SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสาคัญ
(ENDOCRINE SYSTEM)
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสาคัญ (ENDOCRINE SYSTEM)
• 1. ต่อมไร้ท่อและฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ
• 2. ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มีกระดูกสันหลัง (มนุษย์)
• 2.1 สมองส่วนไฮโปทาลามัส
• 2.2 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า/ส่วนกลาง/ส่วนหลัง
• 2.3 ต่อมไพเนียล
• 2.4 ต่อมไทรอยด์และพาราไทรอยด์
• 2.5 ต่อมหมวกไตชั้นนอก/ชั้นใน
• 2.6 ต่อมเพศ : รังไข่และอัณฑะ ฯลฯ
ต่อมไร้ท่อและฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE SYSTEM)
• ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อ
เซลล์เป้าหมายโดยผ่าน extracellular fluid เช่น กระแส
เลือด ซึ่งแตกต่างกับ ต่อมมีท่อ (exocrine gland) ซึ่งเป็น
ต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อเซลล์เป้าหมายโดยผ่านท่อ
ฮอร์โมน (HORMONE)
• ฮอร์โมน หมายถึงสารเคมีที่สร้างมาจากเซลล์ของต่อมไร้ท่อ
(endocrine cell) และไปมีผลควบคุมการทางานของ
เซลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างออกไป โดยขนส่งไปตามกระเส
เลือด
• การทางานของร่างกายที่ควบคุมโดยฮอร์โมนหรือสารเคมี
เรียก chemical control และเรียกกลุ่มสารเคมีดังกล่าวว่า
chemical messenger หรือ molecular messenger :
ตัวนาข่าว (ตัวที่ 1 ,2 ,….)
ลักษณะสาคัญของต่อมไร้ท่อ
1. ไม่มีท่อลาเลียงสารที่ผลิตได้ออกภายนอกต่อม
2. มีเส้นเลือดจานวนมาก ทาหน้าที่ลาเลียงสารที่ต่อผลิต ไปยังอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
3. เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของต่อมมีรูปร่างพิเศษแตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
4. สารที่ผลิตได้จะมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถถูกสร้างได้จากต่อมอื่น
5. สารที่ผลิตได้มีผลต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะของตนเองในลักษณะจาเพาะ
เนื้อเยื่อ ต่อมไร้ท่อ ประเภทฮอร์โมน
Ectoderm Pituitary gland , pineal gland, adrenal medulla amine, protein
Mesoderm Adrenal cortex, testis , ovary steroid
Endoderm Thyroid gland , parathyroid gland , Islet of Langerhans amine, protein
7
พัฒนาการของต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อในคนมีต้นกำเนิดมำจำกเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และเริ่มเจริญตั้งแต่ระยะเอ็มบริโออำยุประมำณ 4-12
สัปดำห์ และกลำยเป็นต่อมที่สมบูรณ์เต็มที่เมื่อเอ็มบริโออำยุประมำณ 7-16 สัปดำห์
ประเภทของต่อมไร้ท่อ
สามารถแบ่งตามความสาคัญของฮอร์โมนที่ต่อมไร้ท่อสร้างขึ้นมาได้เป็น 2
ประเภท คือ
1) ต่อมไร้ท่อที่จาเป็นต่อชีวิต (Essential endocrine gland) เป็นต่อมไร้
ท่อที่จาเป็นอย่างมากต่อร่างกาย ถ้าหากขาดต่อมต่อไปนี้แล้วแล้วทาให้
เสียชีวิตทันที ได้แก่ ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid) ต่อมหมวกไต
ชั้นนอก (adrenal cortex) และต่อมไอส์เลตของตับอ่อน (islets of
Langerhans)
2) ต่อมไร้ท่อที่ไม่จาเป็นต่อชีวิต (Non - Essential endocrine gland)
เป็นต่อมที่ไม่จาเป็นหรือจาเป็นน้อยมากต่อร่างกาย ถ้าหากขาดต่อม
ต่อไปนี้แล้วไม่ทาให้ถึงตาย ได้แก่ ต่อมใต้สมอง (pituitary) ต่อมไทรอยด์
(thyroid) ต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) ต่อมไพเนียล
(pineal) ต่อมไทมัส (thymus) ต่อมเพศ (gonads) เป็นต้น
9
การค้นพบฮอร์โมน
ค.ศ. 1848 Arnold A. Berthold ทดลองตัดอัณฑะของลูกไก่ตัวผู้ออก ไก่สามารถเจริญเติบโตได้แต่ลักษณะทางเพศเปลี่ยนแปลงไป คือ
หงอนและเหนียงคอมีขนาดเล็ก เมื่อนาอัณฑะใส่กลับไปในไก่ตัวผู้ที่ถูกตัดอัณฑะออกและปล่อยให้เจริญเติบโตระยะหนึ่ง ปรากฏว่าหงอนและ
เหนียงคอขยายใหญ่เหมือนไก่ตัวผู้ปกติ สรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงหงอนและเหนียงคอซึ่งเป็นลักษณะจาเพาะของไก่ตัวผู้เกี่ยวข้องกับ
อัณฑะ
10
การค้นพบฮอร์โมน
ค.ศ. 1868 Paul Langerhans ศึกษาตับอ่อนและสังเกตพบกลุ่มเซลล์ที่แตกต่างจากเนื้อเยื่อส่วนใหญ่กระจายอยู่เป็น
หย่อมๆ มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก ต่อมามีการตั้งชื่อกลุ่มเซลล์เหล่านี้ว่า กลุ่มเซลล์ไอส์เลต ออฟ ลังเกอร์ฮันส์
ค.ศ. 1883 E. Kocher ทดลองตัดต่อมไทรอยด์ของคนไข้คนหนึ่งออก พบว่า มีอาการผิดปกติอ่อนเพลีย บวมที่ใบหน้า มือ
และเท้า ผิวหนังแห้งเป็นสะเก็ด สมองเสื่อม
ค.ศ.1895 Magnus Levy นาต่อมไทรอยแกะมาทาให้แห้งแล้วบดละเอียดให้คนปกติกิน ปรากฏว่า ทาให้เมทาบอลิซึมสูง
และต่อมาสามารถรักษาคนไข้ที่ไม่สามารถผลิตฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ได้สาเร็จโดยให้กินต่อมไทรอยด์แกะบดละเอียด
ค.ศ.1905 David Marine พบว่า คนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งทะเลจะเป็นโรคคอหอยพอกน้อยกว่าคนที่อยู่ไกลทะเลและเสนอให้เติม
ไอโอดีนในน้าดื่ม
11
Magnus Levy David Marine
Paul Langerhans
• ค.ศ. 1889 Johann Von Mering และ Oscar Minkovski แสดงให้เห็นว่าการตัดตับอ่อนของสุนัขมีผลต่อการย่อยอาหารประเภทลิพิด
ผลการทดลองที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งคือ มีมดขึ้นปัสสาวะของสุนัขที่ถูกตัดตับอ่อนซึ่งแตกต่างจากสุนัขปกติ ต่อมาอีก 2 สัปดาห์
สุนัขที่ถูกตัดตับอ่อนตาย
• ค.ศ. 1896 C.Z. Boumann วิเคราะห์เนื้อเยื่อต่างๆ ของคนพบว่าเซลล์ในต่อมไทรอยด์มีปริมาณไอโอดีนสูงกว่าเซลล์ในส่วนอื่นถึง 100
เท่า
• ค.ศ. 1920 ศัลยแพทย์ชาวแคนาดาชื่อ F.G. Banting และนักศึกษาแพทย์ชื่อ C.H. Best แห่งมหาวิทยาลัยโตรอนโต ได้พบหลักฐานบาง
ประการที่ทาให้ทราบว่าไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ผลิตสารควบคุมระดับน้าตาลในเลือด จึงทาการทดลองโดยมัดท่อตับอ่อนของสุนัข
พบว่าตับอ่อนไม่สามารถสร้างเอนไซม์ได้อีกต่อไป แต่ไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ยังคงทางานปกติ และได้สกัดอินซูลินออกมาได้เมื่อ
นาไปฉีดให้กับสุนัขที่เป็นโรคเบาหวานภายหลังจากถูกตัดตับอ่อนออกแล้ว ปรากฏว่าสุนัขสามารถมีชีวิตเป็นปกติและสามารถลดระดับ
น้าตาลในเลือดลงได้จากผลงานนี้ช่วยชีวิตคนที่เป็นโรคเบาหวานไว้ได้จานวนมากทาให้ Banting ได้รับรางวัลโนเบลในปี พ.ศ. 2466
12
การค้นพบฮอร์โมน
13
Johann Von Mering และ Oscar Minkovski
F.G. Banting และ C.H. Best
คุณสมบัติสาคัญของฮอร์โมน
1. เป็นสารที่หลั่งออกมาจากต่อมไร้ท่อโดยไม่มีผลต่ออวัยวะที่สร้างแต่จะไปมี
ผลที่ส่วนอื่นของร่างกายที่เป็นอวัยวะเป้าหมาย (target organ)
2. ผลิตออกมาในปริมาณน้อยแต่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมาก
และใช้เวลานาน
3. ทางานโดยกระตุ้นอวัยวะเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง
4. แต่ละชนิดมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายในช่วงเวลาที่แน่นอน และการทางาน
บางอย่างของร่างกายอาจถูกควบคุมโดยฮอร์โมนหลายชนิด
5. ความบกพร่องของฮอร์โมนไม่ว่าจะผลิตปริมาณมากหรือน้อยเกินไป จะมี
ผลต่อการทางานของอวัยวะเป้าหมาย ซึ่งทาให้เกิดความผิดปกติของ
ร่างกาย
ฮอร์โมน สามารถแบ่งประเภทตามลักษณะทางเคมีออกเป็น 3 กลุ่มหลัก
1. ฮอร์โมนกลุ่มอะมีน (amine) ประกอบด้วย กรดอะมิโนที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ละลายน้าได้ และเก็บสะสมไว้ในต่อมที่ผลิตในรูป
คอลลอยด์ (colloid) หรือ แกรนูล (granule) เมื่อถูกส่งเข้ากระแสเลือด อาจจับกับพลาสมาโปรตีน ได้แก่ ไทรอกซิน และ
อะดรีนาลิน เป็น
2. ฮอร์โมนกลุ่มโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ (polypeptide) ประกอบด้วย กรดอะมิโนหลายโมเลกุลมาเรียงต่อกัน มีน้าหนักโมเลกุล
