SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1
โครงงานรายวิชาชีววิทยา
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นเล็บครุฑ
นาเสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกกลุ่มนาเสนอ
นายกิตติธัช พิสชาติ เลขที่ 25
นายณัฐชนน สรรค์พฤกษ์สิน เลขที่ 28
นายตรีวิทย์ ดารงรัตน์ เลขที่ 29
นายศิรวิทย์ ศุภศิลป์ เลขที่ 37
นายอภิวิชญ์ ศิริเศรษฐ์ เลขที่ 38
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง143
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5(ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
2
คำนำ
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5(ว 30245) โดยมีจุดประสงค์เพื่อทดลองการส่งผล
ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อต้นเล็บครุฑว่าต้นเล็บครุฑที่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินจะมีความสูง
เพิ่มขึ้นหรือไม่และเพื่อทดสอบว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินปริมาณเท่าใดที่เหมาะสมที่สุดในการเติบโต
ของต้นเล็บครุฑเพื่อให้ต้นเล็บครุฑเจริญดีและสวยงาม
ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องจากเป็นหัวข้อที่น่าสนใจ รวมถึงเป็นการฝึก
ทักษะการคิดทางวิทาศสาสตร์และฝึกการทดลองทางวิทยาศสาสตร์ ผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณ
อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้
และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆท่าน
คณะผู้จัดทา
3
สำรบัญ
เรื่อง หน้า
ที่มาและความสาคัญ 4
ข้อมูลของพืชและรายละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ในการทดลอง 5-6
สมมติฐานในการทดลอง 7
จุดประสงค์ในการทดลอง 7
ตัวแปรในการทดลอง 8
รายละเอียดอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง 8
ระยะเวลาในการทดลอง 9
วิธีการเก็บข้อมูลผลการทดลอง 9
ขั้นตอนการทดลอง 10-11
ผลการทดลอง 12-13
สรุปผลการทดลอง 14
บรรณานุกรม 15
4
ปัญหำ ที่มำและควำมสำคัญ
ต้นเล็บครุฑเป็นต้นไม้ประดับที่มีขนาดเล็ก ซึ่งในบางครั้งก็สูงไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้
ที่นามาปลูก เพราะผู้ที่นามาปลูกบางคนอาจต้องการต้นไม้ประดับที่มีขนาดที่เหมาะสม ไม่เล็กและไม่
ใหญ่จนเกินไป ทางคณะผู้จัดทาจึงได้หาวิธีเพิ่มความสูงของต้นเล็บครุฑโดยการใช้ฮอร์โมนเร่งความสูง
ของต้นไม้ แต่ก็ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าต้องใช้ฮอร์โมนใดในปริมาณเท่าไหร่ ต้นเล็บครุฑจึงจะมีความสูง
และสวยงามได้มากที่สุด
คณะผู้จัดทาจึงได้ทาการทดลองในการศึกษาเพื่อหาวิธีการเพิ่มความสูงของต้นเล็บครุฑโดยใช้
ฮอร์โมนในการพิ่มความสูงของต้นไม้ ในปริมาณที่ต่างกันเพื่อหาปริมาณที่เหมาะสมที่สุด ในที่นี้ทาง
คณะผู้จัดทาได้เลือกฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมาใช้ในการทดลอง โดยตั้งปัญหาโครงงานนี้ว่า ฮอร์โมน
จิบเบอเรลลิน มีผลต่อความสูงของต้นเล็บครุฑหรือไม่ และควรใช้ในปริมาณ่าใดต้นเล็บครุฑจึงจะมี
ความสูงและสวยงามมากที่สุด
5
ข้อมูลของพืชและรำยละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ในกำรทดลอง
1. ต้นเล็บครุฑ
ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyscias balfouriana
สกุล Polyscias
วงศ์ Arallaceae
เล็บครุฑ (อังกฤษ: Polyscias) เป็นสกุลของพรรณไม้ยืนต้น ในสกุล Polyscias มีทั้งหมด 114
ชนิด มีลักษณะเป็นพุ่มขนาดเล็ก ลาต้นมีความสูงประมาณ 1-3 เมตร ลาต้นมีผิวเปลือกสีเขียวหรือ
สีน้าตาล ลาต้นเป็นข้อเล็ก ๆ ผิวเปลือกเรียบหรือมีจุดเล็ก ๆ ประอยู่ทั่วต้น ใบเป็นใบประกอบมี
ใบย่อยติดอยู่ที่ก้านใบประมาณ 5-7 ใบ ขอบใบเป็นหยัก ใบมีสีเขียวเมื่อขยี้ใบดูจะมีกลิ่นฉุน ลักษณะ
ของใบและขนาด ขึ้นอยู่กับชนิด พบว่า ใบเล็บครุฑบางชนิดสามารถนามาปรุงเป็นอาหารได้เช่น นามา
ทอดเป็นทอดมัน หรือ นามาทาเป็นผักจิ้ม กินกับน้าพริกต่าง ๆ ได้
ภำพที่ 1 ต้นเล็บครุฑ
6
2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการ
เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว
การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล
จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa
ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิด
จากเชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro
Yabuta จากเชื้อรา G. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่าทาให้
พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิดแรก
ตั้งชื่อว่าจิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช
ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย
ภำพที่ 2 โครงสร้ำงทำงเคมีของจิบเบอเรลลิน
7
สมมติฐำนในกำรทดลอง
จากหัวข้อการทดลองที่ตั้งไว้ว่า การทดลองว่าปริมาณจิบเบอเรลลินส่งผลต่อวามสูงของต้น
เล็บครุฑหรือไม่ และปริมาณจิบเบอเรลลินเท่าใดมีความเพียงพอต่อการเติบโตโดยที่ไม่เกิดอาการ
ผิดปกติต่อต้นเล็บครุฑ สามารถตั้งสมมติฐานได้คือ
1. เมื่อมีการใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในการดูแลต้นเล็บครุฑ จะทาให้ต้นเล็บครุฑสูงขึ้น
2. การใช้จิบเบอเรลลินในปริมานที่มีความเข้มข้นมาก (high dose) จะทาให้ต้นเล็บครุฑมีความสูง
มากกว่าการใช้ไซโตไคนินในปริมาณที่มีความเข้มข้นน้อย (low dose)
จุดประสงค์ในกำรทดลอง
1. เพื่อทดลองการส่งผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อต้นเล็บครุฑ
2. เพื่อทดสอบว่าจิบเบอเรลลินปริมาณใดที่เหมาะสมที่สุดในการเติบโตของต้นเล็บครุฑ
8
ตัวแปรในกำรทดลอง
ตัวแปรต้น ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
ตัวแปรตาม ความสูงของต้นเล็บครุฑ
ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้า
ความเข้มข้นของแสง
อุณหภูมิ
รำยละเอียดอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรทดลอง
ต้นเล็บครุฑ 9 ต้น
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
ขวดสเปรย์ 3 ขวด
กระถางเปล่า 9 กระถาง
ฟิวเจอร์บอร์ด
ภำพที่ 3 ต้นเล็บครุฑที่ใช้ทดลอง
9
ระยะเวลำในกำรทดลอง
ใช้เวลาในการศึกษาทั้งสิ้น 2 เดือน
เริ่มการทดลองเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2560 ถึงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2560
ขั้นตอนในการเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2560 ถึงวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2560
ขั้นตอนในการวางแผนดาเนินการทดลอง
วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2560 ถึงวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2560
ขั้นตอนในการเก็บผลการทดลอง
วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2560 ถึงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2560
ขั้นตอนในการสรุปผลการทดลองและจัดทารายงาน
วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2560 ถึงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2560
วิธีกำรเก็บข้อมูลผลกำรทดลอง
เพื่อลดความผิดพลาดของการวัดความสูงต้นไม้จากระดับของดินที่ไม่เท่ากันในแต่ละกระถาง
ทางคณะผู้จัดทาจึงได้ทาการวัดความสูงต้นไม้จากที่ขอบกระถางต้นไม้ วัดขึ้นไปจนถึงระดับยอดของ
ต้นไม้ เพื่อความถูกต้องแม่นยาในการเก็บข้อมูลผลการทดลองและมีการบันทึกผลการทดลองลงตาราง
บันทึกผลทุกครั้งที่เก็บผลการทดลอง
10
ขั้นตอนในกำรทดลอง
1. การซื้ออุปกรณ์และพืชที่ใช้ทดลอง
คณะผู้จัดทาได้เดินทางไปยัง ตลาดนัดสวนจัตุจักร ในวันเสาร์ที่ 27 พฤษภาคม 2560 เพื่อไป
ซื้ออุปกรณ์และพืชที่ในการทดลอง อันได้แก่ ต้นเล็บครุฑจานวน 9 ต้น กระถางต้นไม้จานวน 9 ถาด ที่
รองกระถางต้นไม้ 9 ชิ้น และกระบอกฉีด 3 กระบอก
2. การผสมฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
คณะผู้จัดทาได้เตรียมฮอร์โมนพืช โดยแบ่งฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับกลุ่มที่3 ในวันที่ 12
มิถุนายน 2560 โดยใช้หลอดฉีดยาในการตวงฮอร์โมน สาหรับสารละลายจิบเบอเรลลินโดยชุดควบคุม
