SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
เอกภพ Univers
โลกดาราศาสตร์ ดวงดาว และอวกาศ
นายอดิพงศ์ ท่วมจอก
ความหมายของเอกภพ
เอกภพ (Universe) หมายถึง ระบบรวมของดาราจักรที่มีอาณาเขตกว้าง
ใหญ่ไพศาลมาก เชื่อกันว่าในเอกภพมีดาราจักรรวมอยู่ประมาณ
10,000,000,000 ดาราจักร(หมื่นล้านดาราจักร) ในแต่ละดาราจักรจะ
ประกอบด้วยระบบของ ดาวฤกษ์(Stars) กระจุกดาว (Star clusters) เนบิวลา
(Nebulae) หรือหมอกเพลิง ฝุ่นธุลีคอสมิก (Cosmic dust) ก๊าซ และที่ว่าง
รวมกันอยู่
ความเป็นมาของเอกภพ
นักปราชญ์ในสมัยก่อนมีความเชื่อเกี่ยวกับเอกภพโดยเชื่อว่ามีความสัมพันธ์
กับศาสนา จึงมีการสร้างแบบจาลองของเอกภพเป็น 2 ส่วนโดยจินตนาการ
ด้วยการใช้โดมแบ่งเอกภพด้านนอกเป็นโลกของเทพและด้านในเป็นโลกของ
มนุษย์ และหลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ความรู้ทางดาราศาสตร์
ได้พัฒนาขึ้นจากการสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูล ของนักดาราศาสตร์
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกตดาราศาสตร์ ซึ่งแต่เดิมแนวคิดส่วนใหญ่มาจากการ
จินตนาการ และการคาดเดาก็ปรากฏชัดขึ้นบนพื้นฐานของดาราศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์
กาเนิดเอกภพ
การกาเนิดเอกภพไม่มีใครรู้ว่ากาเนิดมาตั้งแต่เมื่อใดและเริ่มจากอะไร
จนกระทั่งศตวรรษที่ 20 หรือ ค.ศ.1927 ได้มีทฤษฎีใช้อธิบายการกาเนิดและ
ความเป็นมาของเอกภพที่มีความชัดเจนและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น คือ ทฤษฎีการ
ระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ หรือ BigBang ทฤษฎีนี้ทาให้เอกภพมีการขยายตัวออก ซึ่ง
ทฤษฎีนี้กล่าวว่า ก่อนการเกิด BigBang เอกภพเป็นพลังงานล้วน ๆ ซึ่ง
แสดงออกโดยอุณหภูมิที่สูงยิ่ง จุด BigBang เป็นจุดที่พลังงานเริ่มเปลี่ยนเป็น
สสารครั้งแรก เป็นจุดเริ่มต้นนของเวลาและเอกภพ
กาเนิดเอกภพ
ปัจจุบันเอกภพประกอบด้วยกาแล็กซีจานวนแสน
ล้านกาแล็กซีระหว่างกาแล็กซีเป็นอวกาศที่กว้างไกล
เอกภพจึงมีขนาดใหญ่มาก โดยมีรัศมีไม่น้อยกว่า
13,700 – 15,000 ล้านปีแสง และมีอายุประมาณ
13,700–15,000 ล้านปี ภายในกาแล็กซี
ประกอบด้วย ดาวฤกษ์ รวมทั้งแหล่งกาเนิดดาวฤกษ์
เรียกว่า เนบิวลา (Nebula) ซึ่งโลกของเราเป็นดาว
เคราะห์ในระบบสุริยะ ซึ่งเป็นสมาชิกหนึ่งของ
กาแล็กซี
วิวัฒนาการของเอกภพ
วิวัฒนาการของเอกภพจึงควรเริ่มมาจากปริมาตรที่เล็กมากๆแต่มีสสารอยู่อย่าง อัดแน่น จู่ๆ ก็มี
การระเบิดออกอย่างรุนแรง ทาให้ปริมาตรเล็กๆ นั้นขยายตัวออกมาเป็นเอกภพดังเช่นในปัจจุบัน มี
ดังนี้
ขณะเกิด Bigbang
มีสสารเกิดขึ้นในรูปของอนุภาคพื้นฐาน ชื่อ ควาร์ก (Quark) อิเล็กตรอน (Electron)