มาก ละลายน้าได้และเก็บไว้ในรูปแรนูล ส่วนใหญ่อยู่ในสภาพฮอร์โมนอิสระ ได้แก่ โกรทฮอร์โมน อินซูลิน กลูคากอน โพรแลก
ติน วาโซเพรสซิน และพาราทอร์โมน เป็นต้น
3. ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ (steroid) ประกอบด้วย สารสเตอรอยด์ ละลายในไขมันและไม่เก็บสะสมในต่อที่ผลิต จะหลั่งสู่กระแส
เลือดและจับกับโปรตีนที่จาเพาะในพลาสมา การออกฤทธิ์นาน ได้แก่ ฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมหมวกไตชั้นนอก และฮอร์โมนเพศ
เป็นต้น
ฮอร์โมน สามารถแบ่งประเภทตามลักษณะ
ทางเคมีออกเป็น 3 กลุ่มหลัก
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ต่อมไร้ท่อหมำยถึงอะไรและมีลักษณะสำคัญอะไรบ้ำง
• หำกเปรียบเทียบกำรทำงำนระหว่ำงต่อมไร้ท่อและต่อมมีท่อจะพบควำมแตกต่ำงกันอย่ำงไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนหมำยถึงอะไรและมีคุณสมบัติสำคัญอย่ำงไรบ้ำง
• ให้ยกตัวอย่ำงกำรค้นพบฮอร์โมนมำ 3 ตัวอย่ำงที่นักเรียนคิดว่ำมีควำมสำคัญ
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงยกตัวอย่ำงต่อมไร้ท่อที่เจริญพัฒนำมำจำกเนื้อเยื่อ ectoderm มำอย่ำงน้อย 2 ชนิด
• หำกเรำแบ่งประเภทฮอร์โมนตำมสมบัติทำงเคมี จะกี่ประเภทอะไรบ้ำง
ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มี
กระดูกสันหลัง (มนุษย์)
ไฮโปทาลามัส (HYPOTHALAMUS)
ไฮโปทาลามัสเป็นโครงสร้างของสมองที่
อยู่ใต้ทาลามัส (thalamus) แต่เหนือก้าน
สมอง (brain stem) ทาหน้าที่เชื่อมโยงการ
ทางานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
โครงสร้างนี้เป็นโครงสร้างหลักที่อยู่ด้านล่าง
ของ diencephalon พบในสมองของสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยน้านมทุกชนิด ในมนุษย์มีขนาด
ประมาณเมล็ดอัลมอนด์
ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัสหลั่งออกมา
เป็น releasing hormone (RH) และ
inhibiting hormone (IH) มีผลไปควบคุม
การทางานของต่อมใต้สมอง
ฮอร์โมนที่หลั่งจากไฮโปทาลามัส
• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH (GH releasing
hormone ,GHRH)
• ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting
hormone ,GHIH)
• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งโพรแลกติน (prolactin
releasing hormone ,PRH)
• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งของต่อมไทรอยด์
(thyroid releasing hormone ,TRH) กระตุ้น
การหลั่ง TSH
• ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn (gonadotrophin
releasing hormone ,GnRH) กระตุ้นการหลั่ง
FSHและ LH
1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (intermediate pituitary)***
3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (PITUITARY)
ต่อมใต้สมองเป็นต่อมไร้ท่อ อยู่บริเวณตรงกลางสมองแบ่งได้ เป็น 3 ส่วน คือ
ต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ (anterior pituitary gland or adenohypophysis)
-ควบคุมกำรหลั่งฮอร์โมนโดยไฮโปทำลำมัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting ผ่ำนทำงเส้นเลือด portal vessel
น้อยไป มากไป
เด็ก Dwarfism gigantism
ผู้ใหญ่ simmon’s disease acromegaly
ฮอร์โมนโกรท (STH, GH)
- ฮอร์โมนเมลาโนไซต์ (Melanocyte stimulating hormone) หรือ MSH ทา
หน้าที่ทาให้รงควัตถุภายในเซลล์ผิวหนังกระจายไปทั่วเซลล์
ต่อมใต้สมองส่วนกลำง ทำหน้ำที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary gland or neurohypophysis)
- ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหลังสร้างมา
จากเซลล์ประสาทของไฮโปทาลามัส
- โดยเซลล์ประสาทจะยื่นส่วน axon มาในต่อมใต้
สมองส่วนหลัง
- ต่อมใต้สมองส่วนหลังหรือนิวโรไฮโพไฟซีส ไม่ได้
สร้างฮอร์โมนเอง แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมาจาก นิวโร
ซีครีทอรีเซลล์ของไฮโพทาลามัสโดยกลุ่มเซลล์
เหล่านี้จะมีแอกซอนมาสิ้นสุดอยู่ภายในต่อมใต้
สมองส่วนหลัง และเข้าสู่กระแสเลือด
โรคเบำจืด
สรุป : ชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล ต่อมไพเนียลอยู่บริเวณกึ่งกลางของ
สมองส่วนเซรีบรัมพูซ้ายและพูขวา ต่อมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่สร้าง
ฮอร์โมน ต่อมนี้จะสร้างเมลาโทนิน (melatonin) ในคนและสัตว์
ชั้นสูงในช่วงวัยรุ่นและยับยั้งการเจริญเติบของอวัยวะสืบพันธุ์
ถ้าขาดจะทาให้เด็กเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ
และทาหน้าที่ทาให้รงควัตถุภายในเซลล์ผิวหนังรวมตัวกันเป็นกลุ่ม
ต่อมไพเนียล (pineal gland)
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
• ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมไร้ท่อซึ่งอยู่บริเวณลาคอหน้ากล่องเสียงเป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในคนปกติมีน้าหนักประมาณ
25 กรัม เจริญมาจากเนื้อเยื่อตัวอ่อนชั้นใน (endoderm) ซึ่งอยู่ที่ฐานของคอหอย แล้วแทรกตัวเข้าไปอยู่หน้าต่อหลอดลม
แบ่งออกเป็น 2 พูและเชื่อมกันตรงกลางด้วยส่วนที่เรียกว่า isthmus
• ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนที่สามารถดึงไอโอดีนจากกระแสเลือดเข้าสู่เซลล์ได้ต่อมไทรอยด์จะประกอบด้วยถุงหุ้มที่เป็น
connective tissue ซึ่งเป็นที่สร้างฮอร์โมน เรียกว่า thyroid follicle เป็นที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน thyroxine และ
triiodothyronine ซึ่งมีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบแล้วเก็บไว้ในของเหลวที่อยู่ตรงกลาง เรียกว่า โพรงถุงไทรอยด์ หรือ
colloid ซึ่งมีส่วนประกอบเป็น glycoprotein เรียกว่า thyroglobulin ไกลโคโปรตีนคือโปรตีนเชิงซ้อนซึ่งมีหมู่ของ
คาร์โบไฮเดรตทาพันธะโควาเลนต์กับโปรตีน
• ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์มี 2 ชนิด คือ
• ไทรอกซิน (Thyroxine) และไตรไอโอโดไทโรนีน (triiodothyronine)
• แคลซิโตนิน (Calcitonin)
ความผิดปกติเกี่ยวกับฮอร์โมนไทรอกซิน
1. ครีทินิซึม (cretinism) เป็นความผิดปกติของร่างกายเนื่องจากการขาดฮอร์โมนไทรอกซินตั้งแต่วัยเด็กจะมีผลให้พัฒนาการทาง
ร่างกายและสมองด้อยลง การเจริญของกระดูกลดลง ร่างกายจึงเตี้ยแคระ แขนขาสั้น ผิวหยาบแห้ง และระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติ
2. มิกซีดีมา (myxedema) เป็นความผิดปกติของร่างกายเนื่องจากขาดฮอร์โมนไทรอกซินในผู้ใหญ่ ทาให้มีอาการเหนื่อยง่าย อัตรา
เมทาบอลิซึมต่า น้าหนักเพิ่ม กล้ามเนื้ออ่อนแรง เฉื่อยชา ความจาเสื่อม
3. คอพอก (simple goiter) เป็นความผิดปกติเนื่องจากร่างกายขาดไอโอดีน ทาให้ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนไทรอกซิน จึงมีผลไป
กระตุ้นให้ไฮโพทาลามัสหลั่ง TRH ออกมากระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่ง TSH ออกมากระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สามารถสร้าง
ฮอร์โมนไทรอกซิน แต่ก็สร้างฮอร์โมนไม่ได้เพราะขาดไอโอดีน ทาให้ไม่สามารถไปยับยั้งการหลั่ง TSH นานๆ เข้าต่อมไทรอยด์
ขยายขนาดโตขึ้นเกิดเป็นคอพอก ซึ่งสามารถรักษาให้ทายได้โดยให้ร่างกายได้รับไอโอดีนในปริมาณสูงๆ
4.คอพอกเป็นพิษ (toxic goiter) เป็นความผิดปกติเนื่องจากร่างกายหลั่งไทรอกซินมากกว่าปกติจึงมีผลทาให้อัตราเมทาบอลิซึมสูง
กล้ามเนื้อและประสาททางานมากกว่าปกติ เหนื่อยง่าย หัวใจเต้นแรง และเร็ว รู้สึกหิวบ่อย และกินจุแต่น้าหนักตัวลดนอนไม่หลับ
หงุดหงิดฉุนเฉียว และมีอาการตาโปนด้วย เรียก คอกพอกและตาโปน (exophthalamic goiter)
Toxic Goiter / Graves Disease มิกซีดีมำ (myxedema)
- ต่อมพาราไทรอยด์เป็นต่อมเล็กๆ มีทั้งหมด 4 ต่อมโดยที่
