสียหายจากความผิดฐานนัน
้
44
ผู้เสียหาย
ผู้เสียหาย มี สองประเภท

ผู้เสียหายที่แท้ จริ ง
ผู้มีอานาจจัดการแทน
ํ

◦ตาม มาตรา 4 วรรคสอง มาตรา 5 และ
มาตรา 6
◦กรณีอ่ น ๆ
ื
45
ผู้เสียหายที่แท้ จริง
1. มีความผิดอาญาเกิดขึ ้น
2. ผู้นนได้ รับความเสียหายจาก
ั้

ความผิดฐานนัน
้
3. เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินย
ั
46
ได้ รับความเสียหายจากความผิดฐานนัน
้
 พิจารณาจาก การที่ผ้ ูนันเสื่อมสิทธิในทางแพ่ ง
้

จากการกระทําความผิดฐานนัน (แนวฎีกา)
้
 ความผิดเกี่ยวกับทรั พย์ เจ้ าของกรรมสิทธิ์
และผู้มีสิทธิครอบครอง เป็ นผู้เสียหายทังสอง
้
กรณี
 ความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค ผู้ทรงเช็คขณะ
ธนาคารปฏิเสธการจ่ ายเงิน
47
ความผิดต่ อรั ฐ เช่ นความผิดต่ อเจ้ า

พนักงาน โดยหลักไม่ มีผ้ ูเสียหายที่เป็ น
เอกชน แต่ ถ้าได้ รับความเสียหาย
พิเศษ เป็ นผู้เสียหายได้
ความผิดฐานแจ้ งความเท็จ
ความผิดฐานเบิกความเท็จ
48
ความผิดที่เอกชนไม่ใช่ผ้ เู สียหาย

ความผิดตามพระราชบัญญัติ

จราจร
ทางบก พ.ศ. 2522
ความผิดตามพระราชกําหนดการ
กู้ยืมเงินอันเป็ นการฉ้ อโกง
ประชาชน
49
ผู้เสียหายโดยนิตินย
ั

ศาลฎีกาสร้ างหลักนี ้ โดยอ้ างว่ า ผู้

ที่มาศาลต้ องมาด้ วยมือที่สะอาด
ถ้ าผู้เสียหายมีส่วนในการ ยอม
หรื อก่ อ หรื อมีเจตนาทุจริต ทําให้
มีการกระทําความผิด ศาลไม่ ถือว่ า
เป็ นผู้เสียหาย
50
ผู้มีอานาจจัดการแทนผู้เสียหาย

ม. 4 วรรคสอง

สามีจดการแทน
ั
ภริ ยาได้ ถ้ าได้ รับอนุญาตโดยชัด
แจ้ ง
วิธีการอนุญาตไม่กาหนดไว้ อาจ
ทาด้ วยวาจาก็ได้
51
มาตรา 5
ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล
จัดการแทน ผู้เยาว์ คนไร้
ความสามารถ
2. ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน สามีหรื อภริ ยา
ของผู้ท่ ถูกทําร้ ายถึงตายหรื อบาดเจ็บ
ี
จนไม่ สามารถจัดการเองได้
1.

52
ม. 5
3. ผู้จัดการ

หรื อผู้แทนอื่นของนิตบุคคล กรณีนิติ
ิ
บุคคลเป็ นผู้เสียหาย
กรณีตามมาตรา 5 (3) นีใช้ กับกรณีนิติ
้
บุคคลเป็ นผู้เสียหาย และผู้อ่ ืนกระทําผิดต่ อนิติ
บุคคล
ถ้ า ผู้จัดการทําผิดต่ อนิตบุคคล ไม่ อาจใช้ มาตรา
ิ
5 (3) แต่ ใช้ หลักมาตรา 2 (4) โดยผู้ถือหุ้น
ในบริษัทหรื อผู้เป็ นหุ้นส่ วนดําเนินคดีกับ
ผู้จัดการในฐานะผู้เสียหายแท้ จริง
53
ผู้มีอานาจจัดการแทนเพราะศาลตัง้ ม. 6
 กรณีเข้ าตามมาตรา

5 (1) แต่ ไม่ มีผ้ ูแทนโดยชอบ
ธรรม หรื อไม่ มีผ้ ูอนุบาล หรื อมีแต่ ทาหน้ าที่ไม่ ได้
ํ
หรื อมีผลประโยชน์ ขัดกัน (ตามแนวศาลฎีกา ไม่ ใช้
กับกรณี มาตรา 5 (2) แล้ วผู้ตายไม่ มีผ้ ูแทนโดย
ชอบธรรม)
 ญาติหรื อผู้มีประโยชน์ เกี่ยวข้ อง ร้ องขอให้ ตังตน
้
เป็ นผู้แทนเฉพาะคดี
 ศาลไต่ สวนแล้ ว เห็นสมควรตังผู้ร้องหรื อผู้อ่ ืนหรื อ
้
พนักงานปกครองเป็ นผู้แทนเฉพาะคดี
54
ผู้มีอานาจจัดการแทนกรณีอ่ ืน
ํ
 ประมวลกฎหมายอาญา ม. 333 วรรคสอง

 ผู้ตายถูกหมิ่นประมาทแล้ วตายก่ อนร้ อง

ทุกข์
 บิดา มารดา บุตร ของผู้ตาย ร้ องทุกข์ ได้
 และให้ ถือว่ าเป็ นผู้เสียหาย (จึงฟองคดีได้
้
ด้ วย)
55
 มาตรา 29 ผู้เสียหายที่แท้ จริ ง ฟองคดีแล้ วตาย
้

ระหว่ างพิจารณา
 ผู้บุพการี (ตามความเป็ นจริ ง) ผู้สืบสันดาน
(ตามความเป็ นจริง) สามีหรือภริยา (ตาม
กฎหมาย)ดําเนินคดีแทนได้
 ถ้ าบุคคลดังกล่ าวไม่ เข้ ามา ศาลต้ องสั่งตามรู ป
คดี
 หากสืบครบแล้ ว พิพากษาได้ แต่ ถ้าสืบไม่ ครบ
ยกฟอง เพราะโจทก์ สืบไม่ สม
้

56
 กรณีความผิดเกี่ยวกับทรั พย์

แต่ ผ้ ูเป็ นเจ้ าของตาย
ก่ อนร้ องทุกข์ หรื อฟองคดี ทายาทจะดําเนินคดีแทน
้
ได้ หรื อไม่

 คําร้ องทุกข์ ในคดีความผิดเกี่ยวกับทรั พย์

เป็ น
สิทธิท่ เกี่ยวกับทรัพย์ สิน ทายาทเข้ าดําเนินการ
ี
แทนได้ แต่ การฟองคดีไม่ ใช่ สิทธิท่ เกี่ยวกับ
้
ี
ทรัพย์ สินจึงไม่ สามารถฟองคดีได้
้
 ฎีกาที่ 11/2518 และ ฎ. 206/2488
57
ผ้ ูเสียหายหรื อผ้ ูมีอานาจจัดการแทน
ํ

มอบอํานาจให้ ดาเนินคดีแทน
ํ
ฎีกาที่ 890/2503 (ประชุมใหญ่ )
ขอบเขตที่ได้ รับ พิจารณาจากใบ
มอบอํานาจ ซึ่งต่ างจากผ้ ูมีอานาจ
ํ
จัดการแทนที่มีอานาจตามมาตรา 3
ํ

58
ข้ อพิจารณา
 เด็กอายุเท่ าใด จึงจะร้ องทุกข์ ได้

 อายุท่ โตพอเข้ าใจสาระของการกระทําของตน
ี

(แนวฎีกา วินิจฉัยว่ า ประมาณอายุ14 ปี ขึนไป)
้
 ร้ องทุกข์ ได้ เองไม่ ต้องขอความยินยอมจาก
ผู้แทนโดยชอบธรรม
 แต่ ถ้าฟองคดีทาไม่ ได้ เลย ขออนุญาตผู้แทน
้
ํ
โดยชอบธรรมก็ฟองเองไม่ ได้ (เพราะกฎหมาย
้
คุ้มครองผู้เยาว์ )
59
ผู้ถูกกล่ าวหา
 มี สองฐานะ

 ผู้ต้องหา –ผู้ ท่ ถูกกล่ าวหาต่ อเจ้ าหน้ าที่ว่า
ี

เป็ นผู้กระทําความผิด แต่ ยังไม่ ถูกฟอง
้
 จําเลย ผู้ท่ ถูกฟองว่ ากระทําผิดต่ อศาล
ี ้
 (กรณีราษฎรเป็ นโจทก์ ฟอง จะเป็ นจําเลย
้
ต่ อเมื่อศาลรับฟองหลังไต่ สวนมูลฟองมีมูล
้
้
แล้ ว
60
สิทธิ
 มีทนายความช่ วยเหลือ/ พบปรึ กษา

ทนายความ/มีทนายอยู่ด้วยในระหว่ าง
สอบสวนและพิจารณา
 มีส่วนร่ วมในการดําเนินคดี
 ไม่ ต้องถูกบังคับเพื่อให้ การในเรื่ องที่ถูก
กล่ าวหา
 ไม่ ถกจํากัดเสรี ภาพโดยไม่ จาเป็ น
ํ
ู
61
ต้ องมีความสามารถในการต่ อสู้คดีใน

ระหว่ างการดําเนินคดี จึงมีสิทธิ มีล่าม
ถ้ าวิกลจริ ตต้ องได้ รับการงดการดําเนินคดี
จนกว่ าจะหายจากวิกลจริต
มีสิทธิตรวจสอบพยานที่ปรั กปรําตนและ
แก้ ตวได้ หรือต่ อสู้คดีได้ เต็มที่
ั
62
อํานาจพนักงานสืบสวน
 มีหน้ าที่รักษาความสงบเรี ยบร้ อย และ

สืบสวนหาตัวผู้กระทําความผิดและรู้ว่า
ความผิดเกิดอย่ างไร
 ตํารวจ มีอานาจสืบสวนทั่วราชอาณาจักร
ํ
 พนักงานปกครอง มีอานาจสืบสวนเฉพาะ
ํ
เขตพืนที่ท่ คนรับผิดชอบและภายใน
้ ี
ขอบเขตที่กฎหมายกําหนด
63
ความผิดเกิดในราชอาณาจักรหรื อให้ ถือว่ าในฯ
 คือความผิดตาม ปอ. ม. 4 วรรคแรก และ

ม. 4 วรรคสอง ม.5 ม.6
 ถ้ าความผิดเกิดท้ องที่เดียว ใช้ ม. 18 (1)
(2) กทม. นอก กทม.
 ความผิดเกิดเกี่ยวพันกัน ใช้ ม. 19 ทุก
ท้ องที่ท่ เกี่ยวพัน มีสิทธิสอบสวน
ี
64
อํานาจสอบสวน
ต้ องเป็ นพนักงานสอบสวนตามที่

กฎหมายกําหนด
กฎหมายที่กาหนดคือ ม. 18 ม. 19
ํ
และ ม. 20
กําหนดยศ หรื อระดับ และ กําหนด
พืนที่
้
65
พิจารณาพนักงานสอบสวน
ถ้ าเป็ นตํารวจ

ยศ ร.ต.ต. ขึนไป
้
ถ้ าเป็ นปกครอง ระดับสาม ขึนไป
้
ข้ อสังเกต รมต. นายกฯ ไม่ อาจเป็ น
พนักงานสอบสวนได้
66
ความผิดนอกราชอาณาจักร ปอ.ม.7,8,9
 อัยการสูงสุดหรื อผู้รักษาการแทน
 พนักงานสอบสวนที่จับผู้ต้องหาหรื อพบการ

กระทําความผิดระหว่ างรอคําสั่ง มีอานาจ
ํ
สอบสวน
 พนักงานอัยการและพนักงานสอบสวนที่
อัยการสูงสุดมอบหมาย ให้ รับผิดชอบร่ วมกัน
 พนักงานอัยการหรื อพนักงานสอบสวนที่ได้ รับ
มอบหมายจากอัยการสูงสุดให้ รับผิดชอบใน
การสอบสวนคดีนัน
้
67
อัยการมีอานาจสอบสวนร่วมกับตารวจในคดี ม.
155/1, 133 ทวิ
 คดีท่ เด็กอายุไม่ เกินสิบแปดปี
ี

เป็ นพยาน ผู้เสียหาย
และผู้ต้องหา ตามมาตรา 133 ทวิ
 คดีท่ มีการตายเกิดขึนจากการกระทําของเจ้ า
ี
้
พนักงานซึ่งอ้ างว่ าปฏิบัตราชการตามหน้ าที่ หรือ
ิ
ตายในระหว่ างการควบคุมซึ่งอ้ างว่ าปฏิบัตราชการ
ิ
ตามหน้ าที่ หรื อผู้ตายถูกกล่ าวหาว่ าต่ อสู้ขัดขวางเจ้ า
พนักงานซึ่งอ้ างว่ าปฏิบัตราชการตามหน้ าที่
ิ

68
พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
 นอกราชอาณาจักร

- อัยการสูงสุดหรือ
พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการที่
ได้ รับมอบหมายหรือได้ รับมอบหมายให้
ร่ วมสอบสวนกับพนักงานสอบสวน
ผู้รับผิดชอบจากอัยการสูงสุด
 ในราชอาณาจักร – หัวหน้ าพนักงาน
สอบสวน + ท้ องที่ความผิดเกิด
 ยกเว้ น ความจําเป็ นหรื อสะดวก คือ ท้ องที่
ผู้ต้องหามีท่ อยู่หรือถูกจับ
ี
69
ในราชอาณาจักร

-หัวหน้ าพนักงาน
สอบสวน +ท้ องที่เกี่ยวพันกัน+ท้ องที่
จับได้ ก่อน
ถ้ าจับยังไม่ ได้ แต่ พบก่ อนจับได้ คือ
หัวหน้ าพนักงานสอบสวน +ท้ องที่
เกี่ยวพันกัน+ท้ องที่พบก่ อนได้
70
ถ้ ามีข้อโต้ แย้ งในเรื่ องใครรับผิดชอบ
 ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งระหว่ างเขตในจังหวัด

เดียวกัน
 กทม. ส่ ง ผู้บัญชาการตํารวจแห่ งชาติ ชี ้
ขาด
 นอกกทม. ส่ งผู้ว่าราชการจังหวัด ชีขาด
้
 ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งระหว่ างเขตในระหว่ าง
จังหวัด ส่ ง อัยการสูงสุด ชีขาด
้
71
เขตศาล
 ในราชอาณาจักร

 เขต ความผิดเกิด เชื่อ อ้ าง จําเลยมีท่ อยู่
ี

จําเลยถูกจับ
 เขตที่การสอบสวนกระทําในเขตศาล
 นอกราชอาณาจักร
 ศาลอาญา ศาลที่การสอบสวนกระทําใน
เขต
72
เขตเกี่ยวพัน

หลัก

ศาลที่มีอานาจพิจารณาคดี
ที่มีโทษสูง
ถ้ าโทษสูงเท่ากัน ถือ ศาลที่รับ
ฟองไว้ ก่อน
้
73
ศาลที่รับคดีเกี่ยวพันกันไว้
จะพิจารณาและพิพากษาคดีท่ ฟอง
ี้

รวมกันไว้ ก็ได้ หรือ
ถ้ าเห็นสมควร อาจสั่งให้ แยกความผิด
ฐานใดฐานหนึ่งเพื่อไปฟองที่ศาลที่มี
้
อํานาจตามปกติได้ แต่ ต้องตกลงกับ
ศาลนันก่ อน
้
74
โอนคดี
 กรณีธรรมดา ม. 23

กรณีพเศษ ม. 26
ิ
 ม. 23 ศาลที่ความผิดไม่ ได้ เกิด ไปยังศาลที่
ความผิดเกิด
 คู่ความขอโอนได้
 ศาลที่ความผิดเกิด โอนไปยังศาลที่ความผิด
มิได้ เกิด โจทก์ ขอได้ จําเลยไม่ มีสิทธิ และโจทก์
ต้ องอ้ างสะดวก
75
 การโอนในกรณีพเศษ
ิ

ลักษณะความผิด จํานวนจําเลย ความรู้ สึก

ของประชาชน หรือเหตุผลอย่ างอื่น
ทําให้ อาจมีการขัดขวางการไต่ สวนหรื อ
พิจารณา หรือน่ ากลัวว่ าจะเกิดความไม่ สงบ
หรือเหตุร้าย

76
โจทก์ หรื อจําเลย ยื่นคําร้ องต่ อ

ประธานศาลฎีกา
ขอให้ โอนคดีไปศาลอื่น
ประธานศาลฎีกา อนุญาต ให้ โอนไป
ศาลใดก็ได้ ตามที่เห็นสมควร
คําสั่งเป็ นเด็ดขาด
77
การตังรั งเกียจผู้พพากษา
้
ิ
 ใช้ หลัก วิ.แพ่ ง ม. 11