จะใช้น้าเปล่าปริมาตร 400 มิลลิลิตร และ ชุดlow dose จะใช้สารละลายจิบเบอเรลลิน ความเข้มข้น
10 ppm และสาหรับชุดhigh dose จะใช้สารละลายจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 5000 ppm
ภำพที่ 4 อุปกรณ์ที่ใช้ทดลอง
ภำพที่ 5 ต้นไม้ที่ได้รับกำรฉีดฮอร์โมน
11
3. ขั้นตอนในการทาการทดลอง
คณะผู้จัดทาได้เตรียมทาการทดลอง ด้วยการฉีดฮอร์โมนให้ต้นไม้ทั้ง 9 ต้นด้วยฮอร์โมน
แตกต่างกัน 3 ต้นแรกหรือชุดควบคุมเป็นน้าเปล่า 3 ต้นถัดมาหรือชุดlow doseเป็นสารละลาย
จิบเบอเรลลินความเข้มข้น 10 ppm และ 3 ต้นสุดท้ายหรือชุดhigh doseเป็นสารละลาย
จิบเบอเรลลินความเข้มข้น 5000 ppm ด้วยกระบอกฉีดต้นละ 4 ครั้งการกดกระบอกฉีด โดย 2
ครั้งแรกพ่นบริเวณใบและอีก 2 ครั้งพ่นบริเวณลาต้น สัปดาห์ละ 1 ครั้งช่วงพักกลางวัน และมีการ
รดน้าอย่างสม่าเสมอวันละ 1 ครั้ง (ทาทุกวันยกเว้นวันเสาร์-อาทิตย์และวันที่โรงเรียนหยุดเรียน)
4. ขั้นตอนในการบันทึกผลการทดลอง
คณะผู้จัดทาได้บันทึกทาการทดลอง ด้วยการวัดความสูงต้นซึ่งวัดจากขอบกระถางทุกครั้งเพื่อ
ความถูกต้องแม่นยาในการเก็บผลการทดลอง โดยจะเก็บผลการทดลองสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ภำพที่ 6 กำรฉีดฮอร์โมน
ภำพที่ 7 ตำรำงที่ใช้บันทึกผลกำรทดลอง
12
ผลกำรทดลอง
แบบบันทึกผลการทดลอง: ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นเล็บครุฑ
กลุ่มที่ 10 ห้อง 143
วันที่
บันทึกผล
ความสูงของต้นเล็บครุฑ(เซนติเมตร)
ชุดความคุม ชุดLow dose ชุดHigh dose
ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ค่าเฉลี่ย ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ค่าเฉลี่ย ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ค่าเฉลี่ย
12 มิ.ย. 2560 6.5 6.2 6.4 6.36 6.6 6.3 6.4 6.43 8.2 7.9 9.3 8.46
15 มิ.ย. 2560 6.5 6.3 6.5 6.43 6.8 6.4 6.5 6.56 8.4 8.5 9.8 8.9
19 มิ.ย. 2560 6.6 6.3 6.6 6.5 7.0 6.5 6.7 6.73 8.7 8.7 10.8 9.4
22 มิ.ย. 2560 6.7 6.4 6.7 6.6 7.3 6.5 7.0 6.93 9.1 9.1 11.5 9.9
26 มิ.ย. 2560 6.8 6.5 6.8 6.7 7.7 6.6 7.3 7.2 9.4 9.4 12.0 10.26
29 มิ.ย. 2560 6.9 6.5 6.9 6.76 7.8 6.8 7.5 7.36 9.8 9.7 12.7 10.73
4 ก.ค. 2560 6.9 6.6 7.0 6.83 8.1 6.9 7.8 7.6 10.0 9.9 13.3 11.06
7 ก.ค. 2560 7.0 6.6 7.1 6.9 8.2 7.0 7.8 7.66 10.1 10.4 14.0 11.5
11 ก.ค. 2560 7.1 6.7 7.1 6.96 8.4 7.0 8.0 7.8 10.4 10.9 14.6 11.96
14 ก.ค. 2560 7.2 6.8 6.96 7.06 8.5 7.1 8.1 7.9 10.7 11.3 15.5 12.5
17 ก.ค. 2560 7.3 6.8 7.3 7.13 8.7 7.2 8.2 8.0 11.2 11.9 17.2 13.43
24 ก.ค. 2560 7.5 6.9 7.4 7.26 9.2 7.3 8.7 8.4 12.0 13.1 18.1 14.4
31 ก.ค. 2560 7.7 7.0 7.5 7.4 9.7 7.5 9.0 8.73 12..5 14.5 19.0 15.3
ภำพที่ 8 ตำรำงบันทึกผลกำรทดลอง
13
กราฟบันทึกผลการทดลอง
14
สรุปผลกำรทดลอง
กลุ่มต้นเล็บครุฑที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเข้มข้น 0% โดยปริมาตรมีความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น
1.04 เซนติเมตร ในขณะที่กลุ่มต้นเล็บครุฑที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเข้มข้น 10 ppm โดยปริมาตรมี
ความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 2.3 เซนติเมตร และกลุ่มต้นเล็บครุฑที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเข้มข้น 5,000
ppm โดยปริมาตรมีความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 6.84 เซนติเมตร ซึ่งให้ความหมายได้ว่า ฮอร์โมนจิบเบอ
เรลลินมีผลต่อความสูงของพืชอย่างมีนัยสาคัญ โดยฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะส่งผลให้พืชมี
ความสูงที่มากกว่าและเร็วกว่า
15
บรรณำนุกรม
1. https://th.wikipedia.org/wiki/จิบเบอเรลลิน
2. www.rukbarn.com/3848/
3. https://th.wikipedia.org/wiki/เล็บครุฑ_(พรรณไม้)
4. www.ptcn.ac.th/student/Sand9.html
5. www.thaikasetsart.com/จิบเบอเรลลิน/
6. www.farmlandthai.com/2017/03/blog-post_11.html
7. www.chiangraifocus.com/forums/index.php?topic=773324.0;