อยู่ติดกับด้านหลังของต่อมไทรอยด์ 2 ข้าง ซึ่งพบข้าง
ละ 2 ต่อม มีความสาคัญในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้น
- พาราทอร์โมน (parathormone ,PTH) ทาหน้าที่รักษา
สมดุลและ ฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่
- มีผลกระตุ้นให้มีการเพิ่มแคลเซียมและฟอสฟอรัส
- ถ้ามีระดับแคลเซียมต่าในเลือดจะกระตุ้นให้มีการหลั่ง
ฮอร์โมนมากขึ้น
- ถ้าหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปจะทาให้มีการสะสมแคลเซียม
ที่ไตที่เส้นเลือด กระดูกเสียแคลเซียมมากเกินไป หักง่าย
เป็นโรคกระดูกพรุน (ในคนปกติระดับแคลเซียมใน
พลาสมา 10 มิลลิกรัม/เดซิลิตร)
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyriod gland)
โรคกระดูกอ่อนในเด็ก (Rickets)
โรคปวดข้อจำกกระดูกพรุนในผู้ใหญ่
ตับอ่อน (pancreas)
1. กลุ่มเซลล์แอซินาร์ (acinar cell) เป็นกลุ่มเซลล์ซึ่งเป็นส่วนของต่อมมีท่อที่ทาหน้าที่สร้างและหลั่งน้าย่อยเข้าสู่ลาไส้เล็กทางท่อ
ลาเลียง
2. กลุ่มเซลล์ไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ ฮานส์ (Islets of Langerhans) เป็นกลุ่มเซลล์เล็กๆ จานวนมากกระจายอยู่เป็นหย่อมๆ ซึ่งเป็น
ส่วนของต่อมไร้ท่อทาหน้าที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน มีปริมาณ 1–3 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์ทั้งหมด 6 ชนิด แต่มี 4 ชนิดที่
เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน ได้แก่
2.1 เอ หรือ แอลฟาเซลล์ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 20 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนกลูคากอน
2.2 บี หรือ เบตาเซลล์ มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 75 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน
2.3 ดี หรือ เดต้าเซลล์ มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 5-10 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนโซมาโทสเตทิน
(somatostatin)
2.4 พีพี หรือ เอฟเซลล์ เพนคริเอติก พอลิเปปไทด์ มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 1-2 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตเพนคริ
เอติก พอลิเปปไทด์ (pancreatic polypeptide) ทาหน้าที่ลดการดูดซึมอาหารที่กระเพาะและลาไส้ (gastrointestinal function)
Diabetes mellitus (โรคเบาหวาน) สภาวะที่ระดับน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (คนปกติ =
90mg/100ml) อาจเกิดเนื่องจากร่างกายขาด insulin หรือเซลล์เป้าหมายไม่ตอบสนองต่อinsulin
ต่อมหมวกไตตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้างจึงเรียกว่าต่อมหมวกไต (suprarenal gland) แต่ละต่อม
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ ต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนัลคอร์เทกซ์เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเมโซเดิร์มและ ต่อม
หมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลาซึ่งผลิตฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ต่างกัน
ต่อมหมวกไต (adrenal gland)
ต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) เป็นต่อมไร้ท่อที่สร้างฮอร์โมนมากชนิดที่สุดกว่า 50 ชนิด สร้างและหลั่ง
ฮอร์โมนสเตอรอยด์ซึ่งสังเคราะห์มาจากคอเลสเตอรอลรวมอยู่กับไลโพโปรตีนในกระแสเลือดและผ่านเข้าสู่เซลล์ของต่อมโดย
ผ่านตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์ภายในเซลล์คอเลสเตอรอลจะถูกเปลี่ยนโดยเอนไซม์หลายชนิด เมื่อร่างกายต้องการใช้ฮอร์โมน
เอนไซม์เหล่านี้จะถูกกระตุ้นให้สังเคราะห์ฮอร์โมนสเตอรอยด์และปล่อยออกสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีสเตอรอยด์เก็บ
ไว้ในเซลล์แบ่งเป็น 3 ชั้น ตามลักษณะการเรียงตัวของเซลล์ คือ
1. ต่อมหมวกไตชั้นนอกส่วนนอกสุด (Zona glomerulosa) สร้างและหลั่งฮอร์โมน mineralocorticoid ตัวอย่างของฮอร์โมนใน
กลุ่มนี้ ได้แก่ aldosterone ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ในร่างกาย
2. ต่อมหมวกไตชั้นนอกส่วนกลาง (Zona fasciculate) สร้างฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ตัวอย่างของฮอร์โมนในกลุ่มนี้ ได้แก่
cortisol , cortisone และ corticosterone ซึ่งทาหน้าที่ควบคุม metabolism ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน รวมทั้งช่วย
ร่างกายทนต่อความเครียดได้
3. ต่อมหมวกไตชั้นนอกส่วนใน (Zona reticularis) สร้างฮอร์โมนเพศ ได้แก่ estrogenprogesterone และ androgen ซึ่งมี
ปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะเพศ ซึ่งมีบทบาทควบคุมการแสดงลักษณะทางเพศที่สอง
เซลล์ส่วนกลางและส่วนในของต่อมหมวกไตชั้นนอกอยู่ภายใต้การควบคุมของ ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ส่วนเซลล์
ส่วนนอกถูกควบคุมโดยฮอร์โมน angiotensin ซึ่งเป็นสารที่ได้จากการทาปฏิกิริยาของเรนินกับ พลาสมาโปรตีนในไต
ต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) สร้างฮอร์โมนได้ 2 ชนิด ได้แก่ ฮอร์โมนเอพิเนฟริน (epinephrine
hormone) หรือ อะดรีนาลิน (adrenalin hormone) และฮอร์โมนนอร์อิพิเนฟริน (norepinephrine hormone) หรือ นอร์
อะดรีนาลิน (noradrenalin hormone) การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นในจะอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทอัต
โนวัติ ในภาวะปกติจะหลั่งฮอร์โมนทั้ง 2 ชนิดนี้ในปริมาณที่เหมาะสมกับร่างกาย แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอารมณ์อย่างรุนแรง ไฮโพ
ทาลามัสจะกระตุ้นการหลั่งอะดรีนาลินมากกว่าปกติ ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงเมทาบอลิซึมเพิ่มมากขึ้นทาให้ร่างกายมีพลังงาน
เพิ่มสูงขึ้นมากจนสามารถทาสิ่งต่างๆได้ทั้งที่ภาวะปกติทาไม่ได้
ความผิดปกติของร่างกาย
ถ้าร่างกายมีคอร์ติซอลสูงมากและนานจะทาให้เกิดอาการของโรคคูชชิ่ง (Cushing’s syndrome) คนไข้จะมีความผิดปกติ
เกี่ยวกับเมทาบิลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โปรตีนในกล้ามเนื้อและกระดูกจะถูกสลายมากขึ้น ขณะที่การสร้าง
ลดลงไขมันโดยทั่วถูกสลายและมีการสะสมไขมันบางแห่ง เช่น ใบหน้า (moon face) บริเวณคอมีหนอก ท้องใหญ่ แขนขาลีบ
และแผลหายช้า
โรคแอดดิสัน (Addison’s disease) เกิดจากต่อมหมวกไตชั้นนอกถูกทาลายจนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ จะทาให้คนไข้
ซูปผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยถึงแก่ความตายได้
ต่อมเพศ (Gonad)
เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว(puberty) ไฮโพทา
ลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้าง gonadotropin
releasing hormone หรือที่เรียกว่า Gn-RH ออกมา ซึ่ง
ฮอร์โมนนี้จะไปกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่ง
follicle stimulating hormone เรียกย่อว่า FSH และ
LH มีผลให้ในเพศหญิงอวัยวะที่เรียกว่ารังไข่และในเพศ
ชายอวัยวะที่เรียกว่าอัณฑะ ทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อผลิต
ฮอร์โมน โดยในเพศชาย การสร้าง LH และ FSH อยู่ใน
อัตราค่อน ข้างสม่าเสมอ แต่ในเพศหญิงการสร้าง LH
และ FSH จะเปลี่ยนแปลงไปไม่คงที่ขึ้นอยู่กับระยะเวลา
ก่อนหรือหลังตกไข่
ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
อัณฑะ (testis) เป็นอวัยวะเพศของผู้ชายอยู่ในถุงอัณฑะ
(scrotum) มีอยู่ 2 ข้างซ้ายและขวา ระยะแรกอยู่ในช่องท้อง ก่อน
คลอดเล็กน้อยจึงออกมาอยู่ในถุงอัณฑะทาให้อุณหภูมิของอัณฑะต่า
กว่าอุณหภูมิของร่างกายประมาณ 2 องศาเซลเซียส ทาหน้าที่ในการ
ผลิตสร้างตัวอสุจิและผลิตฮอร์โมนเพศชายที่สาคัญได้แก่ เทสโท
สเทอโรน (testosterone)