 นอกจากนี ้ ยังมีการตังรั งเกียจ นักจิตวิทยา
้

หรือนักสังคมสงเคราะห์ พนักงานอัยการ
ในกรณีเด็กอายุไม่ เกินสิบแปดปี จะให้
ถ้ อยคําด้ วย ตามมาตรา 133 ทวิ ซึ่งมีเหตุ
ต้ องการคุ้มครองเด็ก ไม่ ใช่ เพราะมี
ผลกระทบต่ อความเป็ นกลาง

78
การฟองคดีอาญา
้
วิธีการฟอง
้
ยื่นฟองโดยทําคําฟอง ต่ อศาล
้
้
ยื่นคําร้ องขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์

เมื่อมีการฟองของอัยการหรื อ
้
ผู้เสียหายแล้ ว
79
 พนักงานอัยการฟอง ต้ องมีการสอบสวนโดย
้

ชอบด้ วยกฎหมายก่ อน และต้ องมีตวผู้ต้องหา
ั
มาศาลพร้ อมกับคําฟอง แต่ เมื่อยื่นฟองแล้ ว
้
้
ศาลประทับฟองได้ โดยไม่ ต้องไต่ สวนมูลฟอง
้
้
ก่ อน
 ผู้เสียหายฟอง ไม่ ต้องมีการสอบสวน ไม่ ต้องมี
้
ตัวผู้ต้องหามาพร้ อมฟอง แต่ ต้องไต่ สวนมูล
้
ฟองก่ อน จึงจะประทับฟอง และเมื่อคดีมีมูล
้
้
สั่งประทับฟองแล้ วจึงเรียกจําเลยมา
้

80
เปรี ยบเทียบ

การขอเข้ าเป็ นโจทก์ ร่วม ต้ องทํา

เป็ นคําร้ อง
ก่ อนศาลชันต้ นพิพากษา / ก่ อน
้
คดีเสร็จเด็ดขาด
ทุกคดี / คดีท่ ไม่ ใช่ ความผิดต่ อ
ี
ส่ วนตัว

81
การขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์
มีได้ สองกรณี
ผู้เสียหายขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ กับ

พนักงานอัยการ
กับพนักงานอัยการขอเข้ าร่ วมเป็ น
โจทก์ กับผู้เสียหาย
82
ผลของการเป็ นโจทก์ ร่วม
 มีสิทธิเช่ นเดียวกับโจทก์ เดิม / สืบพยาน /

ซักค้ านพยานฝ่ ายจําเลย / อุทธรณ์ / ฎีกา
 ไม่ มีสิทธิแก้ ไขเพิ่มเติมฟอง
้
 ไม่ มีสิทธิถอนฟอง แต่ มีสิทธิถอนคําร้ องขอ
้
เข้ าร่ วมเป็ นโจทก์
 ถ้ าผู้เสียหายทําให้ คดีเสียหาย อัยการขอ
ศาลให้ ส่ ังระงับได้
83
ถอนฟองคดีอาญา
้
 หลักเกณฑ์ อยู่ใน ม. 35 ผลของการถอนฟอง
้

อยู่ใน ม. 36 และ 39 (2) ประกอบด้ วย
 ต้ องยื่นเป็ นคําร้ องขอถอนฟอง
้
 ก่ อนศาลชันต้ นมีคาพิพากษา/ ก่ อนคดีถงที่สุด
้
ํ
ึ
(คดีส่วนตัว)
 ศาลอนุญาตให้ ถอนฟอง จึงจะถือว่ าเป็ นการ
้
ถอนฟอง
้
84
หลักเกณฑ์ที่ศาลพิจารณาคาร้ องขอถอนฟอง
้
 โดยหลักเป็ นดุลพินิจที่จะอนุญาตให้ ถอน

หรือไม่ ก็ได้
 ก่ อนพิจารณาอนุญาตมีวิธีการที่ต้องปฏิบัติ
ดังนี ้
 หากโจทก์ ย่ นขอถอนหลังจากจําเลยยื่น
ื
คําให้ การ (มิใช่ น่ ิง) ต้ องถามจําเลยว่ าจะ
คัดค้ านหรือไม่ แต่ ถ้ายื่นก่ อนคําให้ การไม่ ต้อง
ถามก็ได้
85
 หากจําเลยคัดค้ านการถอนฟอง ศาลต้ องสั่งยก
้

คําร้ อง (ไม่ อนุญาตให้ ถอน)
 ถ้ าจําเลยไม่ ค้าน ศาลมีดุลพินิจที่จะให้ ถอน
หรือไม่ ก็ได้ (ยกเว้ นมีเหตุระงับคดีเพราะยอม
ความในความผิดต่ อส่ วนตัวแล้ วมาถอน)
 การถอนฟองมีผลเมื่อศาลสั่งอนุญาตให้ ถอน
้
ฟอง
้
86
ผลของการถอนฟอง
้
 หลัก ถอนฟองแล้ ว ห้ ามนําคําฟองมาฟองจําเลย
้
้
้

ใหม่ อีก ยกเว้ น
 ในคดีความผิดต่ อแผ่ นดิน พนักงานอัยการถอนฟอง
้
ไม่ตดสิทธิผ้ เู สียหาย ในทางตรงกันข้ าม ผู้เสียหายถอน
ั
ฟองไม่ตดสิทธิพนักงานอัยการที่จะฟองใหม่
้
ั
้
(การถอนไม่ตดสิทธิโจทก์อีกประเภทหนึง)
ั
่
87
 ในคดีความผิดต่ อส่ วนตัว (ผู้เสียหายตัดสิทธิ

อัยการ)พนักงานอัยการฟอง แล้ วถอนฟอง ถ้ า
้
้
ได้ รับความยินยอมเป็ นหนังสือจากผู้เสียหาย
ผู้เสียหายฟองอีกไม่ ได้ แต่ ถ้าไม่ ได้ รับความ
้
ยินยอมเป็ นหนังสือ ไม่ ตดสิทธิผ้ ูเสียหาย
ั
 ผู้เสียหายถอนฟองคดีความผิดต่ อส่ วนตัว ตัด
้
สิทธิพนักงานอัยการที่จะฟองคดีนัน เพราะ
้
้
สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ ตามม. 39 (2)
้
88
ข้ อพิจารณา
การถอนฟอง ในชันไต่ สวนมูลฟองในคดีท่ ราษฎร
้
้
้
ี
เป็ นโจทก์ ซึ่งศาลยังไม่ ส่ ังประทับฟองนัน จะถือ
้
้
เป็ นการถอนฟองหรื อไม่
้
2. การถอนฟองที่ยังติดใจดําเนินคดี เช่ น ถอนฟอง
้
้
เพราะต้ องการไปขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ ร่วมกับ
พนักงานอัยการนัน จะมีผลเป็ นการห้ ามมิให้ ฟอง
้
้
ใหม่ ตาม มาตรา 36 หรื อไม่
1.

89
3. ผู้เสียหายหลายคน คนหนึ่งฟองแล้ วถอนฟองไป
้
้

ดังนี ้ ผู้เสียหายอีกคนหนึ่งจะมาฟองอีกได้ หรือไม่
้
4. ในกรณีท่ พนักงานอัยการถอนฟอง พนักงาน
ี
้
อัยการต้ องดําเนินการตาม ม. 145 หรือไม่
5. ผู้เสียหายขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ กับพนักงานอัยการ
ผู้เสียหายจะถอนฟองของพนักงานอัยการได้
้
หรือไม่
หรือถอนคําร้ องขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ ได้ หรือไม่

90
ถอนคําร้ องทุกข์
 ถอนต่ อใคร

 ต่ อพนักงานสอบสวนหรื อพนักงานฝ่ าย

ปกครองหรือตํารวจที่รับคําร้ องทุกข์
ม.123, 124

ต่ อศาล ถ้ าคดีอยู่ในศาลแล้ ว (แต่ ไม่

บังคับว่ าจะต้ องถอนที่ศาล ผู้ร้องทุกข์
อาจขอถอนต่ อพนักงานสอบสวนก็ได้
91
ถอนได้ จนถึงเมื่อใด
 ถอนได้ ในระยะใดก็ได้ ตาม ม. 126

92
 ผลของการถอนคําร้ องทุกข์

คดีความผิดต่ อส่ วนตัว สิทธินําคดีอาญา

มาฟองระงับ ม. 39 (2)
้
คดีอาญาแผ่ นดิน คดีอาญาไม่ ระงับ และ
ไม่ ตัดสิทธิพนักงานสอบสวนที่จะ
สอบสวนต่ อไปและพนักงานอัยการที่จะ
ฟองคดี ม. 126
้
93
การยอมความในความผิดต่อส่วนตัว
 การยอมความในคดีอาญาไม่ มีแบบที่ต้องทํา

เป็ นหนังสือ (ต่ างจากคดีแพ่ ง) ดังนัน การยอม
้
ความที่กระทําด้ วยวาจา ย่ อมมีผลเป็ นการยอม
ความ
 การยอมความในคดีอาญากระทําได้ ก่อนคดีถง
ึ
ที่สุด ม. 35
 การยอมความมีผลทันทีเมื่อยอมความโดย
ถูกต้ อง
94
 ผลของการยอมความในคดีความผิดต่ อส่ วนตัว

คือ สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ ตาม ม. 39
้
(2) ศาลจําหน่ ายคดี / อัยการสั่งไม่ ฟอง
้
 ถ้ ากําหนดเงื่อนไขบังคับก่ อนจึงจะถือว่ าเป็ น
การยอมความ หากเงื่อนไขไม่ สาเร็จไม่ เป็ นการ
ํ
ยอมความ เช่ น ยอมความต่ อเมื่อได้ รับชําระ
หนีแล้ ว เป็ นต้ น
้
 การยอมความทางอาญากับทางแพ่ งแยกกัน
95
สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ ม. 39
้
1.

2.

3.
4.

โดยความตายของผู้กระทําความผิด
ในคดีความผิดต่ อส่ วนตัวเมื่อมีการถอน
คําร้ องทุกข์ ถอนฟอง หรือยอมความโดย
้
ชอบด้ วยกฎหมาย
คดีอาญาเลิกกัน ตาม ม. 37
เมื่อศาลมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดใน
ํ
ความผิดซึ่งได้ ฟอง
้
96
5. มีกฎหมายยกเว้ นความผิด

6. คดีขาดอายุความ
7. มีกฎหมายยกเว้ นโทษ
กรณี 1 และ 2 ศาลจําหน่ ายคดี
ส่ วนที่เหลือศาลยกฟอง
้
97
ผู้กระทาความผิดตาย
 กรณีบุคคลธรรมดา ตายเพราะสินชีวต แต่ ถ้าเป็ น
้ ิ

นิตบุคคล ต้ องถูกเพิกถอน
ิ
 ตายหลังกระทําความผิด แต่ ยังไม่ ถูกศาลตัดสิน
ลงโทษ
 ถ้ าตายถ้ าหลังศาลมีคาพิพากษาลงโทษ ต้ องใช้ ม.
ํ
38 ของป.อาญา โทษเป็ นอันระงับไปด้ วยความ
ตายของผู้กระทําความผิด
 ผู้จะถูกจับต่ อสู้เจ้ าพนักงานแล้ วถูกยิงตาย ใช้ หลัก
อะไร
98
คดีอาญาเลิกกัน
 กรณีแรก

ตาม ม. 37 (1) ผู้ต้องหายอมชําระ
ค่ าปรับอย่ างสูงตามที่กฎหมายกําหนดสําหรับ
ความผิดนัน (ในคดีท่ มีโทษปรับสถานเดียว)
้
ี
 กรณีท่ สอง ตาม ม. 37 (2) เมื่อผู้ต้องหายอม
ี
ชําระค่ าปรับตามที่เจ้ าพนักงานเปรียบเทียบ
ปรับกําหนดภายในเวลาที่เจ้ าพนักงานกําหนด
แต่ ต้องไม่ เกินสิบห้ าวันนับแต่ วันเปรียบเทียบ
99
กระบวนการเปรี ยบเทียบปรั บ

1. คดีท่ เปรียบเทียบได้ คดีท่ มีอัตรา
ี
ี
โทษจําคุกไม่ เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่
เกินหนึ่งพันบาท หรือทังจําทังปรับ
้
้
คดีท่ โทษปรับสถานเดียวแต่ ไม่ เกินหนึ่ง
ี
หมื่นบาท หรือคดีท่ มีกฎหมายพิเศษ
ี
ให้ เปรียบเทียบปรับได้
100
2. ผู้มีอานาจเปรียบเทียบ ได้ แก่ พนักงาน
ํ
สอบสวน หรือพนักงานเจ้ าหน้ าที่ท่ กฎหมาย
ี
พิเศษได้ กาหนดให้ มีอานาจเปรียบ หรือ
ํ
ํ
คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับในกฎหมาย
พิเศษ
ข้ อสังเกต การเปรียบเทียบคดีอาญากับการ
ปรับทางปกครองมีแนวคิดเดียวกันแต่ มี
ขันตอนต่ างกัน
้

101
ขันตอนการเปรี ยบเทียบ
้
1.

2.
3.

4.
5.

พนักงานสอบสวนเห็นควรไม่ ต้องรับโทษจําคุก
ผู้เสียหายและผู้ต้องหายินยอมให้ เปรียบเทียบ
พนักงานสอบสวนกําหนดค่ าปรับโดยเทียบกับ
ความร้ ายแรงของความผิด และกําหนดวันชําระ
ค่ าปรับแต่ ต้องไม่ เกินสิบห้ าวัน
ผู้ต้องหานําเงินค่ าปรับมาชําระตามกําหนด
ถ้ าไม่ นํามาชําระ ดําเนินการต่ อไป (สอบสวนต่ อ)
102
พนักงานสอบสวนกาหนดค่าทดแทนให้ ผ้ เู สียหาย
การกําหนดค่ าทดแทน คือ ค่ าเสียหายในทางแพ่ งที่
ผู้เสียหายควรได้ รับ จากการกระทําผิดที่ถูกเปรียบเทียบ
 พนักงานสอบสวนกําหนดค่ าทดแทนให้ ได้ ตามที่
เห็นสมควร
 เมื่อผู้ต้องหาชําระค่ าทดแทนให้ ผ้ ูเสียหายแล้ ว คดีแพ่ งก็
ระงับไป
 การชําระค่ าทดแทนไม่ เกี่ยวกับการระงับคดีทางอาญา แม้
ไม่ ชาระค่ าทดแทนแต่ ชาระค่ าปรับคดีอาญาระงับ
ํ
ํ


103
 คดีอาญาเลิกกัน มีอยู่ในกฎหมายอื่นด้ วย ซึ่งอาจเป็ น

การเปรี ยบเทียบโดยคณะกรรมการเปรี ยบเทียบ และคดี
อาจมีโทษจําคุกเกินหนึ่งเดือน หรื อปรั บเกินกว่ าหนึ่ง
หมื่นบาท
 พ.ร.บ.ว่ าด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค พ.ศ. 2534
คดีระงับเพราะการใช้ เงินตามเช็คครบ ไม่ ใช่ การชําระ
ค่ าปรั บตามที่เปรี ยบเทียบ
 เมื่อเปรี ยบเทียบแล้ ว หากเป็ นคดีท่ ไม่ อาจเปรี ยบเทียบ
ี
ได้ ต้ องดําเนินคดีต่อไป และคืนเงินค่ าปรั บ

104
ฟองซ ้า
้
 ม. 39 เมื่อมีคาพิพากษาเสร็ จเด็ดขาดใน
ํ

ความผิดซึ่งได้ ฟอง
้
 เป็ นแนวคิดจากหลักสิทธิมนุษยชน ที่ว่า
ผู้กระทําความผิดครั งเดียวจะไม่ ต้องเดือดร้ อน
้
ซําสอง ne bis in idem
้
 หลักนีมีปรากฏในกรณีศาลมีคาพิพากษา
้
ํ
แล้ วแต่ กมีหลักในการสอบสวนด้ วย ม. 147
็
105
องค์ประกอบของการฟองซ ้า
้

. จาเลยคนเดียวกัน
2. การกระทากรรมเดียวกัน
3. ศาลมีคาพิพากษาเสร็ จ
เด็ดขาดในความผิดที่ได้ ฟอง
้
1