นิวทริโน และโฟตอน (Photon)
เมื่อเกิดอนุภาคก็มีการเกิดปฏิอนุภาค ที่มีประจุไฟฟ้าตรงข้าม ยกเว้น นิวทริโน และ
แอนตินิวทริโนไม่มีประจุไฟฟ้า
เมื่อปฏิภาคกับอนุภาครวมกันเนื้อสารเกิดเป็นพลังงาน
หากอนุภาคเท่ากับปฏิภาคพอดี รวมกันจะไม่เกิดกาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ
หลังเกิด Bigbang เพียง 10 -6 วินาที
 อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นสิบล้านล้านเควิน
 ควาร์กเกิดการรวมตัว กลายเป็นโปรตอน (นิวเคลียสของไฮโดรเจน) ซึ่งมี ประจุไฟฟ้า
บวก 1 หน่วยและนิวตรอนซึ่งเป็นกลาง
หลังเกิด Bigbang 3 นาที
 อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นร้อยล้านเคลวิน
 ทาให้โปรตอนและนิวตรอนเกิดการรวมตัวเป็นนิวเคลียสของฮีเลียม
 ในช่วงแรก ๆ ทาให้เอกภพขยายตัวเร็วมาก
หลังเกิด Bigbang 300,000 ปี
 อุณหภูมิลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียมดึงอิเล็กตรอน
เข้ามาสู่วงโคจร เกิดเป็นอะตอมไฮโดรเจนและฮีเลียม
กาแล็กซีต่างๆเกิด Bigbang อย่างน้อย 1,000 ปี
 ภายในกาแล็กซีมีธาตุไฮโดรเจน และฮีเลียมเป็นสารเบื้องต้น
 ทาให้เกิดเป็นดาวฤกษ์รุ่นแรกๆ ส่วนธาตุที่มีนิวเคลียสใหญ่กว่าคาร์บอนเกิดจากดาว
ฤกษ์ขนาดใหญ่
บิกแบงและวิวัฒนาการของเอกภพ
ข้อสังเกตที่สนับสนุน Bigbang
ประการที่ 1: การขยายตัวของเอกภพ
เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษพบว่า กาแล็กซีที่
เคลื่อนที่ห่างออกไปด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นตามระยะทาง
กาแล็กซีที่อยู่ไกลยิ่งเคลื่อนที่ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้ นั่น
คือ เอกภพกาลังขยายตัว
ทาให้นักดาราศาสตร์คานวณอายุของเอกภพได้
การเคลื่อนที่ของกาแล็กซี
ข้อสังเกตที่สนับสนุน Bigbang
ประการที่ 2 :อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน
 เป็นการค้นพบโดยบังเอิญของนักวิทยาศาสตร์ 2 คน คือ อาร์โน เพน
เซียส และโรเบิร์ต วิลสัน ทดลองระบบเครื่องสัญญาณของกล้อง
โทรทรรศน์วิทยุ ปรากฏว่ามีสัญญาณรบกวน ตลอดเวลา ทั้งกลางวัน
กลางคืน หรือฤดูต่างๆ ต่อมาจึงทราบว่าเป็นสัญญาณที่เหลืออยู่ใน
อวกาศ เทียบกับการแผ่รังสีของวัตถุดาที่มีอุณภูมิ 3 เคลวิน
 โรเบิร์ต ดิกกี พี.เจ.อี.พีเบิลส์ เดวิด โรลล์ และเดวิด วิลคินสัน ได้
ทานายว่าการแผ่รังสีจากบิกแบงที่เหลืออยู่น่าจะตรวจสอบได้โดยกล้อง
โทรทรรศน์วิทยุ
ความหมายของกาแล็กซี
กาแล็กซี คือ อาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์จานวนนับแสนล้านดวง อยู่รวมกันด้วย
แรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวกับหลุมดาที่มีมวลมหาศาล ซึ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางของกาแล็กซี
โดยมีเนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นละอองที่เกาะอยู่ในที่ว่างบางแห่งระหว่างดาวฤกษ์
กาเนิดกาแล็กซี
กาแล็กซีกาเนิดขึ้นหลังจากบิกแบง 1,000
ล้านปีเกิดจากกลุ่มแก๊สซึ่งยึดเหนี่ยวด้วยแรงโน้ม
ถ่วงแยกเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มก่อกาเนิดเป็นดาว
ฤกษ์จานวนมากซึ่งเป็นสมาชิกของกาแล็กซี
กาแล็กซีที่ระบบสุริยะสังกัดอยู่ คือ กาแล็กซีทาง
ช้างเผือก นอกจากนี้ยังมีกาแล็กซีอื่น ๆ ได้แก่
กาแล็กซีเอนโดรเมดา กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่
และกาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก
กาแล็กซีทางช้างเผือก
กาแล็กซีทางช้างเผือก คือ ดาวฤกษ์จานวนมากที่อยู่ไปทางเดียวกันโดยห่างจากโลก
ต่างกันนักดาราศาสตร์ทราบรูปร่างของทางช้างเผือก โดยศึกษาจากดาวฤกษ์ที่อยู่ใน
กาแล็กซี
การสังเกตทางช้างเผือก
การสังเกตทางช้างเผือก จะสังเกตได้จะมี
ดาวฤกษ์บริเวณทางช้างเผือกและใกล้เคียง
ด้านซ้ายมือจะสังเกตเห็นกลุ่มดาวนายพราน
ขวามือบนของกลุ่มดาวนายพราน คือ กลุ่ม
ดาววัว ซึ่งมีดาวลูกไก่อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย ด้าน
ซ้ายมือจะเห็นกาแล็กซีแอนโรเมดา เหนือ
กาแล็กซีแอนโดรเมดา คือ กลุ่มดาวค้างคาว
ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ อยู่ในกาแล็กซี
ทางช้างเผือก โดยระบบสุริยะอยู่ที่แขนของ
กาแล็กซีด้านกลุ่มดาวนายพราน อยู่ห่างจาก
ศูนย์กลางกาแล็กซีประมาณ 30,000 ปีแสง
ดังนั้น กาแล็กซีทางช้างเผือกจึงมีขนาดใหญ่ มี
รูปร่างคล้ายกังหัน มีบริเวณกลางสว่าง มีแขน
โค้งรอบนอกหลายแขน ระยะขอบหนึ่งผ่านจุด
ศูนย์กลางไปยังขอบหนึ่งยาว 100,000 ปีแสง
ถ้ามองจากด้านบน จะเห็นเมือกังหัน แต่ดูจาก
ด้านข้างจะคล้ายเลนส์นูนหรือจานข้าวประกบกัน
กาลแล็กซีเพื่อนบ้าน
1. กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ : อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกออกไปประมาณ
163,000 ปีแสง
กาแล็กซีเพื่อนบ้าน
2. กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก
 อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกประมาณ
196,000 ปีแสง
 ทั้งกาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ กาแล็กซีแมก
เจลแลนเล็ก เป็นชื่อที่ตั้งเป็นเกียรติแก่
เฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน นักสารวจชาว
โปรตุเกส
 กาแล็กซีทั้งสองมีลักษณะคล้ายเมฆ จัดเป็น
กาแล็กซีที่ไร้รูปร่าง อยู่ทางขอบฟ้าทางทิศใต้
กาแล็กซีเพื่อนบ้าน
3. กาแล็กซีแอนโดรเมดา
 มีรูปร่างคล้ายก้นหอยหรือกังหัน
 เส้นผ่าศูนย์กลาง 105 ปีแสง
 มีดาวฤกษ์รวมกันอยู่ 400,000 ล้านดวง