ส่วนของอัณฑะที่ทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่ผลิต
ฮอร์โมนเพศชาย คือ เซลล์เลย์ดิก (Leydig cell) หรืออินเตอร์สติ
เชียลเซลล์ (interstitial cell) อยู่ในเนื้อเยื่อที่แทรกอยู่ระหว่างท่อ
เซมินิเฟอรัส (seminiferous tubule) ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศ
ชายเทสโทสเทอโรนและสร้างเอสโทรเจนในจานวนน้อยด้วย FSH
จะควบคุมการสร้างตัวอสุจิให้มีการสร้างอสุจิในท่ออสุจิ ฮอร์โมน
LH หรือ ICSH จะกระตุ้นให้เซลล์เลย์ดิก (Leydig cell) สร้าง
ฮอร์โมนที่เรียกว่า แอนโดรเจน (androgen) ส่วนใหญ่เป็นเทสโท
สเทอโรนโดย FSH จะชักนาให้เกิดตัวรับของ LH บนเซลล์เลย์ดิก
HORMONAL
CONTROL
OF THE
TESTES
• รังไข่ (Ovary) ตั้งอยู่ที่อุ้งเชิงกราน 2 ข้างของมดลูก ทาหน้าที่
สร้างเซลล์สืบพันธุ์และเป็นต่อมไร้ท่อ โดยผลิตฮอร์โมนเพศหญิง
คือ ฮอร์โมน estrogen และ progesterone ซึ่งเป็นสเตรอยด์ ระดับ
ของฮอร์โมนจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของรอบประจาเดือน
โดยเซลล์ที่สามารถสร้างฮอร์โมน ได้แก่
1. ทีคา อินเทอร์นาเซลล์ (theca interna cell) ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน
แอนโดรเจน ผ่านเข้าสู่ granulosa cell หลังจากนั้นเอนไซม์
aromatase จะเปลี่ยน androgen หรือ testosterone ไปเป็น estrogen
เข้ากระแสเลือดไปที่อวัยวะเป้าหมาย เช่น ที่สมอง หลอดเลือด
อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบการขับถ่ายปัสสาวะ เป็นต้น
2. ลูเทียว เซลล์ (luteal cell) หลังจากตกไข่แล้ว granulosa cell จะ
เปลี่ยนไปเป็นเซลล์ลูเทียว ทาหน้าที่ในการสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอ
โรนจานวนมากและมีการสร้างฮอร์โมนเอสโทรเจนบ้างเล็กน้อย
ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
Hormonal control of the ovary
วัยทอง (MENOPAUSE)
รก (PLACENTA)
• การตกไข่ การปฏิสนธิ การแบ่งเซลล์ และการฝังตัวของตัวอ่อนที่โพรงมดลูกซึ่งใช้เวลาประมาณ 7 วัน ภายหลังการฝังตัวของตัว
อ่อน ส่วนเซลล์โทรโฟบลาสทจะเจริญไปเป็นรก รกทาหน้าที่ 2 ประการคือ ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนอาหาร อากาศและของเสียจาก
ทารกในครรภ์ของทารกในครรภ์ และทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูก ซึ่งสามารถผลิตฮอร์โมนมากมายที่จาเป็น
ระหว่างตั้งครรภ์และเป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับกลไกลการเจ็บครรภ์รวมทั้งฮอร์โมน เอสโทรเจนและฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน
• มีลักษณะเป็นพู 2 พู อยู่บริเวณทรวงอกรอบเส้นเลือด ใหญ่ของหัวใจ ต่อมไทมัสจะเจริญเต็มที่ตั้งแต่เป็นทารกอยู่ใรครรภ์มารดาและมี
ขนาด ใหญ่มากเมื่อยังมีอายุน้อย แต่เมื่ออายุมากขึ้นขนาดของต่อมไทมัสจะเล็กลงและฝ่ อไป ในที่สุด
• ต่อมไทมัสทาหน้าที่ สร้างฮอร์โมน thymosin ซึ่งมีหน้าที่ในการกระตุ้น เนื้อเยื่อต่อมไทมัสเอง ซึ่งเป็นอวัยวะน้าเหลือง สร้าง
T-lymphocyte หรือ T-cell ซึ่งเป็น เซลล์ที่สาคัญในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดยการทาลายเซลล์แปลกปลอมที่
เกิดขึ้น และ กระตุ้นการทางานของ B-cell ให้สร้าง antibody ขึ้นมาต่อต้านสิ่งแปลกปลอม หรือเชื้อโรคให้หมดฤทธิ์ไป
ต่อมไทมัส (THYMUS GLAND)
• ไตเป็นอวัยวะสาคัญส่วนหนึ่งของระบบทางเดินปัสสาวะ มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง อยู่ที่บริเวณบั้นเอวทั้ง 2 ข้างใต้กระดูก
ซี่โครง และอยู่ 2 ข้างของกระดูกสันหลัง หน้าที่ของไตมีหลายอย่าง ได้แก่ การปรับสมดุลน้าในร่างกาย การปรับสมดุลของสาร
เกลือแร่และกรด-เบสในร่างกาย การกาจัดของเสียออกจากร่างกาย และการผลิตฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย
ไต (KIDNEY)
59
60
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนที่มำจำกสมองส่วนไฮโปทำลำมัสมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมใต้สมองส่วนหน้ำมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมใต้สมองส่วนกลำงมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมใต้สมองส่วนหลังมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมไพเนียลมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมไทรอยด์มีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมพำรำไทรอยด์มีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมไทมัสมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมหมวกไตชั้นนอกมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
• ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมหมวกไตชั้นในมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนที่มำจำกรังไข่มีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
• ฮอร์โมนที่มำจำกอัณฑะมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ฮอร์โมนที่มำจำกทำงเดินอำหำรมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
• ฮอร์โมนที่มำจำกไตมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
71
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
Wichai Likitponrak
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
Oui Nuchanart
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 

Similar to 5.ฮอร์โมน

ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
supreechafkk
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
kasidid20309
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
nookkiss123
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
shedah6381
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
shedah6381
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
CUPress
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Suwicha Tapiaseub
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
nampeungnsc
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
wayosaru01
 

Similar to 5.ฮอร์โมน (20)

ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์กลุ่มที่1ฟรอยด์
กลุ่มที่1ฟรอยด์
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
=U;t
=U;t=U;t
=U;t
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

5.ฮอร์โมน

  • 2. ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสาคัญ (ENDOCRINE SYSTEM) • 1. ต่อมไร้ท่อและฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อ • 2. ระบบต่อมไร้ท่อในสัตว์มีกระดูกสันหลัง (มนุษย์) • 2.1 สมองส่วนไฮโปทาลามัส • 2.2 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า/ส่วนกลาง/ส่วนหลัง • 2.3 ต่อมไพเนียล • 2.4 ต่อมไทรอยด์และพาราไทรอยด์ • 2.5 ต่อมหมวกไตชั้นนอก/ชั้นใน • 2.6 ต่อมเพศ : รังไข่และอัณฑะ ฯลฯ
  • 4. ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE SYSTEM) • ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อ เซลล์เป้าหมายโดยผ่าน extracellular fluid เช่น กระแส เลือด ซึ่งแตกต่างกับ ต่อมมีท่อ (exocrine gland) ซึ่งเป็น ต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อเซลล์เป้าหมายโดยผ่านท่อ
  • 5. ฮอร์โมน (HORMONE) • ฮอร์โมน หมายถึงสารเคมีที่สร้างมาจากเซลล์ของต่อมไร้ท่อ (endocrine cell) และไปมีผลควบคุมการทางานของ เซลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างออกไป โดยขนส่งไปตามกระเส เลือด • การทางานของร่างกายที่ควบคุมโดยฮอร์โมนหรือสารเคมี เรียก chemical control และเรียกกลุ่มสารเคมีดังกล่าวว่า chemical messenger หรือ molecular messenger : ตัวนาข่าว (ตัวที่ 1 ,2 ,….)