106
 จาเลยคนเดียวกัน หมายถึง จาเลยทังคดีแรกและคดีที่
้

สองเป็ นคนเดียวกัน ดังนันถ้ าเป็ นจาเลยคนละคน ไม่
้
เข้ ากรณีนี ้
 ดังนันหากฟองผิดตัว ต่อมาจับจาเลยตัวจริ งได้ ก็
้
้
สามารถฟ้ องจาเลยคนที่กระทาผิดจริ งได้ อีก
 โจทก์จะเป็ นคนเดียวกัน หรื อคนละคนก็ได้ ไม่สาคัญ
 กรรมเดียวกัน หมายถึง การกระทาที่นามาฟองนัน เป็ น
้ ้
การกระทาเดียวกับที่ฟองในคาฟองแรก แม้ ว่าฐาน
้
้
ความผิดจะเป็ นคนละฐานก็ตาม
107
 คําพิพากษาเสร็ จเด็ดขาด หมายความว่ า ศาล

ได้ มีคาพิพากษาชีขาดว่ าจําเลยกระทําความผิด
ํ
้
หรือไม่
 แต่ แนวของศาลฎีกาคําพิพากษาดังกล่ าวไม่
จําต้ องถึงที่สุด (ซึ่งต่ างจากคดีแพ่ ง ต้ องถึง
ที่สุด) ดังนัน ศาลชันต้ นมีคาพิพากษาก็ถือว่ า
้
้
ํ
เด็ดขาด

108
กรณีใดที่ถือว่าศาลพิพากษาเสร็จเด็ดขาด

หลัก พิจารณาว่า ศาลได้ วินิจฉัยใน

เนือหาของการกระทําจาเลยหรื อไม่
้
ถ้ าไม่ได้ วินิจฉัย ก็ไม่ถือว่าเด็ดขาดใน
ความผิด
เช่น ลงโทษจาเลย ถือว่าวินิจฉัยแล้ ว
ว่าจาเลยกระทาผิด
109
ยกฟองเพราะจําเลยมีเหตุยกเว้ นโทษ
้

แสดงว่ า จําเลยกระทําผิดแต่ มีเหตุยกเว้ น
โทษ
ยกฟองเพราะจําเลยมีเหตุยกเว้ นความผิด
้
แสดงว่ าจําเลยผิดแต่ การกระทําไม่ ผิด

110
 ยกฟองเพราะคดีไม่ มีมูลในชันไต่ สวนมูลฟอง
้
้
้
 ยกฟองเพราะโจทก์ บรรยายฟองขัดกัน
้
้

 ยกฟองเพราะโจทก์ ไม่ ระบุวัน เวลา สถานที่ใน
้

การกระทําความผิด
 ยกฟองเพราะโจทก์ พสูจน์ ให้ ศาลเชื่อไม่ ได้ ว่า
้
ิ
จําเลยกระทําความผิด

111
ปั ญหา
 ยกฟอง เพราะคดีโจทก์ ขาดอายุความร้ อง
้

ทุกข์ ในคดีความผิดต่ อส่ วนตัว
 ยกฟองเพราะคดีโจทก์ ขาดอายุความ
้
ฟองร้ อง
้
 ยกฟองเพราะโจทก์ ขาดนัดพิจารณา
้
 ยกฟองเพราะโจทก์ บรรยายฟองว่ าจําเลย
้
้
กระทําความผิดหลังฟอง
้

112
ยกฟองเพราะโจทก์ ฟองผิดศาล
้
้
ยกฟองเพราะโจทก์ ไม่ ได้ ลงชื่อใน
้

ฟอง หรื อฟองโจทก์ ไม่ มีผ้ ูเรี ยง หรื อผ้ ู
้
้
พิมพ์ ฟอง
้
ยกฟองเพราะโจทก์ ไม่ แก้ ไขคําฟอง
้
้
113
ฟองซ้ อน
้

จาเลยคนเดียวกัน การกระทา

กรรมเดียวกัน โจทก์คนเดียวกัน
ฟองขณะที่ยงมีการดาเนินคดีเดิม
้
ั
อยู่
114
ขอบเขตของฟองซ้ อนที่จะนามาใช้ กบคดีอาญา
้
ั
 อัยการฟอง ผู้เสียหายฟอง ไม่เป็ นฟองซ้ อน
้
้
้

 อัยการจังหวัดหนึงฟอง
่ ้

อัยการอีกจังหวัดหนึงฟอง
่ ้
ในการกระทากรรมเดียวกัน จาเลยคนเดียวกันเป็ น
ฟองซ้ อน
้
 ผู้เสียหายแท้ จริ งฟองแล้ ว ผู้มีอานาจจัดการแทน
้
ผู้เสียหายที่แท้ จริ งฟอง เป็ นฟองซ้ อน
้
้
 ผู้เสียหายหลายคน คนหนึงฟอง อีกคนหนึ่งฟอง ไม่
่ ้
้
เป็ นฟองซ้ อน
้
115
กฎหมายยกเลิกความผิด กฎหมายยกเว้ นโทษ
 กฎหมายยกเลิกความผิด หมายถึง มีกฎหมาย

ออกมาภายหลังกาหนดว่าการกระทานันไม่
้
เป็ นความผิด
 กฎหมายยกเว้ นโทษ หมายถึง มีกฎหมาย
ออกมายกเว้ นโทษสาหรับการกระทานัน
้
 กฎหมายนิรโทษกรรม เป็ นกฎหมายที่ยกเว้ น
การกระทาของกลุมคนไม่ให้ เป็ นความผิด
่

116
คดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

1. ความหมาย
2. กระบวนพิจารณาที่พิเศษกว่าคดี

แพ่งโดยทัวไป
่
3. อัยการขอทรัพย์คืนหรื อราคา
แทนผู้เสียหาย

117
4. ผ้ ูเสียหายขอค่ าเสียหายในคดีอัยการ

5. คําพิพากษาคดีอาญา ผูกพันศาลคดี
แพ่ ง
6. อายุความฟองคดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องกับ
้
คดีอาญา
118
 ความหมาย หมายถึง คดีแพ่ งที่มีมูลมาจากการ

กระทําความผิดอาญา
 เช่ น ทําร้ ายร่ างกาย ทําให้ ผ้ ูเสียหายได้ รับ
บาดเจ็บ การที่ผ้ ูเสียหายได้ รับบาดเจ็บมีมูลมา
จากการกระทําผิดฐานทําร้ ายร่ างกาย
 กระทําโดยประมาททําให้ ผ้ ูอ่ ืนถึงแก่ ความตาย
การที่ทายาทมีสิทธิฟองเรียกร้ องค่ าสินไหม
้
ทดแทนเกิดมาจากการกระทําโดยประมาททาง
อาญา

119
กรณีที่ไม่มีมลมาจากการกระทาผิด
ู
 การฟองคดีแพ่ งเพื่อเรี ยกเงินตามเช็ค
้

เป็ นคนละ
กรณีกับการฟองคดีอาญาฐานออกเช็คไม่ มีเงิน
้
 ฟองคดีแรงงาน ที่นายจ้ างเลิกจ้ างไม่ เป็ นธรรม
้
เพราะไม่ บอกกล่ าวล่ วงหน้ า แต่ จาเลยให้ การว่ า
ํ
โจกท์ ทุจริตต่ อหน้ าที่จงเลิกจ้ าง การทุจริตต่ อ
ึ
หน้ าที่ไม่ ได้ เป็ นเหตุให้ ก่อให้ เกิดสิทธิท่ จะไม่ จ่าย
ี
ค่ าจ้ าง จึงไม่ เกี่ยวเนื่องกัน (ฎ. 5285/2545)
120
กระบวนการพิจารณาที่พเศษกว่ าคดีแพ่ งโดยทั่วไป
ิ
 ฟองคดีแพ่ งในศาลส่ วนอาญาได้
้

 พนักงานอัยการร้ องขอทรั พย์ คืนให้ แก่

ผู้เสียหายได้ ม. 43
 ผู้เสียหายขอค่ าเสียหายเข้ ามาในคําฟอง
้
คดีอาญาของพนักงานอัยการได้ ม. 44/1
– 44/2
121
ข้ อเท็จจริ งในคดีอาญาผูกพันคดีแพ่ ง

อายุความฟองคดีอาญานํามาเป็ นอายุ
้

ความฟองคดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องคดีอาญาใน
้
กรณีท่ ฟองจําเลยในคดีอาญาให้ รับผิด
ี้
ค่ าเสียหาย

122
ข้ อที่เหมือนกับคดีแพ่งโดยทัวไป
่
 การพิจารณาคดีใช้ วิธีพิจารณาความแพ่ง

 พยานหลักฐานในคดีแพ่งสืบเพิ่มได้ หาก

ข้ อเท็จจริงที่นาสืบในคดีอาญามีไม่เพียงพอ
 สาระบัญญัติในส่วนแพ่งถือตาม ป.พ.พ. แม้
จาเลยไม่ต้องรับผิดทางอาญา

123
การฟองคดี
้
 ฟองคดีแพ่ งตามเขตอํานาจศาลตาม ป.วิ.แพ่ ง
้

 ฟองคดีแพ่ งในศาลซึ่งพิจารณาคดีส่วนอาญา
้
 ศาลอาญาซึ่งรั บฟองคดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องเมื่อรั บ
้

ฟองแล้ วหากเห็นว่ าการดําเนินคดีแพ่ งจะทํา
้
ให้ คดีอาญาเนิ่นช้ าติดขัด ก็ส่ ังให้ ให้ แยกไป
ฟองต่ างหากได้
้
124
 ถ้ าพยานหลักฐานในคดีอาญาที่นําสืบแล้ วไม่

พอที่จะตัดสินคดีแพ่ ง ศาลมีอานาจสืบพยาน
ํ
เพิ่มเติมได้
 กรณีสืบเพิ่มเติม ศาลมีอานาจพิพากษาคดีอาญา
ํ
ก่ อนได้
 การวินิจฉัยความรั บผิดทางแพ่ งให้ ถือตาม ความรั บ
ผิดของบุคคลทางแพ่ ง การวินิจฉัยความรั บผิดทาง
อาญา ถือตาม ความรั บผิดของบุคคลทางอาญา
125
อัยการขอคืนทรัพย์
 คดี 9 คดี คือ ลัก วิ่ง ชิง ปล้ น โจรสลัด

กรรโชก ฉ้ อโกง ยักยอก รับของโจร
 พนักงานอัยการฟองคดีอาญาแล้ ว มีสิทธิ
้
เรียกทรัพย์ สินหรือราคาที่ผ้ ูเสียหาย
สูญเสียไปเนื่องจากการกระทําความผิดคืน
 ขอมาในคําฟองส่ วนอาญาหรื อเป็ นคําร้ อง
้
ภายหลังได้
126
คําพิพากษาให้ คืนหรื อใช้ ราคาทรั พย์ สิน

ตามมาตรา 43 ให้ ศาลพิพากษารวมเป็ น
ส่ วนหนึ่งของคําพิพากษา
เมื่อศาลพิพากษาให้ คืนแล้ ว ผู้เสียหายเป็ น
เจ้ าหนีตามคําพิพากษา มีสิทธิขอหมาย
้
บังคับคดี

127
เจ้ าพนักงานยักยอก ม. 147
เจ้ าพนักงานกรรโชก ม. 148, 149

โกงเจ้ าหนี ้ ฉ้ อโกงแรงงาน

128
ค่ าไถ่ ทรั พย์ กรณีทรั พย์ ถูกลักและไปขาย

ให้ แก่ ผ้ ูท่ รับซือไว้
ี ้
ค่ าไถ่ ทรั พย์ กรณีเจ้ าของโรงรั บจํานํารั บ
จํานําไว้ โดยสุจริตและราคาไม่ เกินที่
กฎหมายกําหนด
ศาลสั่งให้ จาเลยไถ่ ทรั พย์ ท่ จานําไว้ เพื่อมา
ํ
ี ํ
ให้ โจทก์
129
หนังสือสัญญากู้ท่ ลูกหนีก้ ูเจ้ าหนีไป
ี
้
้

จํานวน 50,000 บาท
ตั๋วจํานํา ซึ่งจํานําไปเป็ นเงิน 2,000
บาท
สลากกินแบ่ งรั ฐบาลที่ถูกรางวัลที่ 2
แต่ ถูกลักไป และนําไปขึนเงินแล้ ว
้
130
กรณี ผู้เสียหายเรี ยกค่ าสินไหมทดแทนใน

คําฟองส่ วนอาญา
้
เป็ นกรณีท่ ผ้ ูเสียหายมีสิทธิเรี ยกค่ าทดแทน
ี
เพราะเหตุท่ ได้ รับความเสียหายแก่ ชีวิต
ี
ร่ างกาย จิตใจหรือได้ รับความเสื่อมเสีย
เสรีภาพในร่ างกาย ชื่อเสียง หรือความ
เสียหายทางทรัพย์ สิน
131
 ยื่นคําร้ องต่ อศาลในคดีท่ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์
ี

ก่ อนเริ่มสืบพยาน หรือก่ อนศาลวินิจฉัยชีขาด
้
 คําร้ องต้ องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับความ
เสียหายและจํานวนค่ าสินไหมทดแทน
 คําร้ องที่ขอกรณีอ่ นที่ไม่ ใช่ ค่าเสียหายไม่ ได้ และ
ื
ต้ องไม่ ขัดหรือแย้ งกับคําฟองของพนักงานอัยการ
้
และหากอัยการขอตาม ม. 43 แล้ วขออีกไม่ ได้

132
 เมื่อได้ รับคําร้ องแล้ ว ให้ ศาลแจ้ งให้ จาเลย
ํ

ทราบ
 จําเลยมีสิทธิให้ การหรื อไม่ ให้ การก็ได้ และให้
ศาลบันทึกไว้
 ถ้ าจําเลยประสงค์ จะให้ การ ให้ ศาล
กําหนดเวลาที่จาเลยยื่นคําให้ การภายในเวลา
ํ
อันสมควร

133
 เมื่อพนักงานอัยการสืบพยานเสร็ จ ผู้เสียหาย

นําพยานเข้ าสืบถึงค่ าสินไหมทดแทนเท่ าที่
จําเป็ นตามที่ศาลอนุญาต
 หรื อศาลอาจพิพากษาคดีอาญาไปก่ อนแล้ วจึง
พิจารณาพิพากษาคดีส่วนแพ่ งก็ได้
 หากผู้เสียหายไม่ มีทนายความเพราะยากจน
ให้ ศาลจัดหาให้ และให้ ทนายได้ เงินรางวัลและ
ค่ าใช่ จ่าย ตามระเบียบ
134
คําพิพากษาในส่ วนการคืนทรั พย์ สินและ
ค่ าเสียหาย
ราคาทรั พย์ สินศาลกําหนดให้ ตามราคา

อันแท้ จริง ส่ วนจํานวนค่ าเสียหาย
กําหนดให้ ตามความเสียหายแต่ ไม่ เกิน
คําขอ
แม้ ไม่ มีการฟองคดีส่วนแพ่ ง เมื่อ
้
พิพากษาส่ วนอาญา ศาลสั่งให้ คืน
ทรัพย์ สินแก่ เจ้ าของได้

135
เมื่อปรากฏเจ้ าของ ให้ คืนต่ อเจ้ าของ ถ้ าไม่

ปรากฏให้ เจ้ าพนักงานรักษาของนันจนกว่ า
้
จะปรากฏตัว หากมีการโต้ แย้ งต้ องไป
ฟองร้ องในศาลที่ม่ ีอานาจชําระ
้
ํ
คําพิพากษาที่ให้ คืนหรื อใช้ ราคาทรั พย์ หรื อ
ค่ าสินไหมทดแทน แก่ ผ้ ูเสียหาย ให้ ถือว่ า
ผู้เสียหายเป็ นเจ้ าหนีตามคําพิพากษา
้
136
คําพิพากษาคดีอาญาผูกพันคดีแพ่ ง
1.

2.
3.

4.