 กาแล็กซีแอนโรเมดามีลักษณะกลมขาวมัวๆใจกลางเป็นดาวสีแดง และดาว ที่มีอายุ
มาก
 บริเวณมีนบิวลา สว่าง กลุ่มแก๊สและฝุ่น กระจุกดาวทรงกลมประกอบด้วยดาวสีน้า
เงิน
กาแล็กซีแอนโดรเมดา
ประเภทของกาแล็กซี
นักดาราศาสตร์แบ่งกาแล็กซีเป็น 4 ประเภท คือ
1. กาแล็กซีกลมรีแบบรูปไข่
 มีรูปร่างหลายแบบตั้งแต่เป็นจานจนถึงกลมรี
 รูปร่างของกาแล็กซีแบนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการหมุนรอบตัวเอง
 ถ้าหมุนช้ารูปร่างกลม ถ้าหมุนเร็วรูปร่างแบน
กาแล็กซีกลมรีแบบรูปไข่
กาแล็กซีกลมรีแบบรูปไข่
ประเภทของกาแล็กซี
2. กาแล็กซีก้นหอยหรือแบบกังหันธรรมดา
 รูปทรงเป็นจานแบน ตรงกลางมีส่วนโป่ง มีดาวเป็นจานวนมาก มีลักษณะตรง
กลางสว่างและมีแขนกังหัน แยกเป็น 3 ระดับ
 จุดกลางสว่าง มีความหนาแน่นมาก มีแขนหลายแขน ใกล้ชิดกับศูนย์กลาง รูปร่าง
ชัดเจน เรียกว่า สไปรัลเอสเอ
 จุดศูนย์กลางไม่สว่างมาก มีแขนหลวม ๆขยายออกเล็กน้อย เรียกว่า สไปรัลเอสบี
เช่น กาแล็กซีทางช้างเผือก และกาแล็กซีทางช้างเผือก
 จุดกลางไม่เดนชัด ความสว่างและความหนาแน่นกระจายไปทั่วศูนย์กลาง มีแขน
กระจายชัดเจน เรียกว่า สไปรัลเอสซี
กาแล็กซีก้นหอยหรือแบบกังหันธรรมดา
ประเภทของกาแล็กซี
3. กาแล็กซีก้นหอยคานหรือกังหันมีแกนหรือกังหันบาร์หรือบาร์สไปรัล
เป็นกาแล็กซีที่แกนหรือคาน เป็นศูนย์กลางและแกนสว่าง มีแขนที่อยู่ปลายทั้ง 2 ข้าง
แขนที่ต่อออกไปเป็นกังหัน แบ่งเป็น 3 ระดับ
แกนกลางสว่างชัดเจน มีคามหนาแน่นมาก แขนใกล้ชิดศูนย์กลาง การกระจายของ
แขนน้อย เรียกว่า เอสบีเอ
แกนกลางไม่สว่างมาก มีแขนหลวมๆขยายออกเล็กน้อย เรียกว่า เอสบีบี
แกนกลางไม่ชัด มีแขนหลวมๆที่แยกจากกันชัดเจน เรียกว่า เอสบีซี
กังหันบาร์หรือบาร์สไปรัล
ประเภทของกาแล็กซี
4. กาแล็กซีไร้รูปร่าง ไม่มีแกนกลาง ไม่มีแขนที่โค้งเป็นก้นหอย ไม่มีระนาบของความ
สมมาตร เช่น กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ กาแล็กซีแมเจลแลนเล็ก ที่มองเห็นด้วยตา
เปล่าทางซีกโลกใต้

More Related Content

What's hot

การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...mayureesongnoo
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 

What's hot (20)

การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
สาร
สารสาร
สาร
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 

Similar to โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพsarawut chaiyong
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 

Similar to โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ (20)

Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