  • 6. ลักษณะสาคัญของต่อมไร้ท่อ 1. ไม่มีท่อลาเลียงสารที่ผลิตได้ออกภายนอกต่อม 2. มีเส้นเลือดจานวนมาก ทาหน้าที่ลาเลียงสารที่ต่อผลิต ไปยังอวัยวะที่เกี่ยวข้อง 3. เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของต่อมมีรูปร่างพิเศษแตกต่างจากเซลล์อื่นๆ 4. สารที่ผลิตได้จะมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถถูกสร้างได้จากต่อมอื่น 5. สารที่ผลิตได้มีผลต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะของตนเองในลักษณะจาเพาะ
  • 7. เนื้อเยื่อ ต่อมไร้ท่อ ประเภทฮอร์โมน Ectoderm Pituitary gland , pineal gland, adrenal medulla amine, protein Mesoderm Adrenal cortex, testis , ovary steroid Endoderm Thyroid gland , parathyroid gland , Islet of Langerhans amine, protein 7 พัฒนาการของต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อในคนมีต้นกำเนิดมำจำกเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และเริ่มเจริญตั้งแต่ระยะเอ็มบริโออำยุประมำณ 4-12 สัปดำห์ และกลำยเป็นต่อมที่สมบูรณ์เต็มที่เมื่อเอ็มบริโออำยุประมำณ 7-16 สัปดำห์
  • 8. ประเภทของต่อมไร้ท่อ สามารถแบ่งตามความสาคัญของฮอร์โมนที่ต่อมไร้ท่อสร้างขึ้นมาได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) ต่อมไร้ท่อที่จาเป็นต่อชีวิต (Essential endocrine gland) เป็นต่อมไร้ ท่อที่จาเป็นอย่างมากต่อร่างกาย ถ้าหากขาดต่อมต่อไปนี้แล้วแล้วทาให้ เสียชีวิตทันที ได้แก่ ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid) ต่อมหมวกไต ชั้นนอก (adrenal cortex) และต่อมไอส์เลตของตับอ่อน (islets of Langerhans) 2) ต่อมไร้ท่อที่ไม่จาเป็นต่อชีวิต (Non - Essential endocrine gland) เป็นต่อมที่ไม่จาเป็นหรือจาเป็นน้อยมากต่อร่างกาย ถ้าหากขาดต่อม ต่อไปนี้แล้วไม่ทาให้ถึงตาย ได้แก่ ต่อมใต้สมอง (pituitary) ต่อมไทรอยด์ (thyroid) ต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) ต่อมไพเนียล (pineal) ต่อมไทมัส (thymus) ต่อมเพศ (gonads) เป็นต้น
  • 9. 9 การค้นพบฮอร์โมน ค.ศ. 1848 Arnold A. Berthold ทดลองตัดอัณฑะของลูกไก่ตัวผู้ออก ไก่สามารถเจริญเติบโตได้แต่ลักษณะทางเพศเปลี่ยนแปลงไป คือ หงอนและเหนียงคอมีขนาดเล็ก เมื่อนาอัณฑะใส่กลับไปในไก่ตัวผู้ที่ถูกตัดอัณฑะออกและปล่อยให้เจริญเติบโตระยะหนึ่ง ปรากฏว่าหงอนและ เหนียงคอขยายใหญ่เหมือนไก่ตัวผู้ปกติ สรุปได้ว่า การเปลี่ยนแปลงหงอนและเหนียงคอซึ่งเป็นลักษณะจาเพาะของไก่ตัวผู้เกี่ยวข้องกับ อัณฑะ
  • 10. 10 การค้นพบฮอร์โมน ค.ศ. 1868 Paul Langerhans ศึกษาตับอ่อนและสังเกตพบกลุ่มเซลล์ที่แตกต่างจากเนื้อเยื่อส่วนใหญ่กระจายอยู่เป็น หย่อมๆ มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมาก ต่อมามีการตั้งชื่อกลุ่มเซลล์เหล่านี้ว่า กลุ่มเซลล์ไอส์เลต ออฟ ลังเกอร์ฮันส์ ค.ศ. 1883 E. Kocher ทดลองตัดต่อมไทรอยด์ของคนไข้คนหนึ่งออก พบว่า มีอาการผิดปกติอ่อนเพลีย บวมที่ใบหน้า มือ และเท้า ผิวหนังแห้งเป็นสะเก็ด สมองเสื่อม ค.ศ.1895 Magnus Levy นาต่อมไทรอยแกะมาทาให้แห้งแล้วบดละเอียดให้คนปกติกิน ปรากฏว่า ทาให้เมทาบอลิซึมสูง และต่อมาสามารถรักษาคนไข้ที่ไม่สามารถผลิตฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ได้สาเร็จโดยให้กินต่อมไทรอยด์แกะบดละเอียด ค.ศ.1905 David Marine พบว่า คนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งทะเลจะเป็นโรคคอหอยพอกน้อยกว่าคนที่อยู่ไกลทะเลและเสนอให้เติม ไอโอดีนในน้าดื่ม
  • 11. 11 Magnus Levy David Marine Paul Langerhans
  • 12. • ค.ศ. 1889 Johann Von Mering และ Oscar Minkovski แสดงให้เห็นว่าการตัดตับอ่อนของสุนัขมีผลต่อการย่อยอาหารประเภทลิพิด ผลการทดลองที่น่าสนใจอีกประการหนึ่งคือ มีมดขึ้นปัสสาวะของสุนัขที่ถูกตัดตับอ่อนซึ่งแตกต่างจากสุนัขปกติ ต่อมาอีก 2 สัปดาห์ สุนัขที่ถูกตัดตับอ่อนตาย • ค.ศ. 1896 C.Z. Boumann วิเคราะห์เนื้อเยื่อต่างๆ ของคนพบว่าเซลล์ในต่อมไทรอยด์มีปริมาณไอโอดีนสูงกว่าเซลล์ในส่วนอื่นถึง 100 เท่า • ค.ศ. 1920 ศัลยแพทย์ชาวแคนาดาชื่อ F.G. Banting และนักศึกษาแพทย์ชื่อ C.H. Best แห่งมหาวิทยาลัยโตรอนโต ได้พบหลักฐานบาง ประการที่ทาให้ทราบว่าไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ผลิตสารควบคุมระดับน้าตาลในเลือด จึงทาการทดลองโดยมัดท่อตับอ่อนของสุนัข พบว่าตับอ่อนไม่สามารถสร้างเอนไซม์ได้อีกต่อไป แต่ไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ยังคงทางานปกติ และได้สกัดอินซูลินออกมาได้เมื่อ นาไปฉีดให้กับสุนัขที่เป็นโรคเบาหวานภายหลังจากถูกตัดตับอ่อนออกแล้ว ปรากฏว่าสุนัขสามารถมีชีวิตเป็นปกติและสามารถลดระดับ น้าตาลในเลือดลงได้จากผลงานนี้ช่วยชีวิตคนที่เป็นโรคเบาหวานไว้ได้จานวนมากทาให้ Banting ได้รับรางวัลโนเบลในปี พ.ศ. 2466 12 การค้นพบฮอร์โมน
  • 13. 13 Johann Von Mering และ Oscar Minkovski F.G. Banting และ C.H. Best
  • 14. คุณสมบัติสาคัญของฮอร์โมน 1. เป็นสารที่หลั่งออกมาจากต่อมไร้ท่อโดยไม่มีผลต่ออวัยวะที่สร้างแต่จะไปมี ผลที่ส่วนอื่นของร่างกายที่เป็นอวัยวะเป้าหมาย (target organ) 2. ผลิตออกมาในปริมาณน้อยแต่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมาก และใช้เวลานาน 3. ทางานโดยกระตุ้นอวัยวะเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง 4. แต่ละชนิดมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายในช่วงเวลาที่แน่นอน และการทางาน บางอย่างของร่างกายอาจถูกควบคุมโดยฮอร์โมนหลายชนิด 5. ความบกพร่องของฮอร์โมนไม่ว่าจะผลิตปริมาณมากหรือน้อยเกินไป จะมี ผลต่อการทางานของอวัยวะเป้าหมาย ซึ่งทาให้เกิดความผิดปกติของ ร่างกาย