คดีแพ่ งตัดสินหลังคดีอาญา
คู่ความเดียวกัน
เหตุท่ นํามาฟองเป็ นเหตุเดียวกัน
ี
้
และเป็ นประเด็นโดยตรงใน
คดีอาญา
ศาลคดีอาญาตัดสินยุตแล้ ว(ถึงที่สุด)
ิ
137
 อ้ างยันได้ เฉพาะจําเลยในคดีอาญา ไม่ รวมถึง

บุคคลภายนอก
 คดีอาญาศาลลงโทษเพราะจําเลยประมาท คดีแพ่ ง
ผู้เสียหายฟองจําเลยคดีอาญาและนายจ้ าง กรณีนี ้
้
นายจ้ างสามารถสืบได้ ว่าจําเลยไม่ ประมาท
 คดีอาญาศาลยกฟองเพราะจําเลยไม่ ประมาท คดี
้
แพ่ งผู้เสียหายฟองจําเลยและนายจ้ าง ดังนี ้
้
นายจ้ างไม่ ต้องรับผิดเพราะลูกจ้ างไม่ ละเมิด
138
คดีอาญาศาลยกฟองเพราะการร้ องทุกข์ ไม่
้

ชอบเพราะหนังสือมอบอํานาจไม่
ประทับตราห้ างฯ การสอบสวนไม่ ชอบ
อัยการไม่ มีอานาจฟอง คดีแพ่ ง มีประเด็น
ํ
้
ว่ าโจทก์ ครอบครองที่พพาทหรือไม่ ดังนี ้
ิ
ศาลคดีอาญายังไม่ ได้ วินิจฉัยว่ าจําเลยทํา
ให้ เสียทรัพย์ หรือไม่ ศาลคดีแพ่ งไม่ ต้องถือ
ตาม (ฎ. 4377/2546)
139
อายุความ
ถ้ าไม่ มีผ้ ูใดฟองอาญา อายุความฟอง
้
้

แพ่ ง ถือตามอายุความฟองอาญา
้
แม้ ว่าผู้เยาว์ หรือผู้วกลจริตจะเป็ นผู้
ิ
ฟอง (ก็ไม่ ขยายออกไป)
้
ถ้ าฟองคดีอาญาแล้ ว แต่ คดียังไม่
้
เด็ดขาด ฟองคดีแพ่ งได้ เพราะอายุ
้
ความหยุดลง

140
 ถ้ าฟองคดีอาญาแล้ ว แต่ คดีเด็ดขาดเพราะศาล
้

ลงโทษ อายุความฟองคดีแพ่ งฟองได้ อีกไม่ เกิน
้
้
สิบปี นับแต่ วันที่ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุด
ํ
 ถ้ าฟองคดีอาญาแล้ วและคดีเด็ดขาดโดยศาล
้
ยกฟอง อายุความเป็ นไปตาม ป.พ.พ.
้
 ใช้ กับจําเลยในคดีอาญาเท่ านัน ไม่ เกี่ยวกับ
้
บุคคลภายนอกเช่ นนายจ้ าง ผู้คาประกัน
ํ้

141
การจากัดเสรี ภาพของประชาชนโดยเจ้ าพนักงาน
 เหตุผล คือ ต้ องการให้ เจ้ าพนักงานมีอานาจใน

เข้ าถึงพยานหลักฐาน ไม่วาจะเป็ นพยานวัตถุ
่
พยานบุคคล พยานเอกสาร และการเอาตัว
ผู้ต้องหาไว้ เพื่อสอบสวนหรื อแจ้ งข้ อหา หรื อ
ปองกันมิให้ หนีหรื อยุ่งกับพยานหลักฐาน จึง
้
ต้ องมีการจากัดเสรี ภาพของประชาชนและของ
ผู้ถกกล่าวหา
ู
142
รูปแบบของการจากัดเสรี ภาพ
 เสรี ภาพในการเคลื่อนไหว

 หมายเรี ยกพยานบุคคล หมายเรี ยกให้ ส่ง

เอกสารหรื อพยานวัตถุ
 จับ เรี ยกให้ หยุดเพื่อค้ น ควบคุมที่สถานี
ตํารวจ ขังระหว่ างพิจารณา
 เสรี ภาพในการครอบครองอสังหาริ มทรั พย์
 ค้ นที่รโหฐาน
143
 เสรี ภาพในความเป็ นส่ วนตัว รวมถึงการ

ติดต่ อสื่อสาร ข้ อมูลส่ วนตัว
 ค้ นกรณีพเศษ ม. 105
ิ
 ค้ น หรื อดักฟั งทางโทรศัพท์ หรื อสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ค้ นข้ อมูลในระบบ internet
 ตรวจตัวผู้เสียหาย ตรวจตัวผู้ต้องหา
 การตรวจค้ นตัวเพื่อนําส่ วนประกอบของร่ างกาย
ไปตรวจทางนิติวทยาศาสตร์
ิ

144
หมายเรี ยก
 หนังสือบงการเพื่อให้ มาที่สถานีตารวจหรื อศาล

เพื่อให้ ถ้อยคา หรื อให้ สงทรัพย์หรื อเอกสารให้
่
เพื่อใช้ เป็ นพยานหลักฐานในคดีอาญา
 หนังสือบงการเพื่อให้ ผ้ ต้องหาหรื อจาเลยมาที่
ู
สถานีตารวจหรื อศาล เพื่อแจ้ งข้ อหาหรื อเพื่อ
ฟั งการพิจารณาคดี
145
หน้ าที่ในการปฏิบติตามหมายเรี ยก
ั
- มาตามหมาย ให้ ถ้อยคา และ
ให้ ถ้อยคาที่เป็ นจริ ง
 หมายเรี ยกให้ สงทรัพย์ให้ – ส่งทรัพย์หรื อเอกสาร
่
ให้ ไม่ต้องมาก็ได้
 หมายเรี ยกผู้ต้องหาหรื อจาเลย – มาตามหมาย
ตอบคาถามเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ แต่ไม่ต้องตอบคาถาม
ที่เกี่ยวกับที่ถกกล่าวหา
ู
 หมายเรี ยกพยาน

146
ถ้ าไม่ ปฏิบัติตามหมายเรี ยกโดยเจตนาขัดหมาย
 หมายเรี ยกพยาน

มีความผิดฐานขัดคาสังหรื อขัดหมายเรี ยก
่
 หมายเรี ยก ผู้ต้องหาหรื อจาเลย ไม่มีความผิดแต่เป็ นเหตุออก
หมายจับ ตามมาตรา 66 วรรคท้ าย
 มาแล้ วไม่ให้ การ พยานมีความผิด ผู้ต้องหาหรื อจาเลย ไม่ผิด
 ให้ การเท็จ พยานมีความผิดฐานแจ้ งความเท็จหรื อเบิกความ
เท็จ
 ผู้ต้องหาหรื อจาเลย ไม่มีความผิดฐานแจ้ งความเท็จหรื อเบิก
ความเท็จ ยกเว้ นการแจ้ งชื่อหรื อที่อยูอนเป็ นเท็จ มีความผิดลหุ
่ ั
โทษ
147
การส่ งหมายเรี ยก
 ส่ งให้ ท่ ภมิลาเนาของผู้ต้องหาหรื อจําเลย/พยาน
ี ู ํ

 ส่ งให้ กับตัวผู้ต้องหาหรื อจําเลย พยาน เมื่อพบตัว
 ถ้ าไปส่ งที่บ้าน ถ้ าไม่ อยู่ ส่ งให้ ผ้ ูมีอายุ 20

ปี ณ ที่

บ้ านรับแทน
 กรณีผ้ ูต้องหา ถ้ าไม่ อยู่ต้องส่ งให้ แก่ สามีภริ ยา บิดา
มารดาหรือญาติ
 หลักการวางหมายและการปิ ดหมายใช้ หลัก ป.วิ.
แพ่ ง
148
หมายอาญา
 หมายที่ศาล ออกเพื่อจากัดเสรี ภาพของผู้ต้องหาหรื อ

จาเลย มีอยู่ 5 ประเภทคือ
 หมายค้ น
 หมายจับ
 หมายขัง
 หมายจาคุก
 หมายปล่อย
149
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
ขนิษฐา ทวีศรี
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
แวมไพร์ แวมไพร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพ
Dashodragon KaoKaen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
supap6259
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
rainacid
 

What's hot (20)

แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
 
การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพ
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 

More from Narong Jaiharn

Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
Narong Jaiharn
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
Narong Jaiharn
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
Narong Jaiharn
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
Narong Jaiharn
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
Narong Jaiharn
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
Narong Jaiharn
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Narong Jaiharn
 

More from Narong Jaiharn (15)

กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
 
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
 
Criminal penalties2
Criminal penalties2Criminal penalties2
Criminal penalties2
 
Criminal penalties1
Criminal penalties1Criminal penalties1
Criminal penalties1
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
 

เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556

  • 2. หัวข้ อศึกษา  หลักทั่วไปในการดําเนินคดีอาญา  บทบาทของเจ้ าพนักงานและบุคคลที่ เกี่ยวข้ อง  ขันตอนการดําเนินคดีอาญา ้  ผู้มีอานาจฟอง ํ ้  เขตอํานาจศาล 2
  • 5.  การร้ องขอให้ ปล่อยกรณีคมขังโดยมิชอบ ุ  การปล่อยชัวคราว ่  การค้ น  ค้ นตัวบุคคล  ค้ นสถานที่  ค้ นกรณีพิเศษ  ค้ นบุคคลเพื่อตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ 5
  • 6.  การสอบสวนสามัญ  การชันสูตรพลิกศพ  การไต่ สวนมูลฟอง การพิจารณา การพิพากษา ้  การอุทธรณ์  การฎีกา  การบังคับโทษ  ค่ าธรรมเนียม  การอภัยโทษ 6
  • 7. บทบาทของกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา ิ  กฎหมายวิธีพจารณาความอาญา เป็ นกฎหมายที่ ิ กําหนดกระบวนการเพื่อทําให้ รัฐสามารถค้ นหา ความจริง และทําให้ สามารถบังคับกฎหมายอาญา ได้  กระบวนการที่กาหนดไว้ ในกฎหมายวิธีพจารณา ํ ิ ความอาญา จึงเป็ นกระบวนการที่ให้ ความสมดุล ระหว่ างหลักประกันสิทธิของประชาชนและการใช้ อํานาจรัฐในกระบวนการยุตธรรมทางอาญาในการ ิ หาความจริงและได้ ตวผู้กระทําความผิดมาลงโทษ ั 7
  • 8. หลักในการดาเนินคดีอาญา 1. ระบบไต่ สวน กับ ระบบกล่ าวหา 2. หลัก Due process กับ Crime Control 8
  • 9. ระบบไต่สวน เป็ นระบบที่เดิมไม่แยก หน้ าที่สอบสวนฟองร้ องและพิจารณา ้ พิพากษาออกจากกัน และจาเลยไม่มีสิทธิ ในการแก้ ตว ั มีใช้ ในยุโรปตังแต่สมัยกลาง ้ 9
  • 10. ระบบกล่าวหา เป็ นระบบที่ให้ สิทธิในการ ต่อสู้คดีของจาเลย ศาลเป็ นคนกลาง และ คูความนาพยานมาเสนอ โดยศาลหรื อ ่ ลูกขุนเป็ นผู้ชี ้ขาด มีใช้ ในอังกฤษ สหรัฐอเมริ กา แคนาดา 10
  • 11. ระบบไต่สวน ระบบกล่าวหา ศาลเป็ นหลักในการชี ้ขาด ตัดสิน  ศาลไม่ผกพันว่าจะต้ อง ู พิจารณาข้ อเท็จจริ งตามที่ คูความนาเสนอ ่  ไม่แยกหน้ าที่สอบสวนฟองร้ อง ้ กับชี ้ขาดตัดสิน  คูความมีอานาจในการนาเสนอ ่ ข้ อเท็จจริ งเท่าที่ศาลอนุญาต  คูความเป็ นหลักในการนาเสนอ ่ ข้ อเท็จจริ ง  ศาลต้ องผูกพันที่จะวินิจฉัย ข้ อเท็จจริ งเฉพาะที่คความ ู่ นาเสนอ  คูความมีความเท่าเทียมกันใน ่ การนาเสนอหลักฐาน  แยกหน้ าที่สอบสวนออกจาก หน้ าที่ชี ้ขาดตัดสิน  11
  • 12. หลัก Crime Control มีใช้ ในระบบกฎหมายยุโรป  ซึ่งมุ่งเน้ นการควบคุมอาชญากรรมเป็ นหลัก  หากมีความจําเป็ นต้ องก้ าวล่ วงเพื่อจํากัดเสรี ภาพของ ประชาชน ก็สามารถกระทําได้ ภายใต้ การตรวจสอบของ องค์ กรภายนอก เช่ น ศาล เป็ นต้ น  ดังนันกระบวนการนี ้ ให้ ความคุ้มครองสิทธิและเสรี ภาพแก่ ้ ประชาชนเป็ นลําดับรองจากเหตุผลในการสร้ าง ประสิทธิภาพในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ้  12
  • 13. Due Process ใช้ ในสหรัฐอเมริกา  เน้ นการให้ หลักประกันสิทธิและเสรี ภาพของประชาชน เป็ นหลัก  ดังนัน หากมีการละเมิดสิทธิเสรี ภาพของประชาชน แม้ จะ ้ กระทําเพื่อให้ ได้ มาซึ่งพยานหลักฐานในการพิจารณาคดี หรือเพื่อให้ ได้ มาซึ่งตัวบุคคล ศาลจะไม่ อนุญาตให้ กระทํา  เพราะเห็นว่ าสิทธิและเสรี ภาพของประชาชนเป็ นสิ่งที่ต้อง ให้ การปกปองและศาลจะไม่ ยอมให้ มีการละเมิดโดย ้ อําเภอใจและหากปล่ อยให้ เจ้ าพนักงานกระทํา เท่ ากับเป็ น การยอมรับผลของการกระทําที่ฝ่าฝื นกฎหมาย  13
  • 14. Crime Control     Due Process ค้ นหาความจริงและการพิสจน์ ู ความผิด ให้ ความสําคัญของสิทธิผ้ ูเสียหาย หากจําเป็ นเพื่อการสืบสวน สอบสวนและปองกันอาชญากรรม ้ ขยายอํานาจตํารวจได้ กฎหมายต้ องไม่ จากัดการปองกัน ํ ้ อาชญากรรม เน้ นการตรวจสอบในระหว่ าง การดําเนินกระบวนพิจารณา และความเป็ นธรรม  ให้ หลักประกันของผู้ถูกกล่ าวหา  อํานาจตํารวจมีอย่ างจํากัด  กฎหมายมีไว้ เพื่อควบคุมการใช้ อํานาจที่ก้าวล่ วงสิทธิของ ประชาชน  ข้ อเปรี ยบเทียบ 14
  • 15. Crime Control Due Proces  ทุกขันตอนต้ องมีระเบียบ ้  ทุกขันตอนของ ้ เพื่อให้ อานาจเจ้ าพนักงาน ํ ปฏิบัตงานได้ อย่ างมี ิ ประสิทธิภาพ  เมื่อฟองแล้ ว ถือว่ าน่ าจะเป็ น ้ ผู้ผิดเพราะมีกระบวนการ ตรวจสอบที่เข้ มงวด กระบวนการยุตธรรมต้ อง ิ มีหลักประกันสิทธิและ เสรีภาพ  ได้ รับการสันนิษฐานว่ า บริสุทธิ์จนกว่ าจะมีคา ํ พิพากษาถึงที่สุดว่ าผิด 15
  • 16. การดาเนินคดีอาญา  การดาเนินคดีอาญาโดยประชาชน ( popular prosecution)  ประชาชนมีอานาจในการดาเนินคดีอาญา ใช้ ใน อังกฤษ  การดาเนินคดีอาญาโดยรัฐ (public prosecution)  รัฐมีหน้ าที่ในการดาเนินคดีอาญา ใช้ ในยุโรป 16
  • 17. หลักการดําเนินคดีอาญา  การดําเนินคดีอาญาตามกฎหมาย (legality principle)  เมื่อมีหลักฐานในการดําเนินคดีท่ มีมูลแล้ วต้ องดําเนินคดี ี เพราะเป็ นหน้ าที่ของเจ้ าพนักงานที่จะนําตัวผู้กระทําผิด มาลงโทษ  การดําเนินคดีอาญาตามดุลพินิจ (opportunity principle)  แม้ จะมีหลักฐานว่ าผู้นันกระทําความผิด รั ฐอาจไม่ ้ ดําเนินคดีเพราะเหตุผลของการไม่ เป็ นประโยชน์ หรื อ ประโยชน์ สาธารณะ 17
  • 18. หลักการค้ นหาความจริง  การค้ นหาความจริ งตามรู ปแบบ  ศาลอาจยอมรั บพยานที่ค่ ความตกลงกันแล้ วได้ โดย ู ไม่ ต้องตรวจสอบ  การค้ นหาความจริ งตามเนือหา ้  คดีอาญา โดยศาลต้ องค้ นหาความจริ งด้ วยตัวของ ศาลเอง โดยไม่ จากัดว่ าเป็ นพยานของฝ่ ายใด และ ํ ศาลเป็ นผู้ซักถามพยานนัน ้ 18
  • 19. หลักฟั งความทุกฝ่ าย หมายความว่ าในกระบวนการค้ นหาความจริงใน ทุกขันตอนโดยเฉพาะในชันอัยการ และศาล ้ ้ ต้ องรั บฟั งข้ อมูลที่ได้ จากทังสองฝ่ าย โดยทังผู้ ้ ้ กล่ าวหาและผู้ถกกล่ าวหา ู ซึ่งแตกต่ างจากแบบเดิมที่เน้ นการซักฟอก จากตัวผู้ถูกกล่ าวหา 19
  • 20. หลักวาจา  การพิจารณาคดีในศาล ต้ องเบิกความด้ วย วาจาต่ อหน้ าศาล  ข้ อเท็จจริ งที่อยู่ในเอกสารต้ องมาเบิกความ ประกอบ  ทังนีเพื่อให้ ศาลสามารถตรวจสอบความ ้ ้ จริงได้ โดยอาศัยจิตวิทยาพยาน  และคู่ความมีสิทธิตรวจสอบ 20
  • 21. หลักพยานโดยตรง  ใกล้ เคียงกับหลักวาจา  การสืบพยานเป็ นหน้ าที่ของศาล จะไม่ อาจ มอบหมายให้ ผ้ ูอ่ ืนปฏิบัตหน้ าที่ได้ ิ  เพื่อที่จะตรวจสอบพยานหลักฐานด้ วยตนเอง จึงจะพิสูจน์ ความจริงได้ 21
  • 22. หลักเปิ ดเผย  การพิจารณาของศาลต้ องทําโดยเปิ ดเผย  เปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้ าฟั งการพิจารณา  ถือเป็ นการทําให้ เกิดความโปร่ งใสในการ พิจารณาและให้ ความเป็ นธรรมแก่ ผ้ ูถูก กล่ าวหา  ข้ อยกเว้ น  พิจารณาลับ 22
  • 24. หลักยกประโยชน์ แห่ งความสงสัยให้ จาเลย ํ  หลักที่ยกประโยชน์ แห่ งความสงสัยให้ จาเลย ํ เป็ นหลักที่ปองกันมิให้ รัฐลงโทษผู้กระทําผิด ้ โดยอาศัยหลักฐานที่ยังไม่ ชัดแจ้ งว่ าเป็ น ผู้กระทําผิด  จึงมีหลักในทางอาญาว่ า  Proof beyond reasonable doubt  แต่ ในทางแพ่ งใช้ หลักความน่ าเชื่อ 24
  • 25. เอกสิทธิท่ จะไม่ ให้ การเป็ นปฏิปักษ์ กับตนเอง ี  The Privilege against selfincrimination  สิทธิท่ จะไม่ ถกบังคับเพื่อให้ การเป็ นปฏิปักษ์ ี ู กับตนเอง  คอมมอนลอว์ ใช้ กับผู้ถูกกล่ าวหา พยานและ ครอบครั ว  ซิวิลลอว์ ใช้ กับพยาน 25
  • 26. หลักฟองซ ้า ้ Ne bis in Idem การกระทาความผิดครังเดียว ผู้นนไม่ควร ้ ั้ ต้ องเดือดร้ อนซ ้าสอง คุ้มครองผู้ต้องหาและจาเลย 26
  • 27. หลักการดําเนินคดีของไทย  ผู้เสียหายฟองคดีอาญาได้ ้  ผู้เสียหายในความผิดต่ อส่ วนตัว มีส่วนในการ เริ่มคดีและระงับคดี  ตํารวจมีบทบาทในการสอบสวน  พนักงานอัยการมีบทบาทในการสั่งคดีแต่ ไม่ มี อํานาจสอบสวนคดีท่ วไป ยกเว้ นมีกฎหมาย ั กําหนดไว้ เป็ นพิเศษ 27
  • 28. ขันตอนการการดําเนินกระบวนการยุตธรรมทาง ้ ิ อาญา  ก่ อนฟองคดี ้  ร้ องทุกข์ กล่ าวโทษ  สืบสวน  สอบสวน  สั่งคดี 28
  • 31.  หลังจากศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุด ํ  บังคับโทษ  ประหารชีวิต  จําคุก  ปรั บ  ริ บทรั พย์ 31
  • 32. หลักการดาเนินกระบวนพิจารณาในชันก่อนฟอง ้ ้ ผู้เสียหายมีสิทธิฟองคดีและร้ องทุกข์ ้ ต่อเจ้ าพนักงานเพื่อให้ ดาเนินคดีแก่ ผู้กระทาความผิดได้ ฝรั่งเศส เยอรมัน ไม่เปิ ดโอกาสให้ ฟอง ้ ส่วนอังกฤษ ให้ ประชาชนสามารถฟอง ้ ได้ 32
  • 33. ในคดีความผิดต่อส่วนตัว (ความผิดอันยอม ความได้ ) การเริ่ มคดีและยุติคดีขึ ้นอยูกบ ่ ั ความประสงค์ของผู้เสียหายเป็ นสาคัญ แต่ถ้า เป็ นความผิดที่ไม่อาจยอมความได้ แม้ ผู้เสียหายไม่แจ้ งความหรื อถอนคาฟอง ไม่ตด ้ ั สิทธิพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการที่จะ ดาเนินคดีตอไป ่ 33
  • 34.  ในคดีอาญามีความจําเป็ นต้ องได้ ข้อเท็จจริ ง เกี่ยวกับความผิดจึงต้ องมีพยานรู้เห็น เหตุการณ์ มานําสืบประกอบกับพยานหลักฐาน อื่นหากไม่ มี ก็อาจไม่ สามารถลงโทษจําเลยได้ เพราะหลักที่ว่า ศาลต้ องแน่ ใจว่ าผู้นันกระทํา ้ ความผิด จึงจะลงโทษได้ และโจทก์ ต้องพิสูจน์ ว่ าจําเลยเป็ นผู้กระทําความผิด 34
  • 35. การให้ ความคุ้มครองสิทธิของผู้ถกจับ ู ผู้ต้องหา และประชาชนโดยทัวไปจากการใช้ ่ อานาจเกินขอบเขตของเจ้ าพนักงาน จับไม่ได้ ถ้าไม่มีหมายจับจากศาล เว้ นแต่จะ เข้ าเหตุจบโดยไม่มีหมายหรื อเป็ นการกระทา ั ความผิดซึงหน้ า ตามมาตรา 78 ่ 35
  • 36. หลักในการดาเนินคดีในชันพิจารณา ้ จาเลยมีสิทธิตงทนายความ ถ้ าไม่มี ั้ ศาลต้ องตังให้ ม. 173 ้ จาเลยมีสิทธิฟังการพิจารณาและต่อสู้ คดีได้ เต็มที่ 36
  • 37. การพิจารณาคดีตอกระทาโดย ่ เปิ ดเผย ต่อเนื่องและเป็ นธรรม พิจารณาลับ เป็ นข้ อยกเว้ น เพราะ เหตุความสงบเรี ยบร้ อยหรื อศีลธรรม อันดีของประชาชน 37
  • 39. การพิจารณาคดีใช้ หลักพยานโดยตรง ต้ องเป็ น พยานที่ร้ ูเห็นเหตุการณ์ และต้ องเป็ นพยานที่ ได้ มาโดยชอบ ถ้ าเป็ นคดีแพ่งอาจเป็ นการตกลงในข้ อเท็จจริ ง โดยไม่สืบพยานได้ มีข้อห้ ามมิให้ รับฟั งพยานหลักฐานที่เกิดและ ได้ มาโดยมิชอบ ตามมาตรา 226, 226/1 ห้ ามรับฟั งพยานบอกเล่า 39
  • 40. คาพิพากษาต้ องให้ ให้ เหตุผล คูความมีสิทธิโต้ แย้ งได้ ทงข้ อเท็จจริ งและ ่ ั้ ข้ อกฎหมาย เว้ นแต่จะมีกฎหมายห้ าม การพิจารณาในศาลสูง อาจไม่ได้ สืบพยาน แต่ถ้าสืบต้ องเปิ ดเผย 40
  • 41.  หากมีข้อผิดพลาดในกระบวนพิจารณา ถ้ าอยู่ ในศาลสูง ศาลสูงเพิกถอนแล้ วให้ พจารณา ิ พิพากษาใหม่ ตามรูปคดี  แต่ ถ้าเป็ นข้ อผิดพลาดหลังจากที่มีคาพิพากษา ํ ถึงที่สุดแล้ ว ต้ องใช้ การรือฟื ้ นคดีอาญาขึน ้ ้ พิจารณาใหม่ ตามพระราชบัญญัตรือฟื ้ น ิ ้ คดีอาญาขึนมาพิจารณาใหม่ พ.ศ. 2526 ้ 41
  • 42.  กรณีท่ จาเลยได้ รับความเสียหายจากกระบวน ี ํ พิจารณาที่ผดพลาด แต่ ศาลสูงยกฟอง ิ ้  ความเสียหายที่จะได้ รับชดเชย ต้ องเป็ นไปตาม พระราชบัญญัตค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่ า ิ ทดแทนและค่ าใช้ จ่ายแก่ จาเลยในคดีอาญา ํ พ.ศ. 2544 ซึ่งต้ องเป็ นกรณีท่ จาเลยไม่ ได้ ี ํ กระทําความผิดแต่ ถกคุมขังในระหว่ างพิจารณา ู  ในรั ฐธรรมนูญให้ ผ้ ูต้องหามีสิทธิได้ รับ ค่ าชดเชยจากการถูกคุมขังโดยมิชอบ 42
  • 43. ผู้มีอานาจฟอง ้ กฎหมายไทย มี สองประเภท ฟองโดยรัฐ ได้ แก่ พนักงาน ้ อัยการ ฟองโดย ผู้เสียหาย ้ 43