More Related Content

Similar to M6 143 60_10

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
jirupi
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
Suriya Phongsiang
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
Suriya Phongsiang
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
dnavaroj
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
Wichai Likitponrak
 
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
mas_686
 
2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13
Piboon Yasotorn
 
2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13
Piboon Yasotorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 

Similar to M6 143 60_10 (20)

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ยโครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
โครงงานทายใจเลขอะไรเอ่ย
 
Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)Plant biology (258121) biology ii (243102)
Plant biology (258121) biology ii (243102)
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
ประชาสัมพันธ์ ไตรมาสที่ 1 2 ประจำปี 2560
ประชาสัมพันธ์ ไตรมาสที่ 1 2 ประจำปี 2560ประชาสัมพันธ์ ไตรมาสที่ 1 2 ประจำปี 2560
ประชาสัมพันธ์ ไตรมาสที่ 1 2 ประจำปี 2560
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2560
 
Sc iday2562 gs
Sc iday2562 gsSc iday2562 gs
Sc iday2562 gs
 
Biologycamp1posn2562
Biologycamp1posn2562Biologycamp1posn2562
Biologycamp1posn2562
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
Gst ureport oph61
Gst ureport oph61Gst ureport oph61
Gst ureport oph61
 
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
คู่มือการจัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
 
2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13
 
2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 143 60_10