  • 15. ฮอร์โมน สามารถแบ่งประเภทตามลักษณะทางเคมีออกเป็น 3 กลุ่มหลัก 1. ฮอร์โมนกลุ่มอะมีน (amine) ประกอบด้วย กรดอะมิโนที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ละลายน้าได้ และเก็บสะสมไว้ในต่อมที่ผลิตในรูป คอลลอยด์ (colloid) หรือ แกรนูล (granule) เมื่อถูกส่งเข้ากระแสเลือด อาจจับกับพลาสมาโปรตีน ได้แก่ ไทรอกซิน และ อะดรีนาลิน เป็น 2. ฮอร์โมนกลุ่มโปรตีนหรือพอลิเพปไทด์ (polypeptide) ประกอบด้วย กรดอะมิโนหลายโมเลกุลมาเรียงต่อกัน มีน้าหนักโมเลกุล มาก ละลายน้าได้และเก็บไว้ในรูปแรนูล ส่วนใหญ่อยู่ในสภาพฮอร์โมนอิสระ ได้แก่ โกรทฮอร์โมน อินซูลิน กลูคากอน โพรแลก ติน วาโซเพรสซิน และพาราทอร์โมน เป็นต้น 3. ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ (steroid) ประกอบด้วย สารสเตอรอยด์ ละลายในไขมันและไม่เก็บสะสมในต่อที่ผลิต จะหลั่งสู่กระแส เลือดและจับกับโปรตีนที่จาเพาะในพลาสมา การออกฤทธิ์นาน ได้แก่ ฮอร์โมนที่ผลิตจากต่อมหมวกไตชั้นนอก และฮอร์โมนเพศ เป็นต้น
  • 19. ทบทวนความรู้ความเข้าใจ • จงยกตัวอย่ำงต่อมไร้ท่อที่เจริญพัฒนำมำจำกเนื้อเยื่อ ectoderm มำอย่ำงน้อย 2 ชนิด • หำกเรำแบ่งประเภทฮอร์โมนตำมสมบัติทำงเคมี จะกี่ประเภทอะไรบ้ำง
  • 21. ไฮโปทาลามัส (HYPOTHALAMUS) ไฮโปทาลามัสเป็นโครงสร้างของสมองที่ อยู่ใต้ทาลามัส (thalamus) แต่เหนือก้าน สมอง (brain stem) ทาหน้าที่เชื่อมโยงการ ทางานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ โครงสร้างนี้เป็นโครงสร้างหลักที่อยู่ด้านล่าง ของ diencephalon พบในสมองของสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยน้านมทุกชนิด ในมนุษย์มีขนาด ประมาณเมล็ดอัลมอนด์ ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัสหลั่งออกมา เป็น releasing hormone (RH) และ inhibiting hormone (IH) มีผลไปควบคุม การทางานของต่อมใต้สมอง
  • 22. ฮอร์โมนที่หลั่งจากไฮโปทาลามัส • ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง GH (GH releasing hormone ,GHRH) • ฮอร์โมนยับยั้งการหลั่ง GH (GH inhibiting hormone ,GHIH) • ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งโพรแลกติน (prolactin releasing hormone ,PRH) • ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่งของต่อมไทรอยด์ (thyroid releasing hormone ,TRH) กระตุ้น การหลั่ง TSH • ฮอร์โมนกระตุ้นการหลั่ง Gn (gonadotrophin releasing hormone ,GnRH) กระตุ้นการหลั่ง FSHและ LH
  • 23. 1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary) 2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (intermediate pituitary)*** 3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary) ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง (PITUITARY) ต่อมใต้สมองเป็นต่อมไร้ท่อ อยู่บริเวณตรงกลางสมองแบ่งได้ เป็น 3 ส่วน คือ
  • 24. ต่อมใต้สมองส่วนหน้ำ (anterior pituitary gland or adenohypophysis) -ควบคุมกำรหลั่งฮอร์โมนโดยไฮโปทำลำมัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting ผ่ำนทำงเส้นเลือด portal vessel
  • 25. น้อยไป มากไป เด็ก Dwarfism gigantism ผู้ใหญ่ simmon’s disease acromegaly ฮอร์โมนโกรท (STH, GH)
  • 26. - ฮอร์โมนเมลาโนไซต์ (Melanocyte stimulating hormone) หรือ MSH ทา หน้าที่ทาให้รงควัตถุภายในเซลล์ผิวหนังกระจายไปทั่วเซลล์ ต่อมใต้สมองส่วนกลำง ทำหน้ำที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้
  • 27. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary gland or neurohypophysis) - ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหลังสร้างมา จากเซลล์ประสาทของไฮโปทาลามัส - โดยเซลล์ประสาทจะยื่นส่วน axon มาในต่อมใต้ สมองส่วนหลัง - ต่อมใต้สมองส่วนหลังหรือนิวโรไฮโพไฟซีส ไม่ได้ สร้างฮอร์โมนเอง แต่ฮอร์โมนถูกสร้างมาจาก นิวโร ซีครีทอรีเซลล์ของไฮโพทาลามัสโดยกลุ่มเซลล์ เหล่านี้จะมีแอกซอนมาสิ้นสุดอยู่ภายในต่อมใต้ สมองส่วนหลัง และเข้าสู่กระแสเลือด
  • 29.
  • 31. ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล ต่อมไพเนียลอยู่บริเวณกึ่งกลางของ สมองส่วนเซรีบรัมพูซ้ายและพูขวา ต่อมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่สร้าง ฮอร์โมน ต่อมนี้จะสร้างเมลาโทนิน (melatonin) ในคนและสัตว์ ชั้นสูงในช่วงวัยรุ่นและยับยั้งการเจริญเติบของอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้าขาดจะทาให้เด็กเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ และทาหน้าที่ทาให้รงควัตถุภายในเซลล์ผิวหนังรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ต่อมไพเนียล (pineal gland)
  • 32. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) • ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมไร้ท่อซึ่งอยู่บริเวณลาคอหน้ากล่องเสียงเป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในคนปกติมีน้าหนักประมาณ 25 กรัม เจริญมาจากเนื้อเยื่อตัวอ่อนชั้นใน (endoderm) ซึ่งอยู่ที่ฐานของคอหอย แล้วแทรกตัวเข้าไปอยู่หน้าต่อหลอดลม แบ่งออกเป็น 2 พูและเชื่อมกันตรงกลางด้วยส่วนที่เรียกว่า isthmus • ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนที่สามารถดึงไอโอดีนจากกระแสเลือดเข้าสู่เซลล์ได้ต่อมไทรอยด์จะประกอบด้วยถุงหุ้มที่เป็น connective tissue ซึ่งเป็นที่สร้างฮอร์โมน เรียกว่า thyroid follicle เป็นที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน thyroxine และ triiodothyronine ซึ่งมีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบแล้วเก็บไว้ในของเหลวที่อยู่ตรงกลาง เรียกว่า โพรงถุงไทรอยด์ หรือ colloid ซึ่งมีส่วนประกอบเป็น glycoprotein เรียกว่า thyroglobulin ไกลโคโปรตีนคือโปรตีนเชิงซ้อนซึ่งมีหมู่ของ คาร์โบไฮเดรตทาพันธะโควาเลนต์กับโปรตีน • ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไทรอยด์มี 2 ชนิด คือ • ไทรอกซิน (Thyroxine) และไตรไอโอโดไทโรนีน (triiodothyronine) • แคลซิโตนิน (Calcitonin)
  • 33.