  • 44. เงื่อนไขการฟองคดี ้ พนักงานอัยการ จะฟองได้ ต้ องมี ้ การสอบสวนในข้ อหานันก่อน ้ ผู้เสียหาย ไม่กาหนดเงื่อนไขก่อน ฟอง แต่ต้องเป็ นผู้ได้ รับความ ้ เสียหายจากความผิดฐานนัน ้ 44
  • 45. ผู้เสียหาย ผู้เสียหาย มี สองประเภท ผู้เสียหายที่แท้ จริ ง ผู้มีอานาจจัดการแทน ํ ◦ตาม มาตรา 4 วรรคสอง มาตรา 5 และ มาตรา 6 ◦กรณีอ่ น ๆ ื 45
  • 46. ผู้เสียหายที่แท้ จริง 1. มีความผิดอาญาเกิดขึ ้น 2. ผู้นนได้ รับความเสียหายจาก ั้ ความผิดฐานนัน ้ 3. เป็ นผู้เสียหายโดยนิตินย ั 46
  • 47. ได้ รับความเสียหายจากความผิดฐานนัน ้  พิจารณาจาก การที่ผ้ ูนันเสื่อมสิทธิในทางแพ่ ง ้ จากการกระทําความผิดฐานนัน (แนวฎีกา) ้  ความผิดเกี่ยวกับทรั พย์ เจ้ าของกรรมสิทธิ์ และผู้มีสิทธิครอบครอง เป็ นผู้เสียหายทังสอง ้ กรณี  ความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค ผู้ทรงเช็คขณะ ธนาคารปฏิเสธการจ่ ายเงิน 47
  • 48. ความผิดต่ อรั ฐ เช่ นความผิดต่ อเจ้ า พนักงาน โดยหลักไม่ มีผ้ ูเสียหายที่เป็ น เอกชน แต่ ถ้าได้ รับความเสียหาย พิเศษ เป็ นผู้เสียหายได้ ความผิดฐานแจ้ งความเท็จ ความผิดฐานเบิกความเท็จ 48
  • 49. ความผิดที่เอกชนไม่ใช่ผ้ เู สียหาย ความผิดตามพระราชบัญญัติ จราจร ทางบก พ.ศ. 2522 ความผิดตามพระราชกําหนดการ กู้ยืมเงินอันเป็ นการฉ้ อโกง ประชาชน 49
  • 50. ผู้เสียหายโดยนิตินย ั ศาลฎีกาสร้ างหลักนี ้ โดยอ้ างว่ า ผู้ ที่มาศาลต้ องมาด้ วยมือที่สะอาด ถ้ าผู้เสียหายมีส่วนในการ ยอม หรื อก่ อ หรื อมีเจตนาทุจริต ทําให้ มีการกระทําความผิด ศาลไม่ ถือว่ า เป็ นผู้เสียหาย 50
  • 51. ผู้มีอานาจจัดการแทนผู้เสียหาย ม. 4 วรรคสอง สามีจดการแทน ั ภริ ยาได้ ถ้ าได้ รับอนุญาตโดยชัด แจ้ ง วิธีการอนุญาตไม่กาหนดไว้ อาจ ทาด้ วยวาจาก็ได้ 51
  • 52. มาตรา 5 ผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาล จัดการแทน ผู้เยาว์ คนไร้ ความสามารถ 2. ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน สามีหรื อภริ ยา ของผู้ท่ ถูกทําร้ ายถึงตายหรื อบาดเจ็บ ี จนไม่ สามารถจัดการเองได้ 1. 52
  • 53. ม. 5 3. ผู้จัดการ หรื อผู้แทนอื่นของนิตบุคคล กรณีนิติ ิ บุคคลเป็ นผู้เสียหาย กรณีตามมาตรา 5 (3) นีใช้ กับกรณีนิติ ้ บุคคลเป็ นผู้เสียหาย และผู้อ่ ืนกระทําผิดต่ อนิติ บุคคล ถ้ า ผู้จัดการทําผิดต่ อนิตบุคคล ไม่ อาจใช้ มาตรา ิ 5 (3) แต่ ใช้ หลักมาตรา 2 (4) โดยผู้ถือหุ้น ในบริษัทหรื อผู้เป็ นหุ้นส่ วนดําเนินคดีกับ ผู้จัดการในฐานะผู้เสียหายแท้ จริง 53
  • 54. ผู้มีอานาจจัดการแทนเพราะศาลตัง้ ม. 6  กรณีเข้ าตามมาตรา 5 (1) แต่ ไม่ มีผ้ ูแทนโดยชอบ ธรรม หรื อไม่ มีผ้ ูอนุบาล หรื อมีแต่ ทาหน้ าที่ไม่ ได้ ํ หรื อมีผลประโยชน์ ขัดกัน (ตามแนวศาลฎีกา ไม่ ใช้ กับกรณี มาตรา 5 (2) แล้ วผู้ตายไม่ มีผ้ ูแทนโดย ชอบธรรม)  ญาติหรื อผู้มีประโยชน์ เกี่ยวข้ อง ร้ องขอให้ ตังตน ้ เป็ นผู้แทนเฉพาะคดี  ศาลไต่ สวนแล้ ว เห็นสมควรตังผู้ร้องหรื อผู้อ่ ืนหรื อ ้ พนักงานปกครองเป็ นผู้แทนเฉพาะคดี 54
  • 55. ผู้มีอานาจจัดการแทนกรณีอ่ ืน ํ  ประมวลกฎหมายอาญา ม. 333 วรรคสอง  ผู้ตายถูกหมิ่นประมาทแล้ วตายก่ อนร้ อง ทุกข์  บิดา มารดา บุตร ของผู้ตาย ร้ องทุกข์ ได้  และให้ ถือว่ าเป็ นผู้เสียหาย (จึงฟองคดีได้ ้ ด้ วย) 55
  • 56.  มาตรา 29 ผู้เสียหายที่แท้ จริ ง ฟองคดีแล้ วตาย ้ ระหว่ างพิจารณา  ผู้บุพการี (ตามความเป็ นจริ ง) ผู้สืบสันดาน (ตามความเป็ นจริง) สามีหรือภริยา (ตาม กฎหมาย)ดําเนินคดีแทนได้  ถ้ าบุคคลดังกล่ าวไม่ เข้ ามา ศาลต้ องสั่งตามรู ป คดี  หากสืบครบแล้ ว พิพากษาได้ แต่ ถ้าสืบไม่ ครบ ยกฟอง เพราะโจทก์ สืบไม่ สม ้ 56
  • 57.  กรณีความผิดเกี่ยวกับทรั พย์ แต่ ผ้ ูเป็ นเจ้ าของตาย ก่ อนร้ องทุกข์ หรื อฟองคดี ทายาทจะดําเนินคดีแทน ้ ได้ หรื อไม่  คําร้ องทุกข์ ในคดีความผิดเกี่ยวกับทรั พย์ เป็ น สิทธิท่ เกี่ยวกับทรัพย์ สิน ทายาทเข้ าดําเนินการ ี แทนได้ แต่ การฟองคดีไม่ ใช่ สิทธิท่ เกี่ยวกับ ้ ี ทรัพย์ สินจึงไม่ สามารถฟองคดีได้ ้  ฎีกาที่ 11/2518 และ ฎ. 206/2488 57
  • 58. ผ้ ูเสียหายหรื อผ้ ูมีอานาจจัดการแทน ํ มอบอํานาจให้ ดาเนินคดีแทน ํ ฎีกาที่ 890/2503 (ประชุมใหญ่ ) ขอบเขตที่ได้ รับ พิจารณาจากใบ มอบอํานาจ ซึ่งต่ างจากผ้ ูมีอานาจ ํ จัดการแทนที่มีอานาจตามมาตรา 3 ํ 58
  • 59. ข้ อพิจารณา  เด็กอายุเท่ าใด จึงจะร้ องทุกข์ ได้  อายุท่ โตพอเข้ าใจสาระของการกระทําของตน ี (แนวฎีกา วินิจฉัยว่ า ประมาณอายุ14 ปี ขึนไป) ้  ร้ องทุกข์ ได้ เองไม่ ต้องขอความยินยอมจาก ผู้แทนโดยชอบธรรม  แต่ ถ้าฟองคดีทาไม่ ได้ เลย ขออนุญาตผู้แทน ้ ํ โดยชอบธรรมก็ฟองเองไม่ ได้ (เพราะกฎหมาย ้ คุ้มครองผู้เยาว์ ) 59
  • 60. ผู้ถูกกล่ าวหา  มี สองฐานะ  ผู้ต้องหา –ผู้ ท่ ถูกกล่ าวหาต่ อเจ้ าหน้ าที่ว่า ี เป็ นผู้กระทําความผิด แต่ ยังไม่ ถูกฟอง ้  จําเลย ผู้ท่ ถูกฟองว่ ากระทําผิดต่ อศาล ี ้  (กรณีราษฎรเป็ นโจทก์ ฟอง จะเป็ นจําเลย ้ ต่ อเมื่อศาลรับฟองหลังไต่ สวนมูลฟองมีมูล ้ ้ แล้ ว 60
  • 61. สิทธิ  มีทนายความช่ วยเหลือ/ พบปรึ กษา ทนายความ/มีทนายอยู่ด้วยในระหว่ าง สอบสวนและพิจารณา  มีส่วนร่ วมในการดําเนินคดี  ไม่ ต้องถูกบังคับเพื่อให้ การในเรื่ องที่ถูก กล่ าวหา  ไม่ ถกจํากัดเสรี ภาพโดยไม่ จาเป็ น ํ ู 61
  • 62. ต้ องมีความสามารถในการต่ อสู้คดีใน ระหว่ างการดําเนินคดี จึงมีสิทธิ มีล่าม ถ้ าวิกลจริ ตต้ องได้ รับการงดการดําเนินคดี จนกว่ าจะหายจากวิกลจริต มีสิทธิตรวจสอบพยานที่ปรั กปรําตนและ แก้ ตวได้ หรือต่ อสู้คดีได้ เต็มที่ ั 62
  • 63. อํานาจพนักงานสืบสวน  มีหน้ าที่รักษาความสงบเรี ยบร้ อย และ สืบสวนหาตัวผู้กระทําความผิดและรู้ว่า ความผิดเกิดอย่ างไร  ตํารวจ มีอานาจสืบสวนทั่วราชอาณาจักร ํ  พนักงานปกครอง มีอานาจสืบสวนเฉพาะ ํ เขตพืนที่ท่ คนรับผิดชอบและภายใน ้ ี ขอบเขตที่กฎหมายกําหนด 63
  • 64. ความผิดเกิดในราชอาณาจักรหรื อให้ ถือว่ าในฯ  คือความผิดตาม ปอ. ม. 4 วรรคแรก และ ม. 4 วรรคสอง ม.5 ม.6  ถ้ าความผิดเกิดท้ องที่เดียว ใช้ ม. 18 (1) (2) กทม. นอก กทม.  ความผิดเกิดเกี่ยวพันกัน ใช้ ม. 19 ทุก ท้ องที่ท่ เกี่ยวพัน มีสิทธิสอบสวน ี 64
  • 65. อํานาจสอบสวน ต้ องเป็ นพนักงานสอบสวนตามที่ กฎหมายกําหนด กฎหมายที่กาหนดคือ ม. 18 ม. 19 ํ และ ม. 20 กําหนดยศ หรื อระดับ และ กําหนด พืนที่ ้ 65
  • 66. พิจารณาพนักงานสอบสวน ถ้ าเป็ นตํารวจ ยศ ร.ต.ต. ขึนไป ้ ถ้ าเป็ นปกครอง ระดับสาม ขึนไป ้ ข้ อสังเกต รมต. นายกฯ ไม่ อาจเป็ น พนักงานสอบสวนได้ 66
  • 67. ความผิดนอกราชอาณาจักร ปอ.ม.7,8,9  อัยการสูงสุดหรื อผู้รักษาการแทน  พนักงานสอบสวนที่จับผู้ต้องหาหรื อพบการ กระทําความผิดระหว่ างรอคําสั่ง มีอานาจ ํ สอบสวน  พนักงานอัยการและพนักงานสอบสวนที่ อัยการสูงสุดมอบหมาย ให้ รับผิดชอบร่ วมกัน  พนักงานอัยการหรื อพนักงานสอบสวนที่ได้ รับ มอบหมายจากอัยการสูงสุดให้ รับผิดชอบใน การสอบสวนคดีนัน ้ 67
  • 68. อัยการมีอานาจสอบสวนร่วมกับตารวจในคดี ม. 155/1, 133 ทวิ  คดีท่ เด็กอายุไม่ เกินสิบแปดปี ี เป็ นพยาน ผู้เสียหาย และผู้ต้องหา ตามมาตรา 133 ทวิ  คดีท่ มีการตายเกิดขึนจากการกระทําของเจ้ า ี ้ พนักงานซึ่งอ้ างว่ าปฏิบัตราชการตามหน้ าที่ หรือ ิ ตายในระหว่ างการควบคุมซึ่งอ้ างว่ าปฏิบัตราชการ ิ ตามหน้ าที่ หรื อผู้ตายถูกกล่ าวหาว่ าต่ อสู้ขัดขวางเจ้ า พนักงานซึ่งอ้ างว่ าปฏิบัตราชการตามหน้ าที่ ิ 68
  • 69. พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ  นอกราชอาณาจักร - อัยการสูงสุดหรือ พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการที่ ได้ รับมอบหมายหรือได้ รับมอบหมายให้ ร่ วมสอบสวนกับพนักงานสอบสวน ผู้รับผิดชอบจากอัยการสูงสุด  ในราชอาณาจักร – หัวหน้ าพนักงาน สอบสวน + ท้ องที่ความผิดเกิด  ยกเว้ น ความจําเป็ นหรื อสะดวก คือ ท้ องที่ ผู้ต้องหามีท่ อยู่หรือถูกจับ ี 69
  • 70. ในราชอาณาจักร -หัวหน้ าพนักงาน สอบสวน +ท้ องที่เกี่ยวพันกัน+ท้ องที่ จับได้ ก่อน ถ้ าจับยังไม่ ได้ แต่ พบก่ อนจับได้ คือ หัวหน้ าพนักงานสอบสวน +ท้ องที่ เกี่ยวพันกัน+ท้ องที่พบก่ อนได้ 70
  • 71. ถ้ ามีข้อโต้ แย้ งในเรื่ องใครรับผิดชอบ  ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งระหว่ างเขตในจังหวัด เดียวกัน  กทม. ส่ ง ผู้บัญชาการตํารวจแห่ งชาติ ชี ้ ขาด  นอกกทม. ส่ งผู้ว่าราชการจังหวัด ชีขาด ้  ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งระหว่ างเขตในระหว่ าง จังหวัด ส่ ง อัยการสูงสุด ชีขาด ้ 71
  • 72. เขตศาล  ในราชอาณาจักร  เขต ความผิดเกิด เชื่อ อ้ าง จําเลยมีท่ อยู่ ี จําเลยถูกจับ  เขตที่การสอบสวนกระทําในเขตศาล  นอกราชอาณาจักร  ศาลอาญา ศาลที่การสอบสวนกระทําใน เขต 72
  • 74. ศาลที่รับคดีเกี่ยวพันกันไว้ จะพิจารณาและพิพากษาคดีท่ ฟอง ี้ รวมกันไว้ ก็ได้ หรือ ถ้ าเห็นสมควร อาจสั่งให้ แยกความผิด ฐานใดฐานหนึ่งเพื่อไปฟองที่ศาลที่มี ้ อํานาจตามปกติได้ แต่ ต้องตกลงกับ ศาลนันก่ อน ้ 74
  • 75. โอนคดี  กรณีธรรมดา ม. 23 กรณีพเศษ ม. 26 ิ  ม. 23 ศาลที่ความผิดไม่ ได้ เกิด ไปยังศาลที่ ความผิดเกิด  คู่ความขอโอนได้  ศาลที่ความผิดเกิด โอนไปยังศาลที่ความผิด มิได้ เกิด โจทก์ ขอได้ จําเลยไม่ มีสิทธิ และโจทก์ ต้ องอ้ างสะดวก 75
  • 76.  การโอนในกรณีพเศษ ิ ลักษณะความผิด จํานวนจําเลย ความรู้ สึก ของประชาชน หรือเหตุผลอย่ างอื่น ทําให้ อาจมีการขัดขวางการไต่ สวนหรื อ พิจารณา หรือน่ ากลัวว่ าจะเกิดความไม่ สงบ หรือเหตุร้าย 76
  • 77. โจทก์ หรื อจําเลย ยื่นคําร้ องต่ อ ประธานศาลฎีกา ขอให้ โอนคดีไปศาลอื่น ประธานศาลฎีกา อนุญาต ให้ โอนไป ศาลใดก็ได้ ตามที่เห็นสมควร คําสั่งเป็ นเด็ดขาด 77
  • 78. การตังรั งเกียจผู้พพากษา ้ ิ  ใช้ หลัก วิ.แพ่ ง ม. 11  นอกจากนี ้ ยังมีการตังรั งเกียจ นักจิตวิทยา ้ หรือนักสังคมสงเคราะห์ พนักงานอัยการ ในกรณีเด็กอายุไม่ เกินสิบแปดปี จะให้ ถ้ อยคําด้ วย ตามมาตรา 133 ทวิ ซึ่งมีเหตุ ต้ องการคุ้มครองเด็ก ไม่ ใช่ เพราะมี ผลกระทบต่ อความเป็ นกลาง 78
  • 79. การฟองคดีอาญา ้ วิธีการฟอง ้ ยื่นฟองโดยทําคําฟอง ต่ อศาล ้ ้ ยื่นคําร้ องขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ เมื่อมีการฟองของอัยการหรื อ ้ ผู้เสียหายแล้ ว 79
  • 80.  พนักงานอัยการฟอง ต้ องมีการสอบสวนโดย ้ ชอบด้ วยกฎหมายก่ อน และต้ องมีตวผู้ต้องหา ั มาศาลพร้ อมกับคําฟอง แต่ เมื่อยื่นฟองแล้ ว ้ ้ ศาลประทับฟองได้ โดยไม่ ต้องไต่ สวนมูลฟอง ้ ้ ก่ อน  ผู้เสียหายฟอง ไม่ ต้องมีการสอบสวน ไม่ ต้องมี ้ ตัวผู้ต้องหามาพร้ อมฟอง แต่ ต้องไต่ สวนมูล ้ ฟองก่ อน จึงจะประทับฟอง และเมื่อคดีมีมูล ้ ้ สั่งประทับฟองแล้ วจึงเรียกจําเลยมา ้ 80
  • 81. เปรี ยบเทียบ การขอเข้ าเป็ นโจทก์ ร่วม ต้ องทํา เป็ นคําร้ อง ก่ อนศาลชันต้ นพิพากษา / ก่ อน ้ คดีเสร็จเด็ดขาด ทุกคดี / คดีท่ ไม่ ใช่ ความผิดต่ อ ี ส่ วนตัว 81
  • 82. การขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ มีได้ สองกรณี ผู้เสียหายขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ กับ พนักงานอัยการ กับพนักงานอัยการขอเข้ าร่ วมเป็ น โจทก์ กับผู้เสียหาย 82