  • 34. ความผิดปกติเกี่ยวกับฮอร์โมนไทรอกซิน 1. ครีทินิซึม (cretinism) เป็นความผิดปกติของร่างกายเนื่องจากการขาดฮอร์โมนไทรอกซินตั้งแต่วัยเด็กจะมีผลให้พัฒนาการทาง ร่างกายและสมองด้อยลง การเจริญของกระดูกลดลง ร่างกายจึงเตี้ยแคระ แขนขาสั้น ผิวหยาบแห้ง และระดับสติปัญญาต่ากว่าปกติ 2. มิกซีดีมา (myxedema) เป็นความผิดปกติของร่างกายเนื่องจากขาดฮอร์โมนไทรอกซินในผู้ใหญ่ ทาให้มีอาการเหนื่อยง่าย อัตรา เมทาบอลิซึมต่า น้าหนักเพิ่ม กล้ามเนื้ออ่อนแรง เฉื่อยชา ความจาเสื่อม 3. คอพอก (simple goiter) เป็นความผิดปกติเนื่องจากร่างกายขาดไอโอดีน ทาให้ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนไทรอกซิน จึงมีผลไป กระตุ้นให้ไฮโพทาลามัสหลั่ง TRH ออกมากระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่ง TSH ออกมากระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สามารถสร้าง ฮอร์โมนไทรอกซิน แต่ก็สร้างฮอร์โมนไม่ได้เพราะขาดไอโอดีน ทาให้ไม่สามารถไปยับยั้งการหลั่ง TSH นานๆ เข้าต่อมไทรอยด์ ขยายขนาดโตขึ้นเกิดเป็นคอพอก ซึ่งสามารถรักษาให้ทายได้โดยให้ร่างกายได้รับไอโอดีนในปริมาณสูงๆ 4.คอพอกเป็นพิษ (toxic goiter) เป็นความผิดปกติเนื่องจากร่างกายหลั่งไทรอกซินมากกว่าปกติจึงมีผลทาให้อัตราเมทาบอลิซึมสูง กล้ามเนื้อและประสาททางานมากกว่าปกติ เหนื่อยง่าย หัวใจเต้นแรง และเร็ว รู้สึกหิวบ่อย และกินจุแต่น้าหนักตัวลดนอนไม่หลับ หงุดหงิดฉุนเฉียว และมีอาการตาโปนด้วย เรียก คอกพอกและตาโปน (exophthalamic goiter)
  • 35. Toxic Goiter / Graves Disease มิกซีดีมำ (myxedema)
  • 36. - ต่อมพาราไทรอยด์เป็นต่อมเล็กๆ มีทั้งหมด 4 ต่อมโดยที่ อยู่ติดกับด้านหลังของต่อมไทรอยด์ 2 ข้าง ซึ่งพบข้าง ละ 2 ต่อม มีความสาคัญในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้น - พาราทอร์โมน (parathormone ,PTH) ทาหน้าที่รักษา สมดุลและ ฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่ - มีผลกระตุ้นให้มีการเพิ่มแคลเซียมและฟอสฟอรัส - ถ้ามีระดับแคลเซียมต่าในเลือดจะกระตุ้นให้มีการหลั่ง ฮอร์โมนมากขึ้น - ถ้าหลั่งฮอร์โมนมากเกินไปจะทาให้มีการสะสมแคลเซียม ที่ไตที่เส้นเลือด กระดูกเสียแคลเซียมมากเกินไป หักง่าย เป็นโรคกระดูกพรุน (ในคนปกติระดับแคลเซียมใน พลาสมา 10 มิลลิกรัม/เดซิลิตร) ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyriod gland)
  • 37.
  • 40. ตับอ่อน (pancreas) 1. กลุ่มเซลล์แอซินาร์ (acinar cell) เป็นกลุ่มเซลล์ซึ่งเป็นส่วนของต่อมมีท่อที่ทาหน้าที่สร้างและหลั่งน้าย่อยเข้าสู่ลาไส้เล็กทางท่อ ลาเลียง 2. กลุ่มเซลล์ไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ ฮานส์ (Islets of Langerhans) เป็นกลุ่มเซลล์เล็กๆ จานวนมากกระจายอยู่เป็นหย่อมๆ ซึ่งเป็น ส่วนของต่อมไร้ท่อทาหน้าที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน มีปริมาณ 1–3 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งประกอบไปด้วยเซลล์ทั้งหมด 6 ชนิด แต่มี 4 ชนิดที่ เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน ได้แก่ 2.1 เอ หรือ แอลฟาเซลล์ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 20 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนกลูคากอน 2.2 บี หรือ เบตาเซลล์ มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 75 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน 2.3 ดี หรือ เดต้าเซลล์ มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 5-10 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนโซมาโทสเตทิน (somatostatin) 2.4 พีพี หรือ เอฟเซลล์ เพนคริเอติก พอลิเปปไทด์ มีเนื้อที่ประมาณร้อยละ 1-2 ของไอเลตส์ออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ผลิตเพนคริ เอติก พอลิเปปไทด์ (pancreatic polypeptide) ทาหน้าที่ลดการดูดซึมอาหารที่กระเพาะและลาไส้ (gastrointestinal function)
  • 41.
  • 42. Diabetes mellitus (โรคเบาหวาน) สภาวะที่ระดับน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (คนปกติ = 90mg/100ml) อาจเกิดเนื่องจากร่างกายขาด insulin หรือเซลล์เป้าหมายไม่ตอบสนองต่อinsulin
  • 43. ต่อมหมวกไตตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้างจึงเรียกว่าต่อมหมวกไต (suprarenal gland) แต่ละต่อม ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ ต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนัลคอร์เทกซ์เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญมาจากเนื้อเยื่อเมโซเดิร์มและ ต่อม หมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลาซึ่งผลิตฮอร์โมนที่ทาหน้าที่ต่างกัน ต่อมหมวกไต (adrenal gland)
  • 44. ต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) เป็นต่อมไร้ท่อที่สร้างฮอร์โมนมากชนิดที่สุดกว่า 50 ชนิด สร้างและหลั่ง ฮอร์โมนสเตอรอยด์ซึ่งสังเคราะห์มาจากคอเลสเตอรอลรวมอยู่กับไลโพโปรตีนในกระแสเลือดและผ่านเข้าสู่เซลล์ของต่อมโดย ผ่านตัวรับที่เยื่อหุ้มเซลล์ภายในเซลล์คอเลสเตอรอลจะถูกเปลี่ยนโดยเอนไซม์หลายชนิด เมื่อร่างกายต้องการใช้ฮอร์โมน เอนไซม์เหล่านี้จะถูกกระตุ้นให้สังเคราะห์ฮอร์โมนสเตอรอยด์และปล่อยออกสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีสเตอรอยด์เก็บ ไว้ในเซลล์แบ่งเป็น 3 ชั้น ตามลักษณะการเรียงตัวของเซลล์ คือ 1. ต่อมหมวกไตชั้นนอกส่วนนอกสุด (Zona glomerulosa) สร้างและหลั่งฮอร์โมน mineralocorticoid ตัวอย่างของฮอร์โมนใน กลุ่มนี้ ได้แก่ aldosterone ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ในร่างกาย 2. ต่อมหมวกไตชั้นนอกส่วนกลาง (Zona fasciculate) สร้างฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ตัวอย่างของฮอร์โมนในกลุ่มนี้ ได้แก่ cortisol , cortisone และ corticosterone ซึ่งทาหน้าที่ควบคุม metabolism ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน รวมทั้งช่วย ร่างกายทนต่อความเครียดได้ 3. ต่อมหมวกไตชั้นนอกส่วนใน (Zona reticularis) สร้างฮอร์โมนเพศ ได้แก่ estrogenprogesterone และ androgen ซึ่งมี ปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับฮอร์โมนที่สร้างจากอวัยวะเพศ ซึ่งมีบทบาทควบคุมการแสดงลักษณะทางเพศที่สอง เซลล์ส่วนกลางและส่วนในของต่อมหมวกไตชั้นนอกอยู่ภายใต้การควบคุมของ ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ส่วนเซลล์ ส่วนนอกถูกควบคุมโดยฮอร์โมน angiotensin ซึ่งเป็นสารที่ได้จากการทาปฏิกิริยาของเรนินกับ พลาสมาโปรตีนในไต
  • 45. ต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) สร้างฮอร์โมนได้ 2 ชนิด ได้แก่ ฮอร์โมนเอพิเนฟริน (epinephrine hormone) หรือ อะดรีนาลิน (adrenalin hormone) และฮอร์โมนนอร์อิพิเนฟริน (norepinephrine hormone) หรือ นอร์ อะดรีนาลิน (noradrenalin hormone) การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นในจะอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทอัต โนวัติ ในภาวะปกติจะหลั่งฮอร์โมนทั้ง 2 ชนิดนี้ในปริมาณที่เหมาะสมกับร่างกาย แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอารมณ์อย่างรุนแรง ไฮโพ ทาลามัสจะกระตุ้นการหลั่งอะดรีนาลินมากกว่าปกติ ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงเมทาบอลิซึมเพิ่มมากขึ้นทาให้ร่างกายมีพลังงาน เพิ่มสูงขึ้นมากจนสามารถทาสิ่งต่างๆได้ทั้งที่ภาวะปกติทาไม่ได้
  • 46.
  • 47. ความผิดปกติของร่างกาย ถ้าร่างกายมีคอร์ติซอลสูงมากและนานจะทาให้เกิดอาการของโรคคูชชิ่ง (Cushing’s syndrome) คนไข้จะมีความผิดปกติ เกี่ยวกับเมทาบิลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โปรตีนในกล้ามเนื้อและกระดูกจะถูกสลายมากขึ้น ขณะที่การสร้าง ลดลงไขมันโดยทั่วถูกสลายและมีการสะสมไขมันบางแห่ง เช่น ใบหน้า (moon face) บริเวณคอมีหนอก ท้องใหญ่ แขนขาลีบ และแผลหายช้า
  • 48. โรคแอดดิสัน (Addison’s disease) เกิดจากต่อมหมวกไตชั้นนอกถูกทาลายจนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ จะทาให้คนไข้ ซูปผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยถึงแก่ความตายได้
  • 49. ต่อมเพศ (Gonad) เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว(puberty) ไฮโพทา ลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้าง gonadotropin releasing hormone หรือที่เรียกว่า Gn-RH ออกมา ซึ่ง ฮอร์โมนนี้จะไปกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้หลั่ง follicle stimulating hormone เรียกย่อว่า FSH และ LH มีผลให้ในเพศหญิงอวัยวะที่เรียกว่ารังไข่และในเพศ ชายอวัยวะที่เรียกว่าอัณฑะ ทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อผลิต ฮอร์โมน โดยในเพศชาย การสร้าง LH และ FSH อยู่ใน อัตราค่อน ข้างสม่าเสมอ แต่ในเพศหญิงการสร้าง LH และ FSH จะเปลี่ยนแปลงไปไม่คงที่ขึ้นอยู่กับระยะเวลา ก่อนหรือหลังตกไข่
  • 50. ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย อัณฑะ (testis) เป็นอวัยวะเพศของผู้ชายอยู่ในถุงอัณฑะ (scrotum) มีอยู่ 2 ข้างซ้ายและขวา ระยะแรกอยู่ในช่องท้อง ก่อน คลอดเล็กน้อยจึงออกมาอยู่ในถุงอัณฑะทาให้อุณหภูมิของอัณฑะต่า กว่าอุณหภูมิของร่างกายประมาณ 2 องศาเซลเซียส ทาหน้าที่ในการ ผลิตสร้างตัวอสุจิและผลิตฮอร์โมนเพศชายที่สาคัญได้แก่ เทสโท สเทอโรน (testosterone) ส่วนของอัณฑะที่ทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อที่ทาหน้าที่ผลิต ฮอร์โมนเพศชาย คือ เซลล์เลย์ดิก (Leydig cell) หรืออินเตอร์สติ เชียลเซลล์ (interstitial cell) อยู่ในเนื้อเยื่อที่แทรกอยู่ระหว่างท่อ เซมินิเฟอรัส (seminiferous tubule) ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศ ชายเทสโทสเทอโรนและสร้างเอสโทรเจนในจานวนน้อยด้วย FSH จะควบคุมการสร้างตัวอสุจิให้มีการสร้างอสุจิในท่ออสุจิ ฮอร์โมน LH หรือ ICSH จะกระตุ้นให้เซลล์เลย์ดิก (Leydig cell) สร้าง ฮอร์โมนที่เรียกว่า แอนโดรเจน (androgen) ส่วนใหญ่เป็นเทสโท สเทอโรนโดย FSH จะชักนาให้เกิดตัวรับของ LH บนเซลล์เลย์ดิก
  • 52. • รังไข่ (Ovary) ตั้งอยู่ที่อุ้งเชิงกราน 2 ข้างของมดลูก ทาหน้าที่ สร้างเซลล์สืบพันธุ์และเป็นต่อมไร้ท่อ โดยผลิตฮอร์โมนเพศหญิง คือ ฮอร์โมน estrogen และ progesterone ซึ่งเป็นสเตรอยด์ ระดับ ของฮอร์โมนจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของรอบประจาเดือน โดยเซลล์ที่สามารถสร้างฮอร์โมน ได้แก่ 1. ทีคา อินเทอร์นาเซลล์ (theca interna cell) ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน แอนโดรเจน ผ่านเข้าสู่ granulosa cell หลังจากนั้นเอนไซม์ aromatase จะเปลี่ยน androgen หรือ testosterone ไปเป็น estrogen เข้ากระแสเลือดไปที่อวัยวะเป้าหมาย เช่น ที่สมอง หลอดเลือด อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบการขับถ่ายปัสสาวะ เป็นต้น 2. ลูเทียว เซลล์ (luteal cell) หลังจากตกไข่แล้ว granulosa cell จะ เปลี่ยนไปเป็นเซลล์ลูเทียว ทาหน้าที่ในการสร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอ โรนจานวนมากและมีการสร้างฮอร์โมนเอสโทรเจนบ้างเล็กน้อย ฮอร์โมนจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
  • 53. Hormonal control of the ovary
  • 55. รก (PLACENTA) • การตกไข่ การปฏิสนธิ การแบ่งเซลล์ และการฝังตัวของตัวอ่อนที่โพรงมดลูกซึ่งใช้เวลาประมาณ 7 วัน ภายหลังการฝังตัวของตัว อ่อน ส่วนเซลล์โทรโฟบลาสทจะเจริญไปเป็นรก รกทาหน้าที่ 2 ประการคือ ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนอาหาร อากาศและของเสียจาก ทารกในครรภ์ของทารกในครรภ์ และทาหน้าที่เป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูก ซึ่งสามารถผลิตฮอร์โมนมากมายที่จาเป็น ระหว่างตั้งครรภ์และเป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับกลไกลการเจ็บครรภ์รวมทั้งฮอร์โมน เอสโทรเจนและฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน
  • 56. • มีลักษณะเป็นพู 2 พู อยู่บริเวณทรวงอกรอบเส้นเลือด ใหญ่ของหัวใจ ต่อมไทมัสจะเจริญเต็มที่ตั้งแต่เป็นทารกอยู่ใรครรภ์มารดาและมี ขนาด ใหญ่มากเมื่อยังมีอายุน้อย แต่เมื่ออายุมากขึ้นขนาดของต่อมไทมัสจะเล็กลงและฝ่ อไป ในที่สุด • ต่อมไทมัสทาหน้าที่ สร้างฮอร์โมน thymosin ซึ่งมีหน้าที่ในการกระตุ้น เนื้อเยื่อต่อมไทมัสเอง ซึ่งเป็นอวัยวะน้าเหลือง สร้าง T-lymphocyte หรือ T-cell ซึ่งเป็น เซลล์ที่สาคัญในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดยการทาลายเซลล์แปลกปลอมที่ เกิดขึ้น และ กระตุ้นการทางานของ B-cell ให้สร้าง antibody ขึ้นมาต่อต้านสิ่งแปลกปลอม หรือเชื้อโรคให้หมดฤทธิ์ไป ต่อมไทมัส (THYMUS GLAND)
  • 57. • ไตเป็นอวัยวะสาคัญส่วนหนึ่งของระบบทางเดินปัสสาวะ มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดง อยู่ที่บริเวณบั้นเอวทั้ง 2 ข้างใต้กระดูก ซี่โครง และอยู่ 2 ข้างของกระดูกสันหลัง หน้าที่ของไตมีหลายอย่าง ได้แก่ การปรับสมดุลน้าในร่างกาย การปรับสมดุลของสาร เกลือแร่และกรด-เบสในร่างกาย การกาจัดของเสียออกจากร่างกาย และการผลิตฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกาย ไต (KIDNEY)
  • 58.
  • 59. 59
  • 60. 60
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64. ทบทวนความรู้ความเข้าใจ • ฮอร์โมนที่มำจำกสมองส่วนไฮโปทำลำมัสมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมใต้สมองส่วนหน้ำมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
  • 65. ทบทวนความรู้ความเข้าใจ • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมใต้สมองส่วนกลำงมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมใต้สมองส่วนหลังมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
  • 66. ทบทวนความรู้ความเข้าใจ • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมไพเนียลมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมไทรอยด์มีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
  • 67. ทบทวนความรู้ความเข้าใจ • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมพำรำไทรอยด์มีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมไทมัสมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
  • 68. ทบทวนความรู้ความเข้าใจ • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมหมวกไตชั้นนอกมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร • ฮอร์โมนที่มำจำกต่อมหมวกไตชั้นในมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
  • 69. ทบทวนความรู้ความเข้าใจ • ฮอร์โมนที่มำจำกรังไข่มีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร • ฮอร์โมนที่มำจำกอัณฑะมีอะไรบ้ำง แต่ละชนิดมีหน้ำที่สำคัญอย่ำงไร
  • 71. 71 “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!