  • 83. ผลของการเป็ นโจทก์ ร่วม  มีสิทธิเช่ นเดียวกับโจทก์ เดิม / สืบพยาน / ซักค้ านพยานฝ่ ายจําเลย / อุทธรณ์ / ฎีกา  ไม่ มีสิทธิแก้ ไขเพิ่มเติมฟอง ้  ไม่ มีสิทธิถอนฟอง แต่ มีสิทธิถอนคําร้ องขอ ้ เข้ าร่ วมเป็ นโจทก์  ถ้ าผู้เสียหายทําให้ คดีเสียหาย อัยการขอ ศาลให้ ส่ ังระงับได้ 83
  • 84. ถอนฟองคดีอาญา ้  หลักเกณฑ์ อยู่ใน ม. 35 ผลของการถอนฟอง ้ อยู่ใน ม. 36 และ 39 (2) ประกอบด้ วย  ต้ องยื่นเป็ นคําร้ องขอถอนฟอง ้  ก่ อนศาลชันต้ นมีคาพิพากษา/ ก่ อนคดีถงที่สุด ้ ํ ึ (คดีส่วนตัว)  ศาลอนุญาตให้ ถอนฟอง จึงจะถือว่ าเป็ นการ ้ ถอนฟอง ้ 84
  • 85. หลักเกณฑ์ที่ศาลพิจารณาคาร้ องขอถอนฟอง ้  โดยหลักเป็ นดุลพินิจที่จะอนุญาตให้ ถอน หรือไม่ ก็ได้  ก่ อนพิจารณาอนุญาตมีวิธีการที่ต้องปฏิบัติ ดังนี ้  หากโจทก์ ย่ นขอถอนหลังจากจําเลยยื่น ื คําให้ การ (มิใช่ น่ ิง) ต้ องถามจําเลยว่ าจะ คัดค้ านหรือไม่ แต่ ถ้ายื่นก่ อนคําให้ การไม่ ต้อง ถามก็ได้ 85
  • 86.  หากจําเลยคัดค้ านการถอนฟอง ศาลต้ องสั่งยก ้ คําร้ อง (ไม่ อนุญาตให้ ถอน)  ถ้ าจําเลยไม่ ค้าน ศาลมีดุลพินิจที่จะให้ ถอน หรือไม่ ก็ได้ (ยกเว้ นมีเหตุระงับคดีเพราะยอม ความในความผิดต่ อส่ วนตัวแล้ วมาถอน)  การถอนฟองมีผลเมื่อศาลสั่งอนุญาตให้ ถอน ้ ฟอง ้ 86
  • 87. ผลของการถอนฟอง ้  หลัก ถอนฟองแล้ ว ห้ ามนําคําฟองมาฟองจําเลย ้ ้ ้ ใหม่ อีก ยกเว้ น  ในคดีความผิดต่ อแผ่ นดิน พนักงานอัยการถอนฟอง ้ ไม่ตดสิทธิผ้ เู สียหาย ในทางตรงกันข้ าม ผู้เสียหายถอน ั ฟองไม่ตดสิทธิพนักงานอัยการที่จะฟองใหม่ ้ ั ้ (การถอนไม่ตดสิทธิโจทก์อีกประเภทหนึง) ั ่ 87
  • 88.  ในคดีความผิดต่ อส่ วนตัว (ผู้เสียหายตัดสิทธิ อัยการ)พนักงานอัยการฟอง แล้ วถอนฟอง ถ้ า ้ ้ ได้ รับความยินยอมเป็ นหนังสือจากผู้เสียหาย ผู้เสียหายฟองอีกไม่ ได้ แต่ ถ้าไม่ ได้ รับความ ้ ยินยอมเป็ นหนังสือ ไม่ ตดสิทธิผ้ ูเสียหาย ั  ผู้เสียหายถอนฟองคดีความผิดต่ อส่ วนตัว ตัด ้ สิทธิพนักงานอัยการที่จะฟองคดีนัน เพราะ ้ ้ สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ ตามม. 39 (2) ้ 88
  • 89. ข้ อพิจารณา การถอนฟอง ในชันไต่ สวนมูลฟองในคดีท่ ราษฎร ้ ้ ้ ี เป็ นโจทก์ ซึ่งศาลยังไม่ ส่ ังประทับฟองนัน จะถือ ้ ้ เป็ นการถอนฟองหรื อไม่ ้ 2. การถอนฟองที่ยังติดใจดําเนินคดี เช่ น ถอนฟอง ้ ้ เพราะต้ องการไปขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ ร่วมกับ พนักงานอัยการนัน จะมีผลเป็ นการห้ ามมิให้ ฟอง ้ ้ ใหม่ ตาม มาตรา 36 หรื อไม่ 1. 89
  • 90. 3. ผู้เสียหายหลายคน คนหนึ่งฟองแล้ วถอนฟองไป ้ ้ ดังนี ้ ผู้เสียหายอีกคนหนึ่งจะมาฟองอีกได้ หรือไม่ ้ 4. ในกรณีท่ พนักงานอัยการถอนฟอง พนักงาน ี ้ อัยการต้ องดําเนินการตาม ม. 145 หรือไม่ 5. ผู้เสียหายขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ กับพนักงานอัยการ ผู้เสียหายจะถอนฟองของพนักงานอัยการได้ ้ หรือไม่ หรือถอนคําร้ องขอเข้ าร่ วมเป็ นโจทก์ ได้ หรือไม่ 90
  • 91. ถอนคําร้ องทุกข์  ถอนต่ อใคร  ต่ อพนักงานสอบสวนหรื อพนักงานฝ่ าย ปกครองหรือตํารวจที่รับคําร้ องทุกข์ ม.123, 124 ต่ อศาล ถ้ าคดีอยู่ในศาลแล้ ว (แต่ ไม่ บังคับว่ าจะต้ องถอนที่ศาล ผู้ร้องทุกข์ อาจขอถอนต่ อพนักงานสอบสวนก็ได้ 91
  • 92. ถอนได้ จนถึงเมื่อใด  ถอนได้ ในระยะใดก็ได้ ตาม ม. 126 92
  • 93.  ผลของการถอนคําร้ องทุกข์ คดีความผิดต่ อส่ วนตัว สิทธินําคดีอาญา มาฟองระงับ ม. 39 (2) ้ คดีอาญาแผ่ นดิน คดีอาญาไม่ ระงับ และ ไม่ ตัดสิทธิพนักงานสอบสวนที่จะ สอบสวนต่ อไปและพนักงานอัยการที่จะ ฟองคดี ม. 126 ้ 93
  • 94. การยอมความในความผิดต่อส่วนตัว  การยอมความในคดีอาญาไม่ มีแบบที่ต้องทํา เป็ นหนังสือ (ต่ างจากคดีแพ่ ง) ดังนัน การยอม ้ ความที่กระทําด้ วยวาจา ย่ อมมีผลเป็ นการยอม ความ  การยอมความในคดีอาญากระทําได้ ก่อนคดีถง ึ ที่สุด ม. 35  การยอมความมีผลทันทีเมื่อยอมความโดย ถูกต้ อง 94
  • 95.  ผลของการยอมความในคดีความผิดต่ อส่ วนตัว คือ สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ ตาม ม. 39 ้ (2) ศาลจําหน่ ายคดี / อัยการสั่งไม่ ฟอง ้  ถ้ ากําหนดเงื่อนไขบังคับก่ อนจึงจะถือว่ าเป็ น การยอมความ หากเงื่อนไขไม่ สาเร็จไม่ เป็ นการ ํ ยอมความ เช่ น ยอมความต่ อเมื่อได้ รับชําระ หนีแล้ ว เป็ นต้ น ้  การยอมความทางอาญากับทางแพ่ งแยกกัน 95
  • 96. สิทธินําคดีอาญามาฟองระงับ ม. 39 ้ 1. 2. 3. 4. โดยความตายของผู้กระทําความผิด ในคดีความผิดต่ อส่ วนตัวเมื่อมีการถอน คําร้ องทุกข์ ถอนฟอง หรือยอมความโดย ้ ชอบด้ วยกฎหมาย คดีอาญาเลิกกัน ตาม ม. 37 เมื่อศาลมีคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดใน ํ ความผิดซึ่งได้ ฟอง ้ 96
  • 97. 5. มีกฎหมายยกเว้ นความผิด 6. คดีขาดอายุความ 7. มีกฎหมายยกเว้ นโทษ กรณี 1 และ 2 ศาลจําหน่ ายคดี ส่ วนที่เหลือศาลยกฟอง ้ 97
  • 98. ผู้กระทาความผิดตาย  กรณีบุคคลธรรมดา ตายเพราะสินชีวต แต่ ถ้าเป็ น ้ ิ นิตบุคคล ต้ องถูกเพิกถอน ิ  ตายหลังกระทําความผิด แต่ ยังไม่ ถูกศาลตัดสิน ลงโทษ  ถ้ าตายถ้ าหลังศาลมีคาพิพากษาลงโทษ ต้ องใช้ ม. ํ 38 ของป.อาญา โทษเป็ นอันระงับไปด้ วยความ ตายของผู้กระทําความผิด  ผู้จะถูกจับต่ อสู้เจ้ าพนักงานแล้ วถูกยิงตาย ใช้ หลัก อะไร 98
  • 99. คดีอาญาเลิกกัน  กรณีแรก ตาม ม. 37 (1) ผู้ต้องหายอมชําระ ค่ าปรับอย่ างสูงตามที่กฎหมายกําหนดสําหรับ ความผิดนัน (ในคดีท่ มีโทษปรับสถานเดียว) ้ ี  กรณีท่ สอง ตาม ม. 37 (2) เมื่อผู้ต้องหายอม ี ชําระค่ าปรับตามที่เจ้ าพนักงานเปรียบเทียบ ปรับกําหนดภายในเวลาที่เจ้ าพนักงานกําหนด แต่ ต้องไม่ เกินสิบห้ าวันนับแต่ วันเปรียบเทียบ 99
  • 100. กระบวนการเปรี ยบเทียบปรั บ 1. คดีท่ เปรียบเทียบได้ คดีท่ มีอัตรา ี ี โทษจําคุกไม่ เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่ เกินหนึ่งพันบาท หรือทังจําทังปรับ ้ ้ คดีท่ โทษปรับสถานเดียวแต่ ไม่ เกินหนึ่ง ี หมื่นบาท หรือคดีท่ มีกฎหมายพิเศษ ี ให้ เปรียบเทียบปรับได้ 100
  • 101. 2. ผู้มีอานาจเปรียบเทียบ ได้ แก่ พนักงาน ํ สอบสวน หรือพนักงานเจ้ าหน้ าที่ท่ กฎหมาย ี พิเศษได้ กาหนดให้ มีอานาจเปรียบ หรือ ํ ํ คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับในกฎหมาย พิเศษ ข้ อสังเกต การเปรียบเทียบคดีอาญากับการ ปรับทางปกครองมีแนวคิดเดียวกันแต่ มี ขันตอนต่ างกัน ้ 101
  • 102. ขันตอนการเปรี ยบเทียบ ้ 1. 2. 3. 4. 5. พนักงานสอบสวนเห็นควรไม่ ต้องรับโทษจําคุก ผู้เสียหายและผู้ต้องหายินยอมให้ เปรียบเทียบ พนักงานสอบสวนกําหนดค่ าปรับโดยเทียบกับ ความร้ ายแรงของความผิด และกําหนดวันชําระ ค่ าปรับแต่ ต้องไม่ เกินสิบห้ าวัน ผู้ต้องหานําเงินค่ าปรับมาชําระตามกําหนด ถ้ าไม่ นํามาชําระ ดําเนินการต่ อไป (สอบสวนต่ อ) 102
  • 103. พนักงานสอบสวนกาหนดค่าทดแทนให้ ผ้ เู สียหาย การกําหนดค่ าทดแทน คือ ค่ าเสียหายในทางแพ่ งที่ ผู้เสียหายควรได้ รับ จากการกระทําผิดที่ถูกเปรียบเทียบ  พนักงานสอบสวนกําหนดค่ าทดแทนให้ ได้ ตามที่ เห็นสมควร  เมื่อผู้ต้องหาชําระค่ าทดแทนให้ ผ้ ูเสียหายแล้ ว คดีแพ่ งก็ ระงับไป  การชําระค่ าทดแทนไม่ เกี่ยวกับการระงับคดีทางอาญา แม้ ไม่ ชาระค่ าทดแทนแต่ ชาระค่ าปรับคดีอาญาระงับ ํ ํ  103
  • 104.  คดีอาญาเลิกกัน มีอยู่ในกฎหมายอื่นด้ วย ซึ่งอาจเป็ น การเปรี ยบเทียบโดยคณะกรรมการเปรี ยบเทียบ และคดี อาจมีโทษจําคุกเกินหนึ่งเดือน หรื อปรั บเกินกว่ าหนึ่ง หมื่นบาท  พ.ร.บ.ว่ าด้ วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ค พ.ศ. 2534 คดีระงับเพราะการใช้ เงินตามเช็คครบ ไม่ ใช่ การชําระ ค่ าปรั บตามที่เปรี ยบเทียบ  เมื่อเปรี ยบเทียบแล้ ว หากเป็ นคดีท่ ไม่ อาจเปรี ยบเทียบ ี ได้ ต้ องดําเนินคดีต่อไป และคืนเงินค่ าปรั บ 104
  • 105. ฟองซ ้า ้  ม. 39 เมื่อมีคาพิพากษาเสร็ จเด็ดขาดใน ํ ความผิดซึ่งได้ ฟอง ้  เป็ นแนวคิดจากหลักสิทธิมนุษยชน ที่ว่า ผู้กระทําความผิดครั งเดียวจะไม่ ต้องเดือดร้ อน ้ ซําสอง ne bis in idem ้  หลักนีมีปรากฏในกรณีศาลมีคาพิพากษา ้ ํ แล้ วแต่ กมีหลักในการสอบสวนด้ วย ม. 147 ็ 105
  • 106. องค์ประกอบของการฟองซ ้า ้ . จาเลยคนเดียวกัน 2. การกระทากรรมเดียวกัน 3. ศาลมีคาพิพากษาเสร็ จ เด็ดขาดในความผิดที่ได้ ฟอง ้ 1 106
  • 107.  จาเลยคนเดียวกัน หมายถึง จาเลยทังคดีแรกและคดีที่ ้ สองเป็ นคนเดียวกัน ดังนันถ้ าเป็ นจาเลยคนละคน ไม่ ้ เข้ ากรณีนี ้  ดังนันหากฟองผิดตัว ต่อมาจับจาเลยตัวจริ งได้ ก็ ้ ้ สามารถฟ้ องจาเลยคนที่กระทาผิดจริ งได้ อีก  โจทก์จะเป็ นคนเดียวกัน หรื อคนละคนก็ได้ ไม่สาคัญ  กรรมเดียวกัน หมายถึง การกระทาที่นามาฟองนัน เป็ น ้ ้ การกระทาเดียวกับที่ฟองในคาฟองแรก แม้ ว่าฐาน ้ ้ ความผิดจะเป็ นคนละฐานก็ตาม 107
  • 108.  คําพิพากษาเสร็ จเด็ดขาด หมายความว่ า ศาล ได้ มีคาพิพากษาชีขาดว่ าจําเลยกระทําความผิด ํ ้ หรือไม่  แต่ แนวของศาลฎีกาคําพิพากษาดังกล่ าวไม่ จําต้ องถึงที่สุด (ซึ่งต่ างจากคดีแพ่ ง ต้ องถึง ที่สุด) ดังนัน ศาลชันต้ นมีคาพิพากษาก็ถือว่ า ้ ้ ํ เด็ดขาด 108
  • 109. กรณีใดที่ถือว่าศาลพิพากษาเสร็จเด็ดขาด หลัก พิจารณาว่า ศาลได้ วินิจฉัยใน เนือหาของการกระทําจาเลยหรื อไม่ ้ ถ้ าไม่ได้ วินิจฉัย ก็ไม่ถือว่าเด็ดขาดใน ความผิด เช่น ลงโทษจาเลย ถือว่าวินิจฉัยแล้ ว ว่าจาเลยกระทาผิด 109
  • 110. ยกฟองเพราะจําเลยมีเหตุยกเว้ นโทษ ้ แสดงว่ า จําเลยกระทําผิดแต่ มีเหตุยกเว้ น โทษ ยกฟองเพราะจําเลยมีเหตุยกเว้ นความผิด ้ แสดงว่ าจําเลยผิดแต่ การกระทําไม่ ผิด 110
  • 111.  ยกฟองเพราะคดีไม่ มีมูลในชันไต่ สวนมูลฟอง ้ ้ ้  ยกฟองเพราะโจทก์ บรรยายฟองขัดกัน ้ ้  ยกฟองเพราะโจทก์ ไม่ ระบุวัน เวลา สถานที่ใน ้ การกระทําความผิด  ยกฟองเพราะโจทก์ พสูจน์ ให้ ศาลเชื่อไม่ ได้ ว่า ้ ิ จําเลยกระทําความผิด 111
  • 112. ปั ญหา  ยกฟอง เพราะคดีโจทก์ ขาดอายุความร้ อง ้ ทุกข์ ในคดีความผิดต่ อส่ วนตัว  ยกฟองเพราะคดีโจทก์ ขาดอายุความ ้ ฟองร้ อง ้  ยกฟองเพราะโจทก์ ขาดนัดพิจารณา ้  ยกฟองเพราะโจทก์ บรรยายฟองว่ าจําเลย ้ ้ กระทําความผิดหลังฟอง ้ 112
  • 113. ยกฟองเพราะโจทก์ ฟองผิดศาล ้ ้ ยกฟองเพราะโจทก์ ไม่ ได้ ลงชื่อใน ้ ฟอง หรื อฟองโจทก์ ไม่ มีผ้ ูเรี ยง หรื อผ้ ู ้ ้ พิมพ์ ฟอง ้ ยกฟองเพราะโจทก์ ไม่ แก้ ไขคําฟอง ้ ้ 113
  • 114. ฟองซ้ อน ้ จาเลยคนเดียวกัน การกระทา กรรมเดียวกัน โจทก์คนเดียวกัน ฟองขณะที่ยงมีการดาเนินคดีเดิม ้ ั อยู่ 114
  • 115. ขอบเขตของฟองซ้ อนที่จะนามาใช้ กบคดีอาญา ้ ั  อัยการฟอง ผู้เสียหายฟอง ไม่เป็ นฟองซ้ อน ้ ้ ้  อัยการจังหวัดหนึงฟอง ่ ้ อัยการอีกจังหวัดหนึงฟอง ่ ้ ในการกระทากรรมเดียวกัน จาเลยคนเดียวกันเป็ น ฟองซ้ อน ้  ผู้เสียหายแท้ จริ งฟองแล้ ว ผู้มีอานาจจัดการแทน ้ ผู้เสียหายที่แท้ จริ งฟอง เป็ นฟองซ้ อน ้ ้  ผู้เสียหายหลายคน คนหนึงฟอง อีกคนหนึ่งฟอง ไม่ ่ ้ ้ เป็ นฟองซ้ อน ้ 115
  • 116. กฎหมายยกเลิกความผิด กฎหมายยกเว้ นโทษ  กฎหมายยกเลิกความผิด หมายถึง มีกฎหมาย ออกมาภายหลังกาหนดว่าการกระทานันไม่ ้ เป็ นความผิด  กฎหมายยกเว้ นโทษ หมายถึง มีกฎหมาย ออกมายกเว้ นโทษสาหรับการกระทานัน ้  กฎหมายนิรโทษกรรม เป็ นกฎหมายที่ยกเว้ น การกระทาของกลุมคนไม่ให้ เป็ นความผิด ่ 116
  • 117. คดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา 1. ความหมาย 2. กระบวนพิจารณาที่พิเศษกว่าคดี แพ่งโดยทัวไป ่ 3. อัยการขอทรัพย์คืนหรื อราคา แทนผู้เสียหาย 117
  • 118. 4. ผ้ ูเสียหายขอค่ าเสียหายในคดีอัยการ 5. คําพิพากษาคดีอาญา ผูกพันศาลคดี แพ่ ง 6. อายุความฟองคดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องกับ ้ คดีอาญา 118
  • 119.  ความหมาย หมายถึง คดีแพ่ งที่มีมูลมาจากการ กระทําความผิดอาญา  เช่ น ทําร้ ายร่ างกาย ทําให้ ผ้ ูเสียหายได้ รับ บาดเจ็บ การที่ผ้ ูเสียหายได้ รับบาดเจ็บมีมูลมา จากการกระทําผิดฐานทําร้ ายร่ างกาย  กระทําโดยประมาททําให้ ผ้ ูอ่ ืนถึงแก่ ความตาย การที่ทายาทมีสิทธิฟองเรียกร้ องค่ าสินไหม ้ ทดแทนเกิดมาจากการกระทําโดยประมาททาง อาญา 119
  • 120. กรณีที่ไม่มีมลมาจากการกระทาผิด ู  การฟองคดีแพ่ งเพื่อเรี ยกเงินตามเช็ค ้ เป็ นคนละ กรณีกับการฟองคดีอาญาฐานออกเช็คไม่ มีเงิน ้  ฟองคดีแรงงาน ที่นายจ้ างเลิกจ้ างไม่ เป็ นธรรม ้ เพราะไม่ บอกกล่ าวล่ วงหน้ า แต่ จาเลยให้ การว่ า ํ โจกท์ ทุจริตต่ อหน้ าที่จงเลิกจ้ าง การทุจริตต่ อ ึ หน้ าที่ไม่ ได้ เป็ นเหตุให้ ก่อให้ เกิดสิทธิท่ จะไม่ จ่าย ี ค่ าจ้ าง จึงไม่ เกี่ยวเนื่องกัน (ฎ. 5285/2545) 120
  • 121. กระบวนการพิจารณาที่พเศษกว่ าคดีแพ่ งโดยทั่วไป ิ  ฟองคดีแพ่ งในศาลส่ วนอาญาได้ ้  พนักงานอัยการร้ องขอทรั พย์ คืนให้ แก่ ผู้เสียหายได้ ม. 43  ผู้เสียหายขอค่ าเสียหายเข้ ามาในคําฟอง ้ คดีอาญาของพนักงานอัยการได้ ม. 44/1 – 44/2 121
  • 122. ข้ อเท็จจริ งในคดีอาญาผูกพันคดีแพ่ ง อายุความฟองคดีอาญานํามาเป็ นอายุ ้ ความฟองคดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องคดีอาญาใน ้ กรณีท่ ฟองจําเลยในคดีอาญาให้ รับผิด ี้ ค่ าเสียหาย 122
  • 123. ข้ อที่เหมือนกับคดีแพ่งโดยทัวไป ่  การพิจารณาคดีใช้ วิธีพิจารณาความแพ่ง  พยานหลักฐานในคดีแพ่งสืบเพิ่มได้ หาก ข้ อเท็จจริงที่นาสืบในคดีอาญามีไม่เพียงพอ  สาระบัญญัติในส่วนแพ่งถือตาม ป.พ.พ. แม้ จาเลยไม่ต้องรับผิดทางอาญา 123
  • 124. การฟองคดี ้  ฟองคดีแพ่ งตามเขตอํานาจศาลตาม ป.วิ.แพ่ ง ้  ฟองคดีแพ่ งในศาลซึ่งพิจารณาคดีส่วนอาญา ้  ศาลอาญาซึ่งรั บฟองคดีแพ่ งเกี่ยวเนื่องเมื่อรั บ ้ ฟองแล้ วหากเห็นว่ าการดําเนินคดีแพ่ งจะทํา ้ ให้ คดีอาญาเนิ่นช้ าติดขัด ก็ส่ ังให้ ให้ แยกไป ฟองต่ างหากได้ ้ 124
  • 125.  ถ้ าพยานหลักฐานในคดีอาญาที่นําสืบแล้ วไม่ พอที่จะตัดสินคดีแพ่ ง ศาลมีอานาจสืบพยาน ํ เพิ่มเติมได้  กรณีสืบเพิ่มเติม ศาลมีอานาจพิพากษาคดีอาญา ํ ก่ อนได้  การวินิจฉัยความรั บผิดทางแพ่ งให้ ถือตาม ความรั บ ผิดของบุคคลทางแพ่ ง การวินิจฉัยความรั บผิดทาง อาญา ถือตาม ความรั บผิดของบุคคลทางอาญา 125
  • 126. อัยการขอคืนทรัพย์  คดี 9 คดี คือ ลัก วิ่ง ชิง ปล้ น โจรสลัด กรรโชก ฉ้ อโกง ยักยอก รับของโจร  พนักงานอัยการฟองคดีอาญาแล้ ว มีสิทธิ ้ เรียกทรัพย์ สินหรือราคาที่ผ้ ูเสียหาย สูญเสียไปเนื่องจากการกระทําความผิดคืน  ขอมาในคําฟองส่ วนอาญาหรื อเป็ นคําร้ อง ้ ภายหลังได้ 126
  • 127. คําพิพากษาให้ คืนหรื อใช้ ราคาทรั พย์ สิน ตามมาตรา 43 ให้ ศาลพิพากษารวมเป็ น ส่ วนหนึ่งของคําพิพากษา เมื่อศาลพิพากษาให้ คืนแล้ ว ผู้เสียหายเป็ น เจ้ าหนีตามคําพิพากษา มีสิทธิขอหมาย ้ บังคับคดี 127
  • 128. เจ้ าพนักงานยักยอก ม. 147 เจ้ าพนักงานกรรโชก ม. 148, 149 โกงเจ้ าหนี ้ ฉ้ อโกงแรงงาน 128
  • 129. ค่ าไถ่ ทรั พย์ กรณีทรั พย์ ถูกลักและไปขาย ให้ แก่ ผ้ ูท่ รับซือไว้ ี ้ ค่ าไถ่ ทรั พย์ กรณีเจ้ าของโรงรั บจํานํารั บ จํานําไว้ โดยสุจริตและราคาไม่ เกินที่ กฎหมายกําหนด ศาลสั่งให้ จาเลยไถ่ ทรั พย์ ท่ จานําไว้ เพื่อมา ํ ี ํ ให้ โจทก์ 129
  • 130. หนังสือสัญญากู้ท่ ลูกหนีก้ ูเจ้ าหนีไป ี ้ ้ จํานวน 50,000 บาท ตั๋วจํานํา ซึ่งจํานําไปเป็ นเงิน 2,000 บาท สลากกินแบ่ งรั ฐบาลที่ถูกรางวัลที่ 2 แต่ ถูกลักไป และนําไปขึนเงินแล้ ว ้ 130
  • 131. กรณี ผู้เสียหายเรี ยกค่ าสินไหมทดแทนใน คําฟองส่ วนอาญา ้ เป็ นกรณีท่ ผ้ ูเสียหายมีสิทธิเรี ยกค่ าทดแทน ี เพราะเหตุท่ ได้ รับความเสียหายแก่ ชีวิต ี ร่ างกาย จิตใจหรือได้ รับความเสื่อมเสีย เสรีภาพในร่ างกาย ชื่อเสียง หรือความ เสียหายทางทรัพย์ สิน 131
  • 132.  ยื่นคําร้ องต่ อศาลในคดีท่ พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ ี ก่ อนเริ่มสืบพยาน หรือก่ อนศาลวินิจฉัยชีขาด ้  คําร้ องต้ องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับความ เสียหายและจํานวนค่ าสินไหมทดแทน  คําร้ องที่ขอกรณีอ่ นที่ไม่ ใช่ ค่าเสียหายไม่ ได้ และ ื ต้ องไม่ ขัดหรือแย้ งกับคําฟองของพนักงานอัยการ ้ และหากอัยการขอตาม ม. 43 แล้ วขออีกไม่ ได้ 132
  • 133.  เมื่อได้ รับคําร้ องแล้ ว ให้ ศาลแจ้ งให้ จาเลย ํ ทราบ  จําเลยมีสิทธิให้ การหรื อไม่ ให้ การก็ได้ และให้ ศาลบันทึกไว้  ถ้ าจําเลยประสงค์ จะให้ การ ให้ ศาล กําหนดเวลาที่จาเลยยื่นคําให้ การภายในเวลา ํ อันสมควร 133
  • 134.  เมื่อพนักงานอัยการสืบพยานเสร็ จ ผู้เสียหาย นําพยานเข้ าสืบถึงค่ าสินไหมทดแทนเท่ าที่ จําเป็ นตามที่ศาลอนุญาต  หรื อศาลอาจพิพากษาคดีอาญาไปก่ อนแล้ วจึง พิจารณาพิพากษาคดีส่วนแพ่ งก็ได้  หากผู้เสียหายไม่ มีทนายความเพราะยากจน ให้ ศาลจัดหาให้ และให้ ทนายได้ เงินรางวัลและ ค่ าใช่ จ่าย ตามระเบียบ 134
  • 135. คําพิพากษาในส่ วนการคืนทรั พย์ สินและ ค่ าเสียหาย ราคาทรั พย์ สินศาลกําหนดให้ ตามราคา อันแท้ จริง ส่ วนจํานวนค่ าเสียหาย กําหนดให้ ตามความเสียหายแต่ ไม่ เกิน คําขอ แม้ ไม่ มีการฟองคดีส่วนแพ่ ง เมื่อ ้ พิพากษาส่ วนอาญา ศาลสั่งให้ คืน ทรัพย์ สินแก่ เจ้ าของได้ 135
  • 136. เมื่อปรากฏเจ้ าของ ให้ คืนต่ อเจ้ าของ ถ้ าไม่ ปรากฏให้ เจ้ าพนักงานรักษาของนันจนกว่ า ้ จะปรากฏตัว หากมีการโต้ แย้ งต้ องไป ฟองร้ องในศาลที่ม่ ีอานาจชําระ ้ ํ คําพิพากษาที่ให้ คืนหรื อใช้ ราคาทรั พย์ หรื อ ค่ าสินไหมทดแทน แก่ ผ้ ูเสียหาย ให้ ถือว่ า ผู้เสียหายเป็ นเจ้ าหนีตามคําพิพากษา ้ 136
  • 137. คําพิพากษาคดีอาญาผูกพันคดีแพ่ ง 1. 2. 3. 4. คดีแพ่ งตัดสินหลังคดีอาญา คู่ความเดียวกัน เหตุท่ นํามาฟองเป็ นเหตุเดียวกัน ี ้ และเป็ นประเด็นโดยตรงใน คดีอาญา ศาลคดีอาญาตัดสินยุตแล้ ว(ถึงที่สุด) ิ 137
  • 138.  อ้ างยันได้ เฉพาะจําเลยในคดีอาญา ไม่ รวมถึง บุคคลภายนอก  คดีอาญาศาลลงโทษเพราะจําเลยประมาท คดีแพ่ ง ผู้เสียหายฟองจําเลยคดีอาญาและนายจ้ าง กรณีนี ้ ้ นายจ้ างสามารถสืบได้ ว่าจําเลยไม่ ประมาท  คดีอาญาศาลยกฟองเพราะจําเลยไม่ ประมาท คดี ้ แพ่ งผู้เสียหายฟองจําเลยและนายจ้ าง ดังนี ้ ้ นายจ้ างไม่ ต้องรับผิดเพราะลูกจ้ างไม่ ละเมิด 138
  • 139. คดีอาญาศาลยกฟองเพราะการร้ องทุกข์ ไม่ ้ ชอบเพราะหนังสือมอบอํานาจไม่ ประทับตราห้ างฯ การสอบสวนไม่ ชอบ อัยการไม่ มีอานาจฟอง คดีแพ่ ง มีประเด็น ํ ้ ว่ าโจทก์ ครอบครองที่พพาทหรือไม่ ดังนี ้ ิ ศาลคดีอาญายังไม่ ได้ วินิจฉัยว่ าจําเลยทํา ให้ เสียทรัพย์ หรือไม่ ศาลคดีแพ่ งไม่ ต้องถือ ตาม (ฎ. 4377/2546) 139
  • 140. อายุความ ถ้ าไม่ มีผ้ ูใดฟองอาญา อายุความฟอง ้ ้ แพ่ ง ถือตามอายุความฟองอาญา ้ แม้ ว่าผู้เยาว์ หรือผู้วกลจริตจะเป็ นผู้ ิ ฟอง (ก็ไม่ ขยายออกไป) ้ ถ้ าฟองคดีอาญาแล้ ว แต่ คดียังไม่ ้ เด็ดขาด ฟองคดีแพ่ งได้ เพราะอายุ ้ ความหยุดลง 140
  • 141.  ถ้ าฟองคดีอาญาแล้ ว แต่ คดีเด็ดขาดเพราะศาล ้ ลงโทษ อายุความฟองคดีแพ่ งฟองได้ อีกไม่ เกิน ้ ้ สิบปี นับแต่ วันที่ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุด ํ  ถ้ าฟองคดีอาญาแล้ วและคดีเด็ดขาดโดยศาล ้ ยกฟอง อายุความเป็ นไปตาม ป.พ.พ. ้  ใช้ กับจําเลยในคดีอาญาเท่ านัน ไม่ เกี่ยวกับ ้ บุคคลภายนอกเช่ นนายจ้ าง ผู้คาประกัน ํ้ 141
  • 142. การจากัดเสรี ภาพของประชาชนโดยเจ้ าพนักงาน  เหตุผล คือ ต้ องการให้ เจ้ าพนักงานมีอานาจใน เข้ าถึงพยานหลักฐาน ไม่วาจะเป็ นพยานวัตถุ ่ พยานบุคคล พยานเอกสาร และการเอาตัว ผู้ต้องหาไว้ เพื่อสอบสวนหรื อแจ้ งข้ อหา หรื อ ปองกันมิให้ หนีหรื อยุ่งกับพยานหลักฐาน จึง ้ ต้ องมีการจากัดเสรี ภาพของประชาชนและของ ผู้ถกกล่าวหา ู 142
  • 143. รูปแบบของการจากัดเสรี ภาพ  เสรี ภาพในการเคลื่อนไหว  หมายเรี ยกพยานบุคคล หมายเรี ยกให้ ส่ง เอกสารหรื อพยานวัตถุ  จับ เรี ยกให้ หยุดเพื่อค้ น ควบคุมที่สถานี ตํารวจ ขังระหว่ างพิจารณา  เสรี ภาพในการครอบครองอสังหาริ มทรั พย์  ค้ นที่รโหฐาน 143
  • 144.  เสรี ภาพในความเป็ นส่ วนตัว รวมถึงการ ติดต่ อสื่อสาร ข้ อมูลส่ วนตัว  ค้ นกรณีพเศษ ม. 105 ิ  ค้ น หรื อดักฟั งทางโทรศัพท์ หรื อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ค้ นข้ อมูลในระบบ internet  ตรวจตัวผู้เสียหาย ตรวจตัวผู้ต้องหา  การตรวจค้ นตัวเพื่อนําส่ วนประกอบของร่ างกาย ไปตรวจทางนิติวทยาศาสตร์ ิ 144
  • 145. หมายเรี ยก  หนังสือบงการเพื่อให้ มาที่สถานีตารวจหรื อศาล เพื่อให้ ถ้อยคา หรื อให้ สงทรัพย์หรื อเอกสารให้ ่ เพื่อใช้ เป็ นพยานหลักฐานในคดีอาญา  หนังสือบงการเพื่อให้ ผ้ ต้องหาหรื อจาเลยมาที่ ู สถานีตารวจหรื อศาล เพื่อแจ้ งข้ อหาหรื อเพื่อ ฟั งการพิจารณาคดี 145
  • 146. หน้ าที่ในการปฏิบติตามหมายเรี ยก ั - มาตามหมาย ให้ ถ้อยคา และ ให้ ถ้อยคาที่เป็ นจริ ง  หมายเรี ยกให้ สงทรัพย์ให้ – ส่งทรัพย์หรื อเอกสาร ่ ให้ ไม่ต้องมาก็ได้  หมายเรี ยกผู้ต้องหาหรื อจาเลย – มาตามหมาย ตอบคาถามเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ แต่ไม่ต้องตอบคาถาม ที่เกี่ยวกับที่ถกกล่าวหา ู  หมายเรี ยกพยาน 146
  • 147. ถ้ าไม่ ปฏิบัติตามหมายเรี ยกโดยเจตนาขัดหมาย  หมายเรี ยกพยาน มีความผิดฐานขัดคาสังหรื อขัดหมายเรี ยก ่  หมายเรี ยก ผู้ต้องหาหรื อจาเลย ไม่มีความผิดแต่เป็ นเหตุออก หมายจับ ตามมาตรา 66 วรรคท้ าย  มาแล้ วไม่ให้ การ พยานมีความผิด ผู้ต้องหาหรื อจาเลย ไม่ผิด  ให้ การเท็จ พยานมีความผิดฐานแจ้ งความเท็จหรื อเบิกความ เท็จ  ผู้ต้องหาหรื อจาเลย ไม่มีความผิดฐานแจ้ งความเท็จหรื อเบิก ความเท็จ ยกเว้ นการแจ้ งชื่อหรื อที่อยูอนเป็ นเท็จ มีความผิดลหุ ่ ั โทษ 147
  • 148. การส่ งหมายเรี ยก  ส่ งให้ ท่ ภมิลาเนาของผู้ต้องหาหรื อจําเลย/พยาน ี ู ํ  ส่ งให้ กับตัวผู้ต้องหาหรื อจําเลย พยาน เมื่อพบตัว  ถ้ าไปส่ งที่บ้าน ถ้ าไม่ อยู่ ส่ งให้ ผ้ ูมีอายุ 20 ปี ณ ที่ บ้ านรับแทน  กรณีผ้ ูต้องหา ถ้ าไม่ อยู่ต้องส่ งให้ แก่ สามีภริ ยา บิดา มารดาหรือญาติ  หลักการวางหมายและการปิ ดหมายใช้ หลัก ป.วิ. แพ่ ง 148
  • 149. หมายอาญา  หมายที่ศาล ออกเพื่อจากัดเสรี ภาพของผู้ต้องหาหรื อ จาเลย มีอยู่ 5 ประเภทคือ  หมายค้ น  หมายจับ  หมายขัง  หมายจาคุก  หมายปล่อย